• Tidak ada hasil yang ditemukan

2.1 วิเคราะห์ระดับภาวะหมดไฟของครู ในสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่

การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 โดยรวม รายด้าน และรายข้อ โดยการหาค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

2.2 วิเคราะห์ระดับภาวะผู้น าการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารในสถานศึกษา สังกัด ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 โดยรวม รายด้าน และรายข้อ โดยการหาค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

2.3 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้น าการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหาร ลักษณะ งาน ลักษณะองค์กร และลักษณะบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบของครู กับภาวะหมดไฟของครูใน สถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 โดยการหา ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson Product Moment Correlation Coefficient)

2.4 วิเคราะห์ภาวะผู้น าการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหาร ลักษณะงาน ลักษณะองค์กร และลักษณะบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบของครู ที่ส่งผลต่อภาวะหมดไฟของครูในสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 โดยการวิเคราะห์สถิติ

วิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบวิธีการคัดเลือกเข้า (Multiple Regression Analysis- Enter Method)

1. สัญลักษณ์ที่ใช้ในการน าเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ผู้วิจัยได้ก าหนดสัญลักษณ์และอักษรย่อที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อความเข้าใจที่

ตรงกันในการแปลความหมายผลการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้

n แทน ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง x̅ แทน ค่าคะแนนเฉลี่ย (Mean)

SD แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) r แทน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์

b แทน ค่าสัมประสิทธิ์ถดถอยของตัวพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ β แทน ค่าสัมประสิทธิ์ถดถอยของตัวพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน a แทน ค่าคงที่

R แทน ค่าที่แสดงระดับของความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มตัวแปรอิสระทั้งหมดกับ ตัวแปรตาม

R2 แทน ค่าที่แสดงอิทธิพลของตัวแปรอิสระทั้งหมดที่มีต่อตัวแปรตาม SEb แทน ความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของค่าสัมประสิทธิ์การถดถอย SEest แทน ความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณ์

t แทน ค่าสถิติการแจกแจงแบบที

ŷ แทน คะแนนของภาวะหมดไฟของครูที่ได้จากสมการพยากรณ์

ในรูปคะแนนดิบ

ẑ แทน คะแนนของภาวะหมดไฟของครูที่ได้จากสมการพยากรณ์

X1 แทน คะแนนของภาวะผู้น าการเปลี่ยนแปลง X2 แทน คะแนนของลักษณะงาน

X3 แทน คะแนนของลักษณะองค์กร

X4 แทน คะแนนของบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ Y1 แทน คะแนนของด้านความเหนื่อยล้าทางกาย Y2 แทน คะแนนของด้านความเหนื่อยล้าทางอารมณ์

Y3 แทน คะแนนของด้านทัศนคติเชิงลบต่อบุคคลรอบข้าง

Y4 แทน คะแนนของด้านลดทอนศักยภาพตนเอง Y แทน คะแนนของภาวะหมดไฟของครู

F แทน ค่าทดสอบนัยส าคัญของตัวแปรทุกตัวในสมการ p-value แทน ระดับนัยส าคัญทางสถิติ

** แทน มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01

2. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

การน าเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลแบ่งการน าเสนอออกเป็น 2 ตอน ดังนี้

ตอนที่1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไป ลักษณะงาน และลักษณะองค์กรของครูใน สถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต2 ได้แก่ เพศ อายุ สาขาวิชาที่สอน โดยการแจกแจงความถี่ (Frequency) และหาค่าร้อยละ (Percentage) ปรากฏผลดังตาราง 2

ตาราง 2 ข้อมูลทั่วไปของครูในสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 2

ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จ านวน ร้อยละ เพศ

1. หญิง 2. ชาย

272 85

76.19 23.81 รวม 357 100.00 อายุ

1. 21-30 ปี

2. 31-40 ปี

3. 41-50 ปี

4. 51-60 ปี

77 214 37 29

21.57 59.94 10.36 8.13 รวม 357 100.00

ตาราง 2 (ต่อ)

ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จ านวน ร้อยละ สาขาวิชาที่สอน

1. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

2. คณิตศาสตร์

3. ภาษาไทย

4. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

48 65 14 60

13.45 18.21 3.92 16.81 5. ศิลปะ

6. สุขศึกษา และพลศึกษา 7. ภาษาต่างประเทศ 8. การงานอาชีพ

14 5 111 40

3.92 1.40 31.09 11.20

รวม 357 100.00

จากตาราง 2 พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จ านวน 272 คน คิดเป็นร้อยละ 76.19 และเพศชาย จ านวน 85 คน คิดเป็นร้อยละ 23.81 ตามล าดับ

กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 31-40 ปี จ านวน 214 คน คิดเป็นร้อยละ 59.94 รองลงมามีอายุระหว่าง 21-30 ปี จ านวน 77 คน คิดเป็นร้อยละ 21.57 รองลงมามีอายุระหว่าง 41-50 ปี จ านวน 37 คน คิดเป็นร้อยละ 10.36 รองลงมามีอายุระหว่าง 51-60 ปี จ านวน 29 คน คิดเป็นร้อยละ 8.12 ตามล าดับ

กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่สอนในสาขาวิชาภาษาต่างประเทศ จ านวน 111 คน คิดเป็น ร้อยละ 31.09 รองลงมาเป็นสาขาวิชาคณิตศาสตร์ จ านวน 65 คน คิดเป็นร้อยละ 18.21 รองลงมา เป็นสาขาวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม จ านวน 60 คน คิดเป็นร้อยละ 16.81 รองลงมา เป็นสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จ านวน 48 คน คิดเป็นร้อยละ 13.45 รองลงมาเป็น สาขาวิชาการงานอาชีพ จ านวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 11.20 รองลงมาเป็นสาขาวิชาภาษาไทย จ านวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 3.92 กับสาขาวิชาศิลปะ จ านวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 3.92 รองลงมาเป็นสาขาวิชาสุขศึกษา และพลศึกษา จ านวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 1.40 ตามล าดับ

ตาราง 3 ข้อมูลลักษณะงานของครูในสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 2

ด้าน ลักษณะงาน 𝐱̅ SD ระดับ

1 ภาระงานมากเกินควร 4.26 .72 มาก

2 ไม่มีอ านาจตัดสินใจในการท างาน 3.85 .85 มาก

3 ต้องท างานให้เสร็จภายในระยะเวลาที่เร่งรีบ 4.08 .74 มาก 4 ท างานติดต่อกันโดยไม่มีวันหยุดเป็น

เวลานาน

3.74 .94 มาก

รวม 3.98 .62 มาก

จากตาราง 3 พบว่า ลักษณะงานของครูในสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่

การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 โดยรวมอยู่ในระดับมาก ซึ่งมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 3.98 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ .62 เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดย ด้านภาระงานมากเกินควร มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุดเท่ากับ 4.26 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ .72 รองลงมา คือ ด้านต้องท างานให้เสร็จภายในระยะเวลาที่เร่งรีบ มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.08 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ .74 ส่วนด้านไม่มีอ านาจตัดสินใจในการท างาน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.85 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ .85 และด้านท างานติดต่อกันโดยไม่มีวันหยุดเป็นเวลานาน มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดเท่ากับ 3.74 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ .94 ตามล าดับ

ตาราง 4 ข้อมูลลักษณะองค์กรของครูในสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2

ด้าน ลักษณะองค์กร 𝐱̅ SD ระดับ

1 โครงสร้างสถานศึกษาไม่กระจายอ านาจ อย่างทั่วถึง

3.82 .89 มาก

2 เป้าหมายของสถานศึกษาถูกตั้งไว้สูง เกินไป

4.00 .78 มาก

ตาราง 4 (ต่อ)

ด้าน ลักษณะองค์กร 𝐱̅ SD ระดับ

3 สถานศึกษาก าหนดเงื่อนไขในการท างาน ซับซ้อน

3.94 .80 มาก

4 ผู้บริหารไม่ค่อยสื่อสารกับบุคลากร 3.87 1.09 มาก

รวม 3.91 .69 มาก

จากตาราง 4 พบว่า ลักษณะองค์กรของครูในสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่

การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 โดยรวมอยู่ในระดับมาก ซึ่งมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 3.91 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ .69 เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดย ด้านเป้าหมายของสถานศึกษาถูกตั้งไว้สูงเกินไป มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุดเท่ากับ 4.00 ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานเท่ากับ .78 รองลงมา คือ ด้านสถานศึกษาก าหนดเงื่อนไขในการท างานซับซ้อน มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 3.94 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ .80 ส่วนด้านผู้บริหารไม่ค่อยสื่อสารกับ บุคลากร มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.87 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.09 และด้านโครงสร้าง สถานศึกษาไม่กระจายอ านาจอย่างทั่วถึง มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดเท่ากับ 3.82 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ .89 ตามล าดับ

ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลตามวัตถุประสงค์และสมมติฐานของการวิจัย ดังนี้

2.1 วิเคราะห์ระดับภาวะหมดไฟของครูในสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่

การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 โดยรวม รายด้าน และรายข้อ โดยการหาค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

ตาราง 5 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับภาวะหมดไฟของครูในสถานศึกษา สังกัด ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 โดยรวมและรายด้าน

ด้าน ภาวะหมดไฟของครู 𝐱̅ SD ระดับ

1 ด้านความเหนื่อยล้าทางกาย 3.27 .81 ปานกลาง

2 ด้านความเหนื่อยล้าทางอารมณ์ 3.31 .81 ปานกลาง

3 ด้านทัศนคติเชิงลบต่อบุคคลรอบข้าง 2.76 .84 ปานกลาง

4 ด้านลดทอนศักยภาพตนเอง 2.95 .75 ปานกลาง

รวม 3.07 .63 ปานกลาง

จากตาราง 5 พบว่า ระดับภาวะหมดไฟของครู ในสถานศึกษา สังกัด ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ซึ่งมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 3.07 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ .63 เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า อยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน โดยด้านความเหนื่อยล้าทางอารมณ์ มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุดเท่ากับ 3.31 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ .81 รองลงมา คือ ด้านความเหนื่อยล้าทางกาย มีคะแนน เฉลี่ยเท่ากับ 3.27 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ .81 ส่วนด้านลดทอนศักยภาพตนเอง มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 2.95 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ .75 และด้านทัศนคติเชิงลบต่อบุคคลรอบข้าง มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดเท่ากับ 2.76 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ .84 ตามล าดับ

ตาราง 6 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับภาวะหมดไฟของครูในสถานศึกษา สังกัด ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 ด้านความเหนื่อยล้าทางอารมณ์

โดยรวมและรายข้อ

ข้อ ด้านความเหนื่อยล้าทางอารมณ์ 𝐱̅ SD ระดับ 1 จิตใจห่อเหี่ยวเมื่อคิดว่าต้องไปท างาน 3.40 1.06 ปานกลาง

2 รู้สึกหมดแรงเมื่อหมดเวลางาน 3.26 .96 ปานกลาง

3 หงุดหงิด เครียดกับการท างาน 3.34 .85 ปานกลาง

4 รู้สึกอ่อนล้า ไม่มีก าลังใจท างาน 3.35 .93 ปานกลาง 5 รู้สึกท้อแท้สิ้นหวังกับชีวิต 3.09 .98 ปานกลาง

6 รู้สึกว่างานหนักเกินไป 3.41 .91 ปานกลาง

รวม 3.31 .81 ปานกลาง

จากตาราง 6 พบว่า ระดับภาวะหมดไฟของครูในสถานศึกษา สังกัด ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 ด้านความเหนื่อยล้าทางอารมณ์

โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 3.31 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ .81 และ เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ โดยเรียงล าดับค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย 3 ล าดับแรก พบว่า รู้สึกว่างาน หนักเกินไป มีค่าเฉลี่ยสูงสุดเท่ากับ 3.41 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ .91 จิตใจห่อเหี่ยวเมื่อ คิดว่าต้องไปท างาน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.40 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.06 และรู้สึกอ่อนล้า ไม่มีก าลังใจท างาน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.35 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ .93 ตามล าดับ ส่วนรู้สึกท้อแท้ สิ้นหวังกับชีวิต มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดเท่ากับ 3.09 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ .98

Dokumen terkait