• Tidak ada hasil yang ditemukan

5.2.1 ผลวิเคราะห์หาประสิทธิภาพและการวิเคราะห์หาค่าดัชนีประสิทธิผลของคู่มือการ ฝึกอบรมการคัดแยกขยะส าหรับนิสิตคณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัย

มหาสารคาม พบว่า

70 5.2.1.1 คะแนนจากการปฏิบัติกิจกรรมฝึกอบรมของนิสิต ระหว่างการฝึกอบรมการคัด แยกขยะ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 34.51 จากคะแนนเต็ม 40 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 86.00 แสดงว่า ประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) เท่ากับ 86.29

5.2.1.2 คะแนนความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะ หลังการฝึกอบรมโดยรวม มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 17.8 จากคะแนนเต็ม 20 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 89.00 แสดงว่า ประสิทธิภาพของผลลัพธ์

(E2) เท่ากับ 89.00 ประสิทธิภาพด้านกระบวนการ (E1) คิดเป็นร้อยละ 86.29

5.2.1.3 ประสิทธิภาพด้านผลลัพธ์ (E2) คิดเป็นร้อยละ 89.00 ดังนั น ประสิทธิภาพของ คู่มือการฝึกอบรมการคัดแยกขยะ ที่สร้างขึ นมีค่าประสิทธิภาพเท่ากับ 86.29/89.00 ซึ่งเป็นไปตาม เกณฑ์ 80/80 ที่ตั งไว้

5.2.1.4 ดัชนีประสิทธิผล (E.I.) ของคู่มือการฝึกอบรมการคัดแยกขยะส าหรับนิสิตคณะ สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มีค่าเท่ากับ 0.75 แสดงว่า นิสิตฝึกอบรม การคัดแยกขยะ มีความก้าวหน้าในการอบรมเพิ่มร้อยละ 75.00

5.2.2 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบความรู้ ก่อนและหลังการฝึกอบรมการคัดแยกขยะ ส าหรับนิสิตคณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม พบว่า

5.2.2.1 คะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะของนิสิตกลุ่มตัวอย่าง ส าหรับคณะ สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ก่อนการฝึกอบรม มีคะแนนความรู้อยู่ใน ระดับมาก (X̅ = 11.20, S.D. = 1.98) และหลังการฝึกอบรม มีคะแนนความรู้อยู่ในระดับมากที่สุด (X̅ = 17.80, S.D. = 1.67)

5.2.2.2 นิสิตคณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ที่เข้ารับ การฝึกอบรมการคัดแยกขยะ คะแนนเฉลี่ยความรู้โดยรวมหลังการฝึกอบรมสูงกว่าก่อนการฝึกอบรม อย่าง มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

5.2.3 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบเจตคติ ก่อนและหลังการฝึกอบรมการคัดแยกขยะ ส าหรับนิสิตคณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัย พบว่า นิสิตคณะสิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ที่เข้ารับการฝึกอบรมการคัดแยกขยะ มีคะแนนเฉลี่ยเจ คติโดยรวมหลังการฝึกอบรมสูงกว่าก่อนการฝึกอบรมอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งก่อน การฝึกอบรม นิสิตกลุ่มตัวอย่างมีเจตคติต่อการฝึกอบรมการคัดแยกขยะ โดยรวม อยู่ในระดับเจตคติ

เห็นด้วย (X̅ = 4.03, S.D. = 0.55) เมื่อพิจารณาเป็น รายข้อพบว่าอยู่ในระดับเจตคติเห็นด้วยอย่างยิ่ง 2 ข้อ อยู่ในระดับเจตคติเห็นด้วย 16 ข้อ อยู่ในระดับเจตคติไม่แน่ใจ 1 ข้อ อยู่ในระดับเจตคติไม่เห็น ด้วย 1 ข้อ เจตคติที่มีคะแนนเฉลี่ยมากที่สุด คือ จะเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีหากมีโครงการ/กิจกรรม เกี่ยวกับการคัดแยกขยะอันตรายในมหาวิทยาลัย อยู่ในระดับเจตคติเห็นด้วยอย่างยิ่ง (X̅ = 4.71,

71 S.D. = 0.46) เจตคติที่มีคะแนนเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ หน้าที่ในการแยกขยะไม่ใช่หน้าที่ของท่าน อยู่ใน ระดับเจตคติไม่เห็นด้วย (X̅ = 2.43, S.D. = 1.20) หลังการฝึกอบรม นิสิตกลุ่มตัวอย่างมีเจตคติต่อ การฝึกอบรมการคัดแยกขยะ โดยรวม อยู่ในระดับเจตคติเห็นด้วย (X̅ = 4.34, S.D. = 0.18) เมื่อ พิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อยู่ในระดับเจตคติเห็นด้วยอย่างยิ่ง 14 ข้อ อยู่ในระดับเจตคติเห็นด้วย 4 ข้อ อยู่ในระดับเจตคติไม่เห็นด้วย 2 ข้อ เจตคติที่มีคะแนนเฉลี่ยมากที่สุด คือ การเพิ่มจ านวนของขยะ ในปัจจัยมากขึ นเรื่อยๆ ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมมหาวิทยาลัยหลายด้าน เช่น ส่งกลิ่นเหม็น เป็น แหล่งก าเนิดเชื อโรคต่างๆ อยู่ในระดับเจตคติเห็นด้วยอย่างยิ่ง (X̅ = 5, S.D. = 0) เจตคติที่มีคะแนน เฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ขยะรีไซเคิลเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม อยู่ในระดับเจตคติไม่เห็นด้วย (X̅ = 1.60, S.D. = 0.50)

5.2.4 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบการปฏิบัติ ก่อนและหลังการฝึกอบรมการคัดแยกขยะ ส าหรับนิสิตคณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัย พบว่า นิสิตคณะสิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ที่เข้ารับการฝึกอบรมการคัดแยกขยะ มีคะแนนเฉลี่ยการ ปฏิบัติโดยรวมหลังการฝึกอบรมสูงกว่าก่อนการฝึกอบรมอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งก่อน การฝึกอบรม นิสิตกลุ่มตัวอย่างมีการปฏิบัติต่อการฝึกอบรม การคัดแยกขยะ โดยรวม อยู่ในระดับ การปฏิบัติเป็นบางครั ง (X̅ = 2.47, S.D. = 0.85) เมื่อพิจารณา เป็น รายข้อ พบว่า อยู่ในระดับการ ปฏิบัติเป็นบางครั ง 5 ข้อ อยู่ในระดับการปฏิบัตินานๆ ครั ง 5 ข้อ การปฏิบัติที่มีคะแนนเฉลี่ยมากที่สุด คือ ท าการคัดแยกขยะท่านได้คัดแยกตามวิทยากรบอกอย่างถูกต้อง อยู่ในระดับการปฏิบัติเป็น บางครั ง (X̅ = 2.63, S.D. = 0.77) การปฏิบัติที่มีคะแนนเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ สวมถุงมือในขณะลงมือ ปฏิบัติการคัดแยกขยะ อยู่ในระดับการปฏิบัตินานๆ ครั ง (X̅ = 2.20, S.D. = 1.11) หลังการฝึกอบรม นิสิตกลุ่มตัวอย่างมีการปฏิบัติต่อการฝึกอบรมการคัดแยกขยะ โดยรวม อยู่ในระดับการปฏิบัติ

บ่อยครั ง (X̅ = 4.47, S.D. = 0.21) เมื่อพิจารณาเป็น รายข้อ พบว่า อยู่ในระดับเป็นการปฏิบัติ

ประจ า 4 ข้อ อยู่ในระดับการปฏิบัติบ่อยครั ง 6 ข้อ การปฏิบัติที่มีคะแนนเฉลี่ยมากที่สุด คือ ในการ คัดแยกขยะลงมือท าตามขั นตอนที่วิทยากรสาธิตให้ดู และสวมถุงมือในขณะลงมือปฏิบัติ การคัดแยก ขยะ อยู่ในระดับการปฏิบัติเป็นประจ า (X̅ = 4.71, S.D. = 0.46) การปฏิบัติที่มีคะแนนเฉลี่ยน้อย ที่สุด คือ หลีกเลี่ยงการใช้ถุงพลาสติก กล่องโฟม อยู่ในระดับการปฏิบัติบ่อยครั ง (X̅ = 4.14, S.D. = 0.65)

5.2.5 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบความพึงพอใจ หลังการฝึกอบรมการคัดแยกขยะส าหรับ นิสิตคณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม พบว่า นิสิตกลุ่มตัวอย่างมี

ความพึงพอใจต่อหลังการฝึกอบรมการคัดแยกขยะ โดยรวม อยู่ในระดับความพึงพอใจมาก (X̅ = 4.50, S.D. = 0.43) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด 5 ข้อ อยู่ใน

72 ระดับความพึงพอใจมาก 5 ข้อ ความพึงพอใจที่มีคะแนนเฉลี่ยมากที่สุด คือ ความเหมาะสมของ วิทยากร และการมีส่วนร่วมในการท ากิจกรรม อยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด (X̅ = 4.71, S.D.

= 0.46) ความพึงพอใจที่มีคะแนนเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ บุคลิกภาพของวิทยากรในการฝึกอบรม อยู่ใน ระดับความพึงพอใจมาก (X̅ = 4.17, S.D. = 0.45)