• Tidak ada hasil yang ditemukan

4.1 สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ในการวิเคราะห์ข้อมูลครั้งนี้ได้ใช้สัญลักษณ์ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา ดังนี้

𝑥̅ แทน ค่าเฉลี่ย

S.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน n แทน จ านวนกลุ่มตัวอย่าง N แทน จ านวนคะแนนเต็ม

t แทน ค่าสถิติทดสอบที่ใช้พิจารณาการเปรียบเทียบ p แทน ระดับนัยส าคัญทางสถิติ

* แทน มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

E1 แทน ประสิทธิภาพของกระบวนการ จากการทดสอบระหว่างเรียน E2 แทน ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ จากการทดสอบหลังเรียน

E.I. แทน ดัชนีประสิทธิผล

X แทน ผลรวมของคะแนน

SS แทน ผลบวกก าลังสอง (Sum of Squares) MS แทน ค่าก าลังสองเฉลี่ย (Mean Squares) df แทน ค่า Degree of Freedom (n-1)

F แทน สถิติที่ใช้ในการทดสอบในการวิเคราะห์การแจกแจงแบบเอฟ (F-distribution)

132 4.2 ล าดับขั้นตอนในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ในการวิเคราะห์ข้อมูลผลการศึกษาการพัฒนาแผนการสอนสิ่งแวดล้อมศึกษาโดยใช้

กรณีศึกษาและเกมเป็นฐานการเรียนรู้ส าหรับนิสิตปริญญาตรี ผู้วิจัยได้ด าเนินการวิเคราะห์ข้อมูล ตามล าดับขั้นตอนดังต่อไปนี้

4.2.1 ผลการพัฒนาแผนการสอนสิ่งแวดล้อมศึกษาโดยใช้กรณีศึกษาและเกมเป็นฐาน การเรียนรู้ ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 (E1/E2) และการวิเคราะห์หาค่าดัชนีประสิทธิผล (E.I.) ของแผนการสอน

4.2.2 ผลการศึกษาและเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยความรู้ ทัศนคติ และจริยธรรม สิ่งแวดล้อมโดยใช้ t-test (Paired Samples) ก่อนและหลังเรียน

4.2.3 การเปรียบเทียบความรู้ ทัศนคติ และจริยธรรมสิ่งแวดล้อมของนิสิตที่มีเพศ ต่างกัน

4.3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

4.3.1 ผลการพัฒนาแผนการสอนสิ่งแวดล้อมศึกษาโดยใช้กรณีศึกษาและเกมเป็นฐานการ เรียนรู้ส าหรับนิสิตปริญญาตรี ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 (E1/E2) และการวิเคราะห์หาค่า ดัชนีประสิทธิผล (E.I.) ของแผนการสอน

1) การหาประสิทธิภาพของแผนการสอนสิ่งแวดล้อมศึกษาโดยใช้กรณีศึกษาและเกมเป็น ฐานการเรียนรู้ส าหรับนิสิตปริญญาตรี สามารถน าเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล ดังตารางที่ 4.1 – 4.5 ดังนี้

ตารางที่ 10 ผลการศึกษาคะแนนความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมก่อนเรียน ระหว่างเรียนและหลังเรียน ของนิสิตจ าแนกเป็นรายคน (n =81)

คนที่ คะแนนความรู้ (N=40)

คนที่ คะแนนความรู้ (N=40)

ก่อน ระหว่าง หลัง ก่อน ระหว่าง หลัง

1 18 35 33 8 18 37 34

2 17 35 30 9 16 38 34

3 19 35 32 10 18 37 35

4 16 34 32 11 17 36 34

133

คนที่ คะแนนความรู้ (N=40)

คนที่ คะแนนความรู้ (N=40)

ก่อน ระหว่าง หลัง ก่อน ระหว่าง หลัง

5 19 34 35 12 17 35 33

6 18 35 34 13 19 36 32

7 20 35 34 14 18 33 31

15 19 37 34 43 19 36 33

16 19 35 35 44 19 32 30

17 18 35 35 45 18 37 30

18 18 37 33 46 17 35 33

19 19 35 35 47 19 36 32

20 17 36 34 48 18 34 31

21 16 36 34 49 16 35 33

22 15 37 33 50 18 35 33

23 17 37 36 51 19 34 31

24 18 36 33 52 18 33 34

25 18 37 33 53 17 32 36

26 18 34 33 54 17 33 35

27 19 37 36 55 17 36 33

28 20 37 32 56 19 36 36

29 19 35 36 57 16 36 33

30 19 37 34 58 16 37 34

31 18 36 32 59 20 34 36

32 17 34 33 60 17 35 36

33 17 36 32 61 18 36 33

34 15 36 32 62 18 35 32

35 19 35 31 63 18 37 34

36 19 36 32 64 19 35 35

37 19 35 33 65 17 34 36

134

คนที่ คะแนนความรู้ (N=40)

คนที่ คะแนนความรู้ (N=40)

ก่อน ระหว่าง หลัง ก่อน ระหว่าง หลัง

38 18 37 34 66 18 35 35

39 19 35 32 67 19 35 36

40 18 36 31 68 16 38 36

41 19 34 34 69 17 34 37

42 18 36 34 70 16 38 34

71 19 36 34 77 15 37 34

72 20 35 34 78 17 34 35

73 19 34 34 79 18 36 34

74 18 35 37 80 16 36 35

75 19 36 37 81 19 35 33

76 18 37 36

∑x 1,449 2,873 2,729

𝒙̅ 17.89 35.47 33.69

S.D. 1.21 1.30 1.68

ร้อยละ 44.72 88.67 84.22

จากตารางที่ 10 พบว่า ความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมของนิสิตก่อนเรียนโดยรวมมีคะแนน เฉลี่ย เท่ากับ 17.88 คิดเป็นร้อยละ 44.72 ระหว่างเรียนโดยรวมนิสิตมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 35.47 คิดเป็นร้อยละ 88.67 และหลังเรียนนิสิตมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 33.69 คิดเป็นร้อยละ 84.22

135 ตารางที่ 11 ผลการศึกษาประสิทธิภาพของแผนการสอนสิ่งแวดล้อมศึกษาโดยใช้กรณีศึกษาและเกม เป็นฐานการเรียนรู้ตามเกณฑ์ 80/80 (E1/E2)

แผนการสอนสิ่งแวดล้อมศึกษาโดยใช้

กรณีศึกษาและเกมเป็นฐานการเรียนรู้ คะแนนเต็ม 𝑥̅ S.D. ร้อยละ

ประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) 40 35.47 1.30 88.67

ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E2) 40 33.69 1.68 84.22

ประสิทธิภาพของของแผนการสอน (E1/E2) เท่ากับ 88.67/84.22

จากตารางที่ 11 พบว่า ประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) คิดเป็นร้อยละ 88.67 และ ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E2) คิดเป็นร้อยละ 84.22 ดังนั้น แผนการสอนสิ่งแวดล้อมศึกษาโดยใช้

กรณีศึกษาและเกมเป็นฐานการเรียนรู้ส าหรับนิสิตปริญญาตรี จึงมีประสิทธิภาพ 88.67/84.22 ซึ่งเป็นไป ตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้

136 ตารางที่ 12 ผลการศึกษาดัชนีประสิทธิผล (E.I.) ของแผนการสอนสิ่งแวดล้อมศึกษาโดยใช้กรณีศึกษา และเกมเป็นฐานการเรียนรู้

ผลรวมคะแนน ความรู้ก่อน

การเรียน

ผลรวมคะแนน ความรู้หลัง

การเรียน

จ านวน ผู้เข้าร่วมเรียน

คะแนนเต็ม ของความรู้

(40 X 81)

ค่าดัชนี

ประสิทธิผล (E.I.) ของหลักสูตร

1,449 2,729 81 3,240 0.7146

ค่าดัชนีประสิทธิผลของแผนการสอนสิ่งแวดล้อมศึกษาโดยใช้กรณีศึกษาและเกมเป็นฐาน การเรียนรู้ส าหรับนิสิตปริญญาตรี มีวิธีในการหาประสิทธิผล ดังนี้

ดัชนีประสิทธิผล (E.I.) = ผลรวมคะแนนทดสอบหลัง - ผลรวมคะแนนทดสอบก่อน (คะแนนเต็ม x จ านวนนิสิต) - ผลรวมคะแนนทดสอบก่อนเรียน ดัชนีประสิทธิผล (E.I.) = 2,729 – 1,449

(40 x 81) – 1,449 ดัชนีประสิทธิผล (E.I.) = 0.7146

จากตารางที่ 12 พบว่า ค่าดัชนีประสิทธิผลของแผนการสอนสิ่งแวดล้อมศึกษาโดยใช้

กรณีศึกษาและเกมเป็นฐานการเรียนรู้ส าหรับนิสิตปริญญาตรี มีค่าเท่ากับ 0.7146 หมายความว่า นิสิตมีความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้นและส่งผลให้นิสิตมีความก้าวหน้าทางการเรียนเพิ่มขึ้น หลังจากการใช้แผนการสอนร้อยละ 71.46

137 4.3.2 ผลการศึกษาและเปรียบเทียบความรู้ ทัศนคติ และจริยธรรมสิ่งแวดล้อม โดยใช้

t-test (Paired Samples) ก่อนและหลังเรียน

1) การวิเคราะห์คะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม สามารถน าเสนอผลการศึกษา ข้อมูลดังตารางที่ 13 - 14

ตารางที่ 13 ผลการศึกษาคะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมของนิสิตกลุ่มตัวอย่างก่อนและหลัง การเรียน จ าแนกตามหน่วยการเรียน

แผนการสอน ก่อนเรียน หลังเรียน

𝒙̅ S.D. ระดับ 𝒙̅ S.D. ระดับ

1. การจัดการขยะมูลฝอย (N=5) 2.23 0.53 ปานกลาง 4.15 0.57 มากที่สุด 2. การจัดการทรัพยากรดิน (N=5) 2.23 0.62 ปานกลาง 4.30 0.62 มากที่สุด 3. การจัดการทรัพยากรน ้า (N=5) 2.35 0.55 ปานกลาง 4.20 0.60 มากที่สุด 4. การจัดการไฟป่า (N=5) 2.07 0.59 ปานกลาง 4.19 0.59 มากที่สุด 5. การอนุรักษ์ป่าไม้ (N=5) 2.46 0.65 ปานกลาง 4.22 0.57 มากที่สุด 6. การจัดการน ้าเสีย (N=5) 2.02 0.65 ปานกลาง 4.22 0.61 มากที่สุด 7. ภาวะโลกร้อน (N=5) 2.28 0.68 ปานกลาง 4.22 0.52 มากที่สุด 8. เศรษฐกิจพอเพียง (N=5) 2.23 0.60 ปานกลาง 4.20 0.49 มากที่สุด

รวม (N=40) 17.89 1.21 ปานกลาง 33.69 1.69 มากที่สุด

จากตารางที่ 13 พบว่า นิสิตมีคะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมก่อนเรียนโดยรวม เท่ากับ 17.89 อยู่ในระดับปานกลาง และหลังเรียนนิสิตมีคะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม โดยรวมเท่ากับ 33.69 อยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายแผนก่อนเรียนด้านที่นิสิตมีคะแนน เฉลี่ยความรู้มากที่สุด คือ ด้านการอนนุรักษ์ป่าไม้ (𝑥̅ = 2.46) ส่วนด้านที่มีคะแนนเฉลี่ยความรู้น้อย ที่สุด คือ ด้านการจัดการน ้าเสีย (𝑥̅ = 2.02) และหลังเรียนด้านที่นิสิตมีคะแนนเฉลี่ยความรู้มากที่สุด คือ ด้านการจัดการทรัพยากรดิน (𝑥̅ = 4.30) ส่วนด้านที่มีคะแนนเฉลี่ยความรู้น้อยที่สุด คือ ด้านการ จัดการขยะมูลฝอย (𝑥̅ = 4.15) ตามล าดับ

138

ภาพประกอบที่ 4 ความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมของนิสิตก่อนและหลังการเรียน

ตารางที่ 14 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมของนิสิตกลุ่มตัวอย่างก่อน และหลังการเรียน โดยใช้ t-test (Paired Samples)

รายการ ก่อนเรียน ระดับ ความรู้

หลังเรียน ระดับ

ความรู้ t df p

𝒙̅ S.D. 𝒙̅ S.D.

ความรู้เกี่ยวกับ สิ่งแวดล้อม

(N = 40)

17.88 1.21 ปาน

กลาง 33.69 1.68 มากที่สุด -67.914 80 .000*

* มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

จากตารางที่ 14 พบว่า นิสิตมีคะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมก่อนเรียนโดยรวมอยู่ใน ระดับปานกลาง (𝑥̅ = 17.88) และหลังเรียนนิสิตมีคะแนนเฉลี่ยความรู้โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (𝑥̅ = 33.69) เมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมก่อนและหลังการเรียน พบว่า นิสิตมีคะแนนเฉลี่ยความรู้หลังการเรียนสูงกว่าก่อนการเรียน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

2.23 2.23 2.35 2.07 2.46

2.02 2.28 2.23

4.15 4.30 4.2 4.19 4.22 4.22 4.22 4.2

0 1 2 3 4 5

แผนที่ 1 แผนที่ 2 แผนที่ 3 แผนที่ 4 แผนที่ 5 แผนที่ 6 แผนที่ 7 แผนที่ 8

คะแนนเฉลี่ย (N=5)

ความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมของนิสิตก่อนและหลังการเรียน ก่อนเรียน หลังเรียน

139 2) ผลการศึกษาและเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยทัศนคติต่อสิ่งแวดล้อม สามารถน าเสนอ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลดังตารางที่ 15 – 16

ตารางที่ 15 ผลการศึกษาคะแนนเฉลี่ยทัศนคติต่อสิ่งแวดล้อมของนิสิตกลุ่มตัวอย่างก่อนการเรียนและ หลังการเรียน จ าแนกตามแผนการสอน

ทัศนคติต่อสิ่งแวดล้อม (N=5)

ก่อนเรียน หลังเรียน

𝒙̅ S.D. ระดับ 𝒙̅ S.D. ระดับ

1. การจัดการขยะมูลฝอย 2.65 0.25 ไม่แน่ใจ 4.23 0.21 เห็นด้วยอย่างยิ่ง 2. การจัดการทรัพยากรดิน 2.60 0.25 ไม่แน่ใจ 4.20 0.22 เห็นด้วย 3. การจัดการทรัพยากรน ้า 2.65 0.23 ไม่แน่ใจ 4.21 0.22 เห็นด้วย 4. การจัดการไฟป่า 2.66 0.25 ไม่แน่ใจ 4.24 0.23 เห็นด้วยอย่างยิ่ง 5. การอนุรักษ์ป่าไม้ 2.67 0.23 ไม่แน่ใจ 4.26 0.24 เห็นด้วยอย่างยิ่ง 6. การจัดการน ้าเสีย 2.62 0.23 ไม่แน่ใจ 4.19 0.20 เห็นด้วย 7. ภาวะโลกร้อน 2.63 0.24 ไม่แน่ใจ 4.25 0.22 เห็นด้วยอย่างยิ่ง 8. เศรษฐกิจพอเพียง 2.63 0.24 ไม่แน่ใจ 4.22 0.21 เห็นด้วยอย่างยิ่ง

รวม 2.64 0.08 ไม่แน่ใจ 4.23 0.08 เห็นด้วยอย่างยิ่ง

จากตารางที่ 15 พบว่า นิสิตมีคะแนนเฉลี่ยทัศนคติต่อสิ่งแวดล้อมก่อนเรียนโดยรวมเท่ากับ 2.64 อยู่ในระดับไม่แน่ใจ และหลังเรียนนิสิตมีคะแนนเฉลี่ยทัศนคติโดยรวมเท่ากับ 4.23 อยู่ในระดับ เห็นด้วยอย่างยิ่ง เมื่อพิจารณาเป็นรายแผนก่อนเรียนด้านที่นิสิตมีคะแนนเฉลี่ยทัศนคติมากที่สุด คือ ด้านการอนุรักษ์ป่าไม้ (𝑥̅ = 2.67) ส่วนด้านที่มีคะแนนเฉลี่ยทัศนคติน้อยที่สุด คือ ด้านการจัดการ ทรัพยากรดิน (𝑥̅ = 2.60) และหลังเรียนด้านที่นิสิตมีคะแนนเฉลี่ยทัศนคติมากที่สุด คือ ด้านการ อนุรักษ์ป่าไม้ (𝑥̅ = 4.26) ส่วนด้านที่มีคะแนนเฉลี่ยทัศนคติน้อยที่สุด คือ ด้านการจัดการน ้าเสีย (𝑥̅ = 4.19) ตามล าดับ

140

ภาพประกอบที่ 5 ทัศนคติต่อสิ่งแวดล้อมของนิสิตก่อนและหลังการเรียน

ตารางที่ 4.7 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยทัศนคติต่อสิ่งแวดล้อมของนิสิตกลุ่มตัวอย่างก่อนและ หลังการเรียน โดยใช้ t-test (Paired Samples)

รายการ ก่อนเรียน ระดับ ทัศนคติ

หลังเรียน ระดับ

ทัศนคติ t df p

𝒙̅ S.D. 𝒙̅ S.D.

ทัศนคติต่อ สิ่งแวดล้อม

(N = 5)

2.64 0.08 ไม่แน่ใจ 4.23 0.08 เห็นด้วย

อย่างยิ่ง -118.746 80 .000*

* มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

จากตารางที่ 4.7 นิสิตมีคะแนนเฉลี่ยทัศนคติต่อสิ่งแวดล้อม ก่อนเรียนโดยรวมอยู่ในระดับไม่

แน่ใจ (𝑥̅ = 2.64) และหลังเรียนนิสิตมีคะแนนเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยอย่างยิ่ง (𝑥̅ = 4.23) เมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยทัศนคติที่ดีต่อสิ่งแวดล้อมก่อนและหลังเรียน พบว่า นิสิตมีคะแนนเฉลี่ย ทัศนคติที่ดีต่อสิ่งแวดล้อมหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

2.65 2.6 2.65 2.66 2.67 2.62 2.63 2.63

4.23 4.20 4.21 4.24 4.26 4.19 4.25 4.22

0 1 2 3 4 5

แผนที่ 1 แผนที่ 2 แผนที่ 3 แผนที่ 4 แผนที่ 5 แผนที่ 6 แผนที่ 7 แผนที่ 8

คะแนนเฉลี่ย (N=5)

ทัศนคติต่อสิ่งแวดล้อมของนิสิตก่อนและหลังการเรียน ก่อนเรียน หลังเรียน