• Tidak ada hasil yang ditemukan

ทฤษฎีของการเป็นผู้น า

2.2 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับปัจจัยภาวะผู้น า

2.2.2 ทฤษฎีของการเป็นผู้น า

ทฤษฎีคุณลักษณะของผู้น า (Trait Theories) (นิธิพร ลิ่มประเสริฐ, 2559) ได้ศึกษา เกี่ยวกับคุณลักษณะส่วนบุคคลของผู้น า ที่ส่งผลต่อความเป็นผู้น า ซึ่งเป็นที่ยอมรับตั้งแต่ปี พ.ศ.

2447-2491 กล่าวว่าคุณลักษณะของผู้น าในยุคที่เป็นปัจจุบัน ประกอบไปด้วยคุณลักษณะ 5 ประการ ดังนี้

1) การมีแรงขับเคลื่อนสูง หมายถึง ผู้น ามีมุ่งมั่นพยายามอย่างมากเพื่อให้งาน ประสบผลส าเร็จสูงสุด

2) การมีแรงจูงใจสูง หมายถึง ผู้น าที่สามารถสร้างแรงจูงใจอย่างแรงกล้าเพื่อให้

การท างานนั้นประสบผลส าเร็จ

3) การมีความซื่อสัตย์ หมายถึง ผู้น ามีการกระท าตามค ามั่นสัญญาที่ให้ไว้และมี

ความน่าเชื่อถือกับบุคคลากรในองค์กร

4) การมีความเชื่อมั่นในตนเอง หมายถึง ผู้น าที่มีความสามารถในการตัดสินใจ และแสดงออกถึงพฤติกรรมที่มีมั่นใจออกมา

5) การมีความรู้ในด้านธุรกิจ หมายถึง ผู้น ามีความรู้ ความสามารถ มีความฉลาด และมีความก้าวหน้า ทางด้านอาชีพสูง มีความรอบรู้และช านาญการในองค์กร

ทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมภาวะผู้น า (Leadership behaviors approach) นักทฤษฎี

เรื่องพฤติกรรมระบุถึงปัจจัยของการเป็นผู้น าว่า ทุกคนในองค์กรสามาถก้าวมาเป็นผู้น าได้ด้วย การศึกษา อบรม ฝึกฝน เพื่อพัฒนาตนเองให้มีความรู้ ความสามารถในด้านการบริหาร ความ มั่นใจในตนเองและความเข้าใจในขั้นตอนของการน าทีมงานให้ประสบความส าเร็จในการท างาน แต่อย่างไรแล้วในต าราหรือหนังสือเป็นเพียงรูปแบบหนึ่งที่สามารถศึกษาความเป็นผู้น าได้ การที่

จะเป็นผู้น าในรูปแบบของตนเองก็ควรหาข้อสรุปของรูปแบบการเป็นผู้น าที่ดีที่สุดที่สามารถเป็นได้

และดีต่อทีม การเรียนรู้จึงก่อให้เกิดพฤติกรรมผู้น าต่าง ๆ

กรรณิการ์ โพธิ์ลังกา (2556) ได้ศึกษาพบว่า ผู้น าต้องมีคุณสมบัติ 3 ประการ หรือ เรียกว่า ไตรภูมิ ได้แก่

1. ภูมิความรู้ คือ ต้องมีความรอบรู้ รู้จักหาความรู้เกี่ยวข้อง รู้หลักการบริหาร รู้

เรื่องที่จะท าการบริหาร

2. ภูมิธรรม คือ ต้องเป็นตัวอย่างที่ดี ไม่หาผลประโยชน์ใส่ตัว มีศีลธรรม มีจรรยา ละอายต่อบาป และหมั่นสังเกตความมุ่งหวัง

3. ภูมิฐาน คือ มีท่าทางสง่าผ่าเผย บุคลิกน่าชมชอบ อารมณ์มั่นคง การพูดจาสื่อ ความหมายอย่างมั่นใจ แต่งกายสะอาดและรู้จักมารยาทสังคม และเข้ากับคนได้ทุกระดับชั้น ทุก เพศและทุกวัย

ผู้วิจัยจึงสรุปได้ว่า ในปัจจุบันนี้ผู้บริหารหรือหัวหน้างานทุกคนจ าเป็นต้องใช้

ภาวะการเป็นผู้น าเข้ามาช่วยในเรื่องของการบริหารงาน เพราะจะสามารถจูงใจให้

ผู้ใต้บังคับบัญชา หรือพนักงาน ให้ความร่วมมือ มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ด าเนินกิจกรรม ให้เป็นไปตามแผนงานและจุดประสงค์ที่วางไว้ จ าเป็นต้องพึงระลึกไว้เสมอว่า พนักงานทุกคนมี

ความส าคัญอย่างมากในการปฏิบัติงาน เป็นผู้ที่ผลักดันให้งานทุกอย่างขององค์กรนั้น สามารถ

20 ด าเนินการไปได้อย่างราบรื่น การบริหารงานที่ดีจะต้องมีผู้บริหารที่มีภาวะความเป็นผู้น า ที่มี

ความรู้ ความสามารถในการปฏิบัติงาน บริหารคน และสามารถด าเนินชีวิตไปพร้อม ๆ กันได้

วิธีด าเนินการวิจัย

ในการศึกษาค้นคว้าวิจัยเรื่อง “การรับรู้ภาวะของผู้น าและทักษะการท างานของพนักงาน ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการท างานเป็นทีม” เลือกใช้การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ในรูปแบบการวิจัยเชิงส ารวจ (Survey Research) โดยใช้แบบสอบถามออนไลน์

(Online Question, Google Form) เป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลแบบส ารวจจากประชากรและ กลุ่มตัวอย่าง ด าเนินการตามขั้นตอนดังต่อไปนี้

3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการวิจัย