• Tidak ada hasil yang ditemukan

Kotler และ Armstrong (2002: 49 ) รายงานว่า พฤติกรรมมนุษย์เกิดขึ นต้องมีสิ่งจูงใจ (motive) หรือแรงขับดัน (drive) เป็นความต้องการที่กดดันมากมพอที่จูงใจให้บุคคลเกิดพฤติกรรม เพื่อตอบสนองความต้องการของตนเอง ซึ่งความต้องการของแต่ละคนไม่เหมือนกันความต้องการ บางอย่างเป็นความต้องการของทางชีววิทยา (biological) เกิดขึ นจากสภาวะตรึงเครียด เช่น ความหิว กระหายหรือความล าบากบางอย่างเป็น ความต้องการทางจิตวิทยา (paychological) เกิดจากความ ต้องการการยอมรับ (recognition) การยกย่อง (esteem) หรือการเป็นเจ้าของทรัพย์สิน

(belonging) ความต้องการส่วนใหญ่อาจไม่มากพอจนเกิดความตรึงเครียดโดยทฤษฎีที่ได้รับความ นิยมมากที่สุดมี 2 ทฤษฎี คือ ทฤษฎีของอับราฮัม มาสโลว์ และทฤษฎีของซิกมันด์ฟรอย

การหาความต้องการฝึกอบรม

การเลือกเทคนิคการฝึกอบรม การออกแบบหลักสูตรฝึกอบรม

การฝึกอบรม การประเมินผลการฝึกอบรม

ก าหนดวัตถุประสงค์

การออกแบบวิธีการประเมินผล

31 2.6.1 ทฤษฎีแรงจูงใจของมาสโลว์ (Maslow’s theory motivation)

อับราฮัม มาสโลว์ (A.H.Maslow) ค้นหาวิธีที่จะอธิบายว่าท าไมคนจึงถูกผลักดันโดย ความต้องการบางอย่าง ณ เวลาหนึ่ง ท าไมคนหนึ่งจึงทุ่มเทเวลาและพลังงานอย่างมากเพื่อให้ได้มา ซึ่งความปลอดภัยของตนเองแต่อีกคนหนึ่งกลับท าสิ่งเหล่านั น เพื่อให้ได้รับการนับถือยกย่องจากผู้อื่น ค าตอบของมาสโลว์ คือ ความต้องการของมนุษย์จะถูกเรียงตามล าดับจากสิ่งที่กดดันมากที่สุดไปถึง น้อยที่สุด ทฤษฎีของมาสโลว์ได้จัดล าดับความต้องการตามความส าคัญ คือ

2.6.1.1 ความต้องการทางกาย (physiological needs) เป็นความต้องการพื นฐาน คือ อาหาร ที่พัก อากาศยารักษาโรค

2.6.1.2 ความต้องการความปลอดภัย (safety needs) เป็นความต้องการที่

เหนือกว่าความต้องการเพื่อความอยู่รอด เป็นความต้องการในด้านความปลอดภัยจากอันตราย 2.6.1.3 ความต้องการทางสังคม (social needs) เป็นการต้องการการยอมรับจาก เพื่อน

2.6.1.4 ความต้องการการยกย่อง (esteem needs)เป็นความต้องการการยกย่อง ส่วนตัวความนับถือและสถานะทางสังคม

2.6.1.5 ความต้องการให้ตนประสบความส าเร็จ (self-actualization needs) เป็นความต้องการสูงสุดของแต่ละบุคคล ความต้องการท าทุกสิ่งทุกอย่างได้ส าเร็จบุคคลพยายามสร้าง ความพึงพอใจให้กับความต้องการที่ส าคัญที่สุดเป็นอันดับแรกก่อนเมื่อความต้องการนั นได้รับความพึง พอใจ ความต้องการนั นก็จะหมดลงและเป็นตัวกระตุ้นให้บุคคลพยายามสร้างความพึงพอใจให้กับ ความต้องการที่ส าคัญที่สุดล าดับต่อไป ตัวอย่างเช่น คนที่อดอยาก (ความต้องการทางกาย) จะไม่

สนใจงานศิลปะชิ นล่าสุด (ความต้องการสูงสุด) หรือไม่ต้องการยกย่องจากผู้อื่น หรือไม่ต้องการ แม้แต่อากาศที่บริสุทธิ์ (ความปลอดภัย) แต่เมื่อความต้องการแต่ล่ะขั นได้รับความพึงพอใจแล้วก็จะ มีความต้องการในขั นล าดับต่อไป

2.6.2 ทฤษฎีแรงจูงใจของฟรอยด์

ซิกมันฟรอยด์ (S.M. Freud) ตั งสมมติฐานว่าบุคคลมักไม่รู้ตัวมากนักว่าพลังทางจิตวิทยา มีส่วนช่วยสร้างให้เกิดพฤติกรร ฟรอยด์พบว่าบุคคลเพิ่มและควบคุมสิ่งเร้าหลายอย่าง สิ่งเร้าเหล่านี

อยู่นอกเหนือการควบคุมอย่าสิ นเชิง บุคคลจึงมีความฝัน พูดค าที่ไม่ตั งใจพูด มีอารมณ์อยู่เหนือ เหตุผลและมีพฤติกรรมหลอกหลอนหรือเกิดการวิตกจริตอย่างมาก

ชริณี เดชจินดา (2535: 14) ได้เสนอทฤษฎีการแสวงหาความพึงพอใจไว้ว่าบุคคลพอใจ จะกระท าสิ่งใดๆ ให้มีความสุขและจะหลีกเลี่ยงไม่กระท าในสิ่งที่เขาจะได้รับความทุกหรือความ ยากล าบากโดยอาจแบ่งเป็นประเภทความพอใจกรณีนี ได้ 3 ประเภท คือ

32 1. ความพอใจด้านจิตวิทยา (psychological hedonism) เป็นทรรศนะของความ พึงพอใจ

2. มนุษย์โดยธรรมชาติจะมีความแสวงหาความสุขส่วนตัวหรือหลีกเลี่ยงจากความทุกข์

ใดๆ

3. ความพอใจเกี่ยวกับตนเอง (egoistic hedonism) เป็นทรรศนะของความพอใจว่า มนุษย์จะพยายามแสวงหาความสุขส่วนตัว แต่ไม่จ าเป็นว่าการแสวงหาความสุขต้องเป็นธรรมชาติ

ของมนุษย์เสมอไป องค์ประกอบที่ท าให้เกิดความพึงพอใจ สิ่งจูงใจเป็นสิ่งที่ท าให้เกิดความพึงพอใจ สิ่งจูงใจ หมายถึง องค์ประกอบต่างๆ ซึ่งอาจเป็นวัตถุหรือสภาวะใดๆ ซึ่งจะเป็นเครื่องโน้มน้าวจิตใจ ท าให้ผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานนั นๆ ปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อให้งานนั นประสบความส าเร็จ ตามจุดมุ่งหมายที่วางไว้ หรือกล่าวอีกอย่างหนึ่งคือ เครื่องล่อใจนั่นเองวัลยา บุตรดี (ด้าริ มุศรีพันธ์, 2545: 42 ; อ้างอิงมาจาก วัลย บุจรดี, 2531: 12) ได้กล่าวถึงสิ่งจูงใจที่ใช้เป็นเครื่องมือกระตุ้นเพื่อให้

เกิดความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ดังนี

1. สิ่งจูงใจที่เป็นวัตถุ สิ่งเหล่านี ได้แก่ เงินทอง สิ่งของหรือสภาวะทางกายให้แก่

ผู้ปฏิบัติงาน และสิ่งจูงใจที่ไม่ใช่วัตถุ (Personal Nonmaterial Opportunities) เกียรติภูมิการ ใช้สิทธิพิเศษมากกว่าคนอื่น

2. สภาพทางกายที่พึงปรารถนา หมายถึง การจัดสภาพแวดล้อมทางการใช้งาน ซึ่งเป็นสิ่งที่ท าให้เกิดความสุขในการท างาน เช่น สิ่งอ านวยความสะดวกในส านักงาน ความพร้อม ของเครื่องมือ

3. ผลประโยชน์ทางอุดมคติ หมายถึง การสนองความต้องการในด้านความภูมิใจที่

ได้แสดงฝีมือการแสดงความภักดีต่อองค์การของตน

4. ความดึงดูดในทางสังคม หมายถึง การมีความสัมพันธ์ของบุคคลในหน่วยงาน การอยู่ร่วมกัน ความมั่นคงของสังคม จะเป็นหลักประกันในการท างาน

5. การปรับทัศนคติและสภาพของงานให้เหมาะสม คือ เปิดโอกาสให้บุคลากรมี

ส่วนร่วมในการท างาน จะท้าให้เขามีความส าคัญในหน่วยงาน จะท าให้บุคคลมีก าลังใจในการท างาน มากขึ น การวัดความพึงพอใจความพึงพอใจของมนุษย์ เป็นความรู้สึกรวมของมนุษย์ตามทฤษฎี

องค์ประกอบของเฮอร์เบร์กคือ ความต้องการ การได้รับการตอบสนองทางด้านร่างกาย และ ปรารถนาความสุขทางใจ ทั งสองอย่างนี ถ้าไดรับการตอบสนองเกิดความพึงพอใจในเรื่องนี ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์ (2535: 141 -142 ) กล่าวว่า

1. ความพึงพอใจโดยทั่งไป เป็นการศึกษาถึงความรู้สึกชอบพอของบุคคลที่มี

บทบาทของงาน เป็นการวัดโดยส่วนรวมถึงระดับที่บุคคลมีความพึงพอใจและมีความสุขกับงาน

33 2. ความพึงพอใจเฉพาะด้าน เป็นการศึกษาถึงความรู้สึกชอบพอ และความพอใจ ของบุคคลที่มีต่องานเฉพาะด้านเช่น รายได้ ความมั่นคง มิตรสัมพันธ์ ผู้บังคับบัญชาและ

ความก้าวหน้า

อัจฉรา กฤษณาสีนวล (กิตติมา ปรีดีดิลก, 2539: 321 ; อ้างอิงมาจาก อัจฉรา กฤษณาสีนวล, 2531: 10) ได้กล่าวถึงเครื่องมือการวัดความพึงพอใจ สรุปได้ว่า การจะค้นหาบุคคลมี

ความพึงพอใจหรือไม่วิธีที่ง่ายที่สุดคือการถาม ซึ่งการศึกษาในระยะหลังๆที่ต้องมีผู้บอกจ านวนมากๆ มักใช้แบบสอบถาม และมีตัวเลือก 5 ตัว ส าหรับเลือกค าตอบ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด และคะแนนความพึงพอใจนั นสามารถน ามาวิเคราะห์ได้ว่าบุคคลมีความพึงพอใจในด้านใด สูงและด้านใดต่ า โดยใช้วิธีการทางสถิติ ซึ่งการต้องการทราบข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร มีความจ าเป็นที่

จะต้องใช้แบบสอบถามที่มีข้อค้าถามหลายข้อ เพื่อจะได้คลอบคลุมลักษณะต่างๆของงานทุกๆด้าน ขององค์กร และนอกจากการใช้แบบสอบถามและอาจใช้วิธการเขียนตอบอย่างเสรีได้เช่นกัน

สมยศ นาวีการ (2521: 119) ได้กล่าวถึงการวัดความพึงพอใจว่า ในการวัดความรู้สึก หรือการวัดทัศนคตินั นจะวัดออกในลักษณะของทิศทาง ( Direction ) ซึ่งมีอยู่ 2 ทิศทาง คือ ทางบวก หรือทางลบ ทางบวก หมายถึง การประเมินค่าความรู้สึกไปในทางที่ดี ชอบ หรือ พอใจ ส่วนทางลบ จะเป็นการประเมินค่าความรู้สึกไปในทางที่ไม่ดี ไม่ชอบ หรือไม่พอใจ และการวัดในลักษณะปริมาณ ( Magnitude )ซึ่งเป็นความเข้มข้นความรุนแรงหรือระดับทัศนคติไปในทิศทางที่พึงประสงค์นั่นเองซึ่ง วิธีการวัดมีอยู่หลายวิธี เช่น วิธีการสังเกต วิธีการสัมภาษณ์ วิธีการใช้แบบสอบถาม ซึ่งมีรายะเอียด ดังนี

1. วิธีการสังเกตเป็นวิธีการตรวจสอบบุคคลอื่นโดยการเฝ้ามองและจดบันทึกอย่างมี

แบบแผน วิธีนี เป็นวิธีการศึกษาแบบเก่าแก่และยังเป็นวิธีที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายจนถึงปัจจุบัน แต่

ก็เหมาะสมกับการศึกษา เป็นรายกรณีเท่านั น

2. วิธีการสัมภาษณ์เป็นวิธีการที่ผู้วิจัยต้องออกไปสอบถามโดยการพูดคุยกับบุคคล นั นๆโดยมีการเตรียมแผนงานล่วงหน้าเพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป็นจริงมากที่สุด

3. วิธีการใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) วิธีการนี จะเป็นการใช้แบบสอบถาม ที่มีข้อความอภิปรายไว้ อย่างเรียบร้อย เพื่อให้ผู้ตอบทุกคนตอบมาเป็นแบบแผนเดียวกัน มักใช้ใน กรณีที่ต้องการข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจ านวนมากๆ วิธีนี เป็นวิธีที่นิยมใช้มากที่สุดในการวัดทัศนคติ

รูปแบบของแบบสอบถาม จะใช้มาตรา วัดทัศนคติซึ่งเป็นวิธีที่นิยมใช้ในปัจจุบันวิธีหนึ่ง คือ มาตรา ส่วนแบบลิเคิร์ท (Likert Scales) ประกอบด้วยข้อความที่แสดงถึงทัศนคติของบุคคลที่มีต่อสิ่งเร้า อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วมีค าตอบที่แสดงถึงระดับความรู้สึก 5 ค าตอบ เช่น มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด ทรรศนะต่างๆของนักวิชาการ

34 สรุปได้ว่า การวัดความพึงพอใจเป็นการตรวจสองทัศนคติของบุคคลที่มีต่อสิ่งหนึ่งสิ่งใด ซึ่งสามารถใช้เครื่องมือวัดได้หลายแบบ เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์ การใช้แบบสอบถาม เป็นต้น