• Tidak ada hasil yang ditemukan

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ตาราง 9 ต่อ)

กิจกรรมศิลปะ Project ที่รัก (Sketch Fashion)

ความสัมพันธ์กับทักษะทางศิลปะ

จากรูปแบบเรขาคณิตอย่างง่ายและรูปแบบการจัดวางชื่อ ผลงาน แนวคิด แรงบันดาลใจในการจัดท าผลงาน ให้

ผู้เรียนเลือกแนวคิดมาน าเสนอผู้สอน และให้ผู้สอนเสริม ข้อมูลเพิ่มเติมในแนวคิดและให้นักเรียนลงมือออกแบบ วาดการวาดหุ่นมนุษย์เต็มตัวแบบแฟชั่น(Figure) 2 งาน แผ่นที่ 1ออกแบบเสื้อผ้าพร้อมระบายสีตามแนวคิด ให้

ผู้เรียนสร้างสรรค์ผลงานแบบที่วาดออกแบบ และงานที่ 2 ออกแบบเสื้อผ้าโดยศิลปะปะติดCollage

ขั้นสรุป

ผู้สอนพูดสรุปรูปแบบของแบบร่างแนวคิดเสื้อผ้าเครื่อง แต่งกาย(Sketch Fashion)และการวาดหุ่นมนุษย์เต็มตัว แบบแฟชั่น (Figure) การร่างเค้าโครงเสื้อผ้าจากรูปแบบ เรขาคณิตอย่างง่ายและรูปแบบการจัดวางองค์ประกอบ ศิลป์ชื่อผลงาน แนวคิด แรงบันดาลใจในการจัดท าผลงาน

ตาราง 10 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมที่ 4 Show Case

กิจกรรมศิลปะ Show Case ความสัมพันธ์กับทักษะทางศิลปะ ขั้นน า

ผู้สอนทบทวนการสร้างสรรค์รูปแบบของแบบร่าง แนวคิดเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย(Sketch Fashion)ของ ตนเองในแต่ละแบบ

การสร้างสรรค์ออกแบบงานศิลปะจะต้องสามารถ อธิบายโดยการน าเสนอรายละเอียดของงาน สิ่งที่

ต้องการจะสื่อให้ผู้อื่นได้รับทราบอย่างละเอียด เพราะผู้เรียนน าเสนอถ่ายทอดผลงานทางความคิด ให้ได้รับรู้ถึงจินตนาการทางความคิดของผู้สร้างงาน ขั้นสอน

ให้ผู้เรียนน าเสนอผลงาน ของตนเองเทคนิค โดย อธิบายที่มา กระบวนการ แนวคิด ของผลงาน ขั้นสรุป

นักเรียนแลกเปลี่ยนการประเมินระหว่างนักเรียนกับ นักเรียนและครูผู้สอน ครูสรุปความส าคัญของการ สร้างสรรค์ผลงาน การน าไปประยุกต์ใช้ร่วมกับ เทคโนโลยี

ตอนที่ 2 ผลการใช้ชุดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะทางศิลปะและความคิดสร้างสรรค์ของ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้กิจกรรมศิลปะ

ตาราง 11 ตารางเปรียบเทียบคะแนนความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ก่อนการ ทดลอง และหลังการทดลอง

ความคิดสร้างสรรค์ N 𝑥̅ S.D t p-value

คิดริ่เริม ก่อนใช้ชุดกิจกรรม 14 1.57 0.65 3.513 .004**

หลังใช้ชุดกิจกรรม 14 2.64 0.63

คิดคล่อง ก่อนใช้ชุดกิจกรรม 14 1.50 0.65 5.5828 <0.001

หลังใช้ชุดกิจกรรม 14 2.79 0.57

คิดละเอียดลออ ก่อนใช้ชุดกิจกรรม 14 1.79 0.57 6.511 <0.001

หลังใช้ชุดกิจกรรม 14 2.86 0.53

คิดยืดหยุ่น ก่อนใช้ชุดกิจกรรม 14 1.57 0.51

10.212

<0.001

หลังใช้ชุดกิจกรรม 14 2.98 0.26

รวม ก่อนใช้ชุดกิจกรรม 14 6.43 1.91 7.697 <0.001

หลังใช้ชุดกิจกรรม 14 11.21 1.48

ผลการวิเคราะห์ตามตาราง 11 พบว่าก่อนการรับการจัดการเรียนรู้จากชุดกิจกรรมศิลปะ เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 คะแนนด้านความคิดริเริ่ม โดยมี

คะแนนก่อนใช้ชุดกิจกรรม เท่ากับ 1.57 คะแนนหลังใช้ชุดกิจกรรมเฉลี่ยเพิ่มขึ้นหลังใช้ชุดกิจกรรม เท่ากับ 2.64 ด้านคิดคล่องแคล่ว มีคะแนนก่อนใช้ชุดกิจกรรม เท่ากับ 1.50 และมีคะแนนหลังใช้

ชุดกิจกรรมเฉลี่ยเพิ่มขึ้นหลังใช้ชุดกิจกรรมเท่ากับ 2.79 ด้านคิดละเอียดลออ มีคะแนนก่อนใช้ชุด กิจกรรม เท่ากับ 1.79 และมีคะแนนหลังใช้ชุดกิจกรรมเฉลี่ยเพิ่มขึ้นหลังใช้ชุดกิจกรรมเท่ากับ 2.86 ด้านคิดยืดหยุ่น มีคะแนนก่อนใช้ชุดกิจกรรม เท่ากับ 1.57 และมีคะแนนหลังใช้ชุดกิจกรรมเฉลี่ย เพิ่มขึ้นหลังใช้ชุดกิจกรรมเท่ากับ 2.98

ความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หลังการรับการใช้ชุดกิจกรรมศิลปะ เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ มีคะแนนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

ตาราง 12 ตารางเปรียบเทียบคะแนนทักษะทางศิลปะของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ก่อนการ ทดลอง และหลังการทดลอง

ทักษะทางศิลปะ N 𝑥̅ S.D t p-value

รูปแบบงานสอดคล้องแนวคิด ก่อนใช้ชุดกิจกรรม 14 1.93 0.62 3.710 .003**

หลังใช้ชุดกิจกรรม 14 2.79 0.58

กระบวนการสร้างสรรค์ผลงาน ก่อนใช้ชุดกิจกรรม 14 1.50 0.65 2.876 .013**

หลังใช้ชุดกิจกรรม 14 2 0.00

การจัดองค์ประกอบภาพ ก่อนใช้ชุดกิจกรรม 14 1 0.00 27.00 <0.001 หลังใช้ชุดกิจกรรม 14 2.93 0.07

ความรู้ทาง ศิลปะร่วมสมัย

ก่อนใช้ชุดกิจกรรม 14 1.21 0.11 4.163 0.001**

หลังใช้ชุดกิจกรรม 14 1.79 0.11

รวม ก่อนใช้ชุดกิจกรรม 14 5.64 1.21 10.262 <0.001 หลังใช้ชุดกิจกรรม 14 9.50 0.94

ผลการวิเคราะห์ตามตาราง 12 พบว่าก่อนการรับการจัดการเรียนรู้จากชุดกิจกรรมศิลปะ เพื่อพัฒนาทักษะทางศิลปะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ด้านรูปแบบงานสอดคล้องแนวคิด มี

คะแนนก่อนใช้ชุดกิจกรรม เท่ากับ 1.93 และมีคะแนนหลังใช้ชุดกิจกรรมเฉลี่ยเพิ่มขึ้นหลังใช้ชุด กิจกรรมเท่ากับ 2.79 ด้านกระบวนการสร้างสรรค์ผลงาน แนวคิด มีคะแนนก่อนใช้ชุดกิจกรรม เท่ากับ 1.50 และมีคะแนนหลังใช้ชุดกิจกรรมเฉลี่ยเพิ่มขึ้นหลังใช้ชุดกิจกรรมเท่ากับ 2 ด้านการจัด องค์ประกอบภาพ แนวคิด มีคะแนนก่อนใช้ชุดกิจกรรม เท่ากับ 1และมีคะแนนหลังใช้ชุดกิจกรรม เฉลี่ยเพิ่มขึ้นหลังใช้ชุดกิจกรรมเท่ากับ 2.93 ด้านความรู้ทางศิลปะร่วมสมัยแนวคิด มีคะแนนก่อน ใช้ชุดกิจกรรม เท่ากับ 1.21 และมีคะแนนหลังใช้ชุดกิจกรรมเฉลี่ยเพิ่มขึ้นหลังใช้ชุดกิจกรรมเท่ากับ 1.79

ทักษะศิลปะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หลังการรับการใช้ชุดกิจกรรมศิลปะเพื่อ เสริมสร้างทักษะทางศิลปะทั้ง 4 ชุดกิจกรรมสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่

ระดับ 0.01

ตาราง 13 ตารางเปรียบเทียบคะแนนความคิดสร้างสรรค์และทักษะศิลปะของนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 ก่อนการทดลอง และหลังการทดลอง

คะแนนทักษะศิลปะ และความคิดสร้างสรรค์

N 𝑥̅ S.D t p-value

ก่อนใช้ชุดกิจกรรม 14 12.07 2.73 9.610 <0.001

หลังใช้ชุดกิจกรรม 14 20.71 2.33

ผลการวิเคราะห์ตามตาราง 13 พบว่าก่อนการรับการจัดการเรียนรู้จากชุดกิจกรรมศิลปะ เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์และทักษะศิลปะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีคะแนน ความคิดสร้างสรรค์เฉลี่ยเท่ากับ 12.07 และมีคะแนนความคิดสร้างสรรค์เฉลี่ยเพิ่มขึ้นหลังจากเข้า ร่วมกิจกรรมเท่ากับ 20.71

คะแนนทักษะศิลปะและความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หลังการ รับการใช้ชุดกิจกรรมศิลปะหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ตอนที่3 ผลความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อชุดกิจกรรมจากการสอบถามความพึงพอใจ ของนักเรียน

หลังจากเรียนด้วยชุดกิจกรรมศิลปะเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์และทักษะศิลปะของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้วิจัยได้น าผลจากการ ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจของ นักเรียนที่มีต่อชุดกิจกรรม มาวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้ค่าเฉลี่ย (𝑥̅ ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) มีรายละเอียดดังตารางต่อไปนี้

ตาราง 14 ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อชุดกิจกรรม

ข้อที่ ข้อค าถาม 𝑥̅ S.D. ระดับความพึงพอใจ

ด้านเนื้อหา

1 เนื้อหามีความหลากหลาย น่าสนใจ 4.79 0.43 มากที่สุด

2 เนื้อหาสามารถกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความคิดสร้างสรรค์ ได้

เป็นอย่างดี

3.86 0.36 มาก

3 เนื้อหาสามารถกระตุ้นให้นักเรียนเกิดทักษะศิลปะ ได้เป็น อย่างดี

5.00 0.00 มากที่สุด