• Tidak ada hasil yang ditemukan

สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร

ประชากร คือ ครูในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 ปีการศึกษา 2564 โดยมีสถานศึกษาในสังกัดจ านวน 52 โรงเรียน มีจ านวนครูทั้งสิ้น 5,329 คน

กลุ่มตัวอย่าง

กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยได้แก่ ครูในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต2 จ านวน 357 คน ซึ่งได้มาจากการก าหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้

สูตรของ Krejcie & Morgan (1967) จากนั้นใช้วิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) ได้แก่ การสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) โดยใช้สถานศึกษาเป็นชั้น และท าการสุ่มแบบง่าย (Simple Random Sampling) โดยจับสลากจ านวนครูตามสัดส่วนของ ขนาดสถานศึกษา เพื่อให้ได้จ านวนกลุ่มตัวอย่างตามที่ก าหนด

ตาราง 1 สัดส่วนกลุ่มตัวอย่าง จ าแนกตามสถานศึกษา ในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2

2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม (Questionnaire) แบ่งออกเป็น 3 ตอน ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลเบื้องต้นของผู้ตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับ เพศ อายุ สาชาวิชาที่สอน

ตอนที่ 2 แบบสอบถามครูเกี่ยวกับลักษณะงาน และลักษณะองค์กร ลักษณะของ แบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (Rating scale) คือระดับความเป็นจริง มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด

ตอนที่ 3 แบบสอบถามครู โดยแบ่งออกเป็น 3 ส่วนดังนี้

3.1 แบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะผู้น าการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหาร 1) ผู้น าแบบ แลกเปลี่ยน 2) ผู้น าแบบเปลี่ยนแปลง 3) ผู้น าแบบจริยธรรม ลักษณะของแบบสอบถามเป็นแบบ มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (Rating scale) คือระดับความเป็นจริงมากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด

3.2 แบบสอบถามเกี่ยวกับบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบของครู ได้แก่

1) บุคลิกภาพแบบเปิดรับประสบการณ์ 2) บุคลิกภาพแบบมีจิตส านึก 3) บุคลิกภาพแบบแสดงตัว 4) บุคลิกภาพแบบประนีประนอม 5) บุคลิกภาพแบบหวั่นไหว ลักษณะของแบบสอบถามเป็นแบบ มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (Rating scale) คือระดับความเป็นจริงมากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด

3.3 แบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะหมดไฟของครู ในสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต2 ได้แก่ 1) ด้านภาวะเหนื่อยล้าทางกาย 2) ด้านภาวะเหนื่อยล้าทางอารมณ์ 3) ด้านทัศนคติเชิงลบต่อบุคคลรอบข้าง 4) ด้านลดทอน

ขนาดโรงเรียน จ านวนโรงเรียน ประชากร จ านวนกลุ่มตัวอย่าง

ขนาดกลาง 4 129 6

ขนาดใหญ่ 11 1377 48

ขนาดใหญ่พิเศษ 37 3823 303

รวม 52 5329 357

ศักยภาพตัวเอง ลักษณะของแบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (Rating scale) คือระดับความเป็นจริงมากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด

การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

ผู้วิจัยได้ด าเนินการสร้างเครื่องมือเพื่อใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลตามขั้นตอน ดังนี้

1. ศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี บทความ รายงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะผู้น า การเปลี่ยนแปลง ลักษณะงาน ลักษณะองค์กร บุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ และภาวะหมดไฟของ ครู

2. น าแนวคิด ทฤษฎี และข้อมูลต่าง ๆ ก าหนดหรือนิยามศัพท์เฉพาะ และสร้าง แบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะผู้น าการเปลี่ยนแปลง ลักษณะงาน ลักษณะองค์กร บุคลิกภาพ ห้าองค์ประกอบ และภาวะหมดไฟของครู

3. น าแบบสอบถามเสนออาจารย์ที่ปรึกษาปริญญานิพนธ์เพื่อตรวจสอบความ ถูกต้องครอบคลุมตามขอบเขต และนิยามศัพท์ที่ศึกษา พร้อมทั้งตรวจส านวนภาษาที่ใช้ในการท า แบบสอบถาม

4. น าแบบสอบถามที่ปรับปรุงตามค าแนะน าของอาจารย์ที่ปรึกษาปริญญา นิพนธ์ส่งให้ผู้ทรงคุณวุฒิจ านวน 5 ท่าน เพื่อตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือด้านความเที่ยงตรงเชิง เนื้อหา (Content Validity) ของแบบสอบถามโดยตรวจสอบความสอดคล้องระหว่างข้อค าถามกับ จุดมุ่งหมายที่ต้องการวัด (Itemed Objective Congruence : IOC) ความครอบคลุมของข้อค าถาม และความชัดเจนของภาษา

ค่าดัชนี IOC ที่ได้เป็นค่าเฉลี่ยที่ได้จากความคิดเห็นของกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ

โดยค่าดัชนี IOC มี 3 ระดับ ได้แก่

คะแนน 1 (สอดคล้อง) คะแนน 0 (ไม่แน่ใจ) คะแนน -1 (ไม่สอดคล้อง)

ถ้าดัชนี IOC มีค่าเท่ากับ 1 แสดงว่าผู้ทรงคุณวุฒิมีความเห็นว่าสอดคล้อง ค่าดัชนี IOC มีค่าเท่ากับ -1 แสดงว่าผู้ทรงคุณวุฒิมีความเห็นว่าไม่สอดคล้อง ค่าดัชนี IOC มีค่า เท่ากับ 0 แสดงว่าผู้ทรงคุณวุฒิมีความเห็นว่าไม่แน่ใจ โดยแบบสอบถามมีค่าของความสอดคล้อง ตั้งแต่ 0.60-1.00 ซึ่งเป็นเกณฑ์ที่ยอมรับได้

5. น าแบบสอบถามที่ปรับปรุงแก้ไขแล้วไปทดลองใช้ (Try-out) กับประชากรที่มี

ลักษณะใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่าง จ านวน 30 คน แล้วน าไปหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ของ

แบบสอบถามโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficient) (Cronbach, 1990) ได้ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ .913 โดยได้ค่าความ เชื่อมั่นของภาวะผู้น าการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหาร เท่ากับ .954 ค่าความเชื่อมั่นของลักษณะงาน และลักษณะองค์กร เท่ากับ .861 ค่าความเชื่อมั่นของบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบของครูเท่ากับ .908 และค่าความเชื่อมั่นของภาวะหมดไฟของครูเท่ากับ .928

3. การเก็บรวบรวมข้อมูล

ผู้วิจัยด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลตามขั้นตอนดังนี้

1. ขอหนังสือรับรองจากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒถึงหน่วยงาน สถานศึกษาในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 จ านวน 52 โรงเรียน เพื่อขอ ความอนุเคราะห์ในการเก็บรวบรวมข้อมูลการวิจัยที่เป็นกลุ่มตัวอย่างรวมจ านวน 357 ตัวอย่าง

2. ผู้วิจัยน าส่งแบบสอบถามผ่านช่องทางออนไลน์ไปยังสถานศึกษาในสังกัด ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 จ านวน 52 โรงเรียน ขอความ อนุเคราะห์ผู้อ านวยการสถานศึกษาให้ครูในสถานศึกษาตามจ านวนกลุ่มตัวอย่างที่ก าหนดตอบ แบบสอบถาม และส่งคืนแบบสอบถามที่ผู้วิจัย โดยผู้วิจัยได้ก าหนดการตั้งค่าแบบฟอร์ม อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อลดความคลาดเคลื่อนจากการตอบแบบสอบถาม ในกรณีที่ผู้ตอบแบบสอบถาม กรอกข้อมูลไม่ครบตามจ านวนข้อ และติดตามการส่งแบบสอบถามกลับคืนได้ครบตามจ านวน 357 คน คิดเป็นร้อยละ 100

4. การจัดกระท าข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล

ผู้วิจัยด าเนินการวิเคราะห์ข้อมูลตามขั้นตอน ต่อไปนี้

1. การจัดกระท าข้อมูล ผู้วิจัยด าเนินการจัดกระท าข้อมูลตามขั้นตอนดังต่อไปนี้

ขั้นตอนที่ 1 ตรวจสอบความสมบูรณ์ของแบบสอบถาม หลังจากนั้นน า แบบสอบถามมาลงรหัส (Coding) ทั้ง 3 ตอน โดยเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้

5 หมายถึง ระดับมากที่สุด 4 หมายถึง ระดับมาก 3 หมายถึง ระดับปานกลาง 2 หมายถึง ระดับน้อย 1 หมายถึง ระดับน้อยที่สุด

ขั้นตอนที่ 2 บันทึกข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมส าเร็จรูป

2. การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ข้อมูลตามวัตถุประสงค์การวิจัย ดังนี้

ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะหมดไฟของครู วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ

วิเคราะห์ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) เป็นรายด้านรายข้อ โดยก าหนดเกณฑ์ ดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด, 2557)

4.51-5.00 หมายความว่า ภาวะหมดไฟของครูอยู่ในระดับมากที่สุด 3.51-4.50 หมายความว่า ภาวะหมดไฟของครูอยู่ในระดับมาก 2.51-3.50 หมายความว่า ภาวะหมดไฟของครูอยู่ในระดับปานกลาง 1.51-2.50 หมายความว่า ภาวะหมดไฟของครูอยู่ในระดับน้อย 1.00-1.50 หมายความว่า ภาวะหมดไฟของครูอยู่ในระดับน้อยที่สุด

ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะผู้น าการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหาร วิเคราะห์

ข้อมูลโดยใช้สถิติ วิเคราะห์ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) เป็นรายด้านรายข้อ โดยก าหนดเกณฑ์ ดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด, 2557)

4.51-5.00 หมายความว่า ภาวะผู้น าการเปลี่ยนแปลงอยู่ในระดับมากที่สุด 3.51-4.50 หมายความว่า ภาวะผู้น าการเปลี่ยนแปลงอยู่ในระดับมาก 2.51-3.50 หมายความว่า ภาวะผู้น าการเปลี่ยนแปลงอยู่ในระดับปานกลาง 1.51-2.50 หมายความว่า ภาวะผู้น าการเปลี่ยนแปลงอยู่ในระดับน้อย 1.00-1.50 หมายความว่า ภาวะผู้น าการเปลี่ยนแปลงอยู่ในระดับน้อยที่สุด 3. วิเคราะห์ภาวะผู้น าการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหาร ลักษณะงาน ลักษณะองค์กร และ ลักษณะบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ ที่สัมพันธ์ต่อภาวะหมดไฟของครูในสถานศึกษา สังกัด ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานครเขต2 โดยการวิเคราะห์หา ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson Product Moment Correlation Coefficient) โดยเปรียบเทียบกับเกณฑ์ ดังนี้ (ชูศรี วงศ์รัตนะ, 2560)

สูงกว่า .90 หมายถึง มีความสัมพันธ์ในระดับสูงมาก .71 - 90 หมายถึง มีความสัมพันธ์ในระดับสูง .30 - .70 หมายถึง มีความสัมพันธ์ในระดับปานกลาง ต ่ากว่า .30 หมายถึง มีความสัมพันธ์ในระดับต ่า ต ่ากว่า .01 หมายถึง ไม่มีความสัมพันธ์กัน

4. วิเคราะห์ภาวะผู้น าการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหาร ลักษณะงาน ลักษณะองค์กร และ ลักษณะบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ ที่ส่งผลต่อภาวะหมดไฟของครู ในสถานศึกษาสังกัดส านักงาน

เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานครเขต 2 โดยใช้สถิติวิเคราะห์สถิติวิเคราะห์

การถดถอยพหุคูณแบบวิธีการคัดเลือกเข้า (Multiple Regression Analysis- Enter Method)

5. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

1. สถิติที่ใช้ในการหาคุณภาพเครื่องมือ

1.1 หาดัชนีความสอดคล้อง (Itemed Objective Congruence : IOC)

1.2 หาค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม (Reliability) โดยการหาค่าสัมประสิทธิ์

อัลฟา (α - coefficient) ของครอนบัค (Cronbach, 1990, 204) 2. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

สถิติพรรณนา

2.1 ค่าเฉลี่ย (Mean)

2.2 ค่าร้อยละ (Percentage)

2.3 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deration) 3. สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน

3.1 สถิติวิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient)

3.2 สถิติวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบวิธีการคัดเลือกเข้า (Multiple Regression Analysis- Enter Method)

Dokumen terkait