• Tidak ada hasil yang ditemukan

1) พิจารณาคา RPN ที่เกิน 100 ของชิ้นสวน A01

เมื่อทําการจัดลําดับความสําคัญของความรุนแรงของปญหาโดยพิจารณาจากคา RPN พบวารายการขอบกพรองที่เกิดขึ้นซึ่งมีคา RPN สูงกวา 100 มีทั้งหมด 16 รายการโดยที่คา RPN สูงสุดมีคาRPN เทากับ 392 เกิดขึ้นในกระบวนการ Main Welding ทําใหเกิดขอบกพรองคือ แนว เชื่อมไมราบเรียบ เนื่องจากการเดินแนวเชื่อมไมสม่ําเสมอ แสดงดังตาราง 48

ตาราง 48 คา RPN ที่สูงกวา 100 ในแตละกระบวนการของชิ้นสวน A01

กระบวนการ ลักษณะของ เสีย

ขอบกพรองที่

เกิดขึ้น

ความ รุนแรง

S

สาเหตุหลัก โอกาส ที่เกิด O

การ ตรวจจับ

D

คา RPN Function Spot Nut เอียง 6 Pin รองรับ Nut

สึกหรอ

6 7 252 Spot Nut

Assembly

Wrong Part Spot Nut M10 กลับดาน

6 Feeder ชํารุด 5 7 210

Function ประกอบ Nut เอียง

7 พนักงานตั้งคา กระแสไฟสูง

4 5 140 Nut Assembly

M8

Wrong Part Tack ชิ้นงาน ไมติด

7 พนักงานตั้งคา กระแสไฟต่ํา

6 5 210

ตาราง 48 (ตอ)

กระบวนการ ลักษณะของ เสีย

ขอบกพรอง ที่เกิดขึ้น

ความ รุนแรง

S

สาเหตุหลัก โอกาส ที่เกิด O

การ ตรวจจับ

D

คา RPN 7 วางชิ้นงานไมชน

Stopper

3 7 147

Main Assembly

Function ประกอบ ชิ้นสวนเอียง

7 Tack ชิ้นงานดาน เดียว

6 7 294

6 การไหลของกาซ CO2 ในสายเชื่อม

ไหลไมตอเนื่อง

6 7 252

Appearance เกิด ฟองอากาศ ในแนวเชื่อม

6 เปดพัดลมแรง เกินไป

6 7 252

8 การหยุดเดินแนว เชื่อมบอย

5 7 280

Appearance แนวเชื่อม แหวงเวา

8 พนักงานตั้งคา กระแสไฟสูง

3 5 120

Appearance แนวเชื่อมไม

ราบเรียบ

8 การเดินแนวเชื่อม ไมสม่ําเสมอ

7 7 392

Dimension ความยาว แนวเชื่อม ไมได

มาตรฐาน

7 ไมมีการกําหนด ตําแหนงระยะเชื่อม

5 5 175

9 พนักงานตั้งคา กระแสไฟสูง

6 5 270

Wrong Part เชื่อมทะลุ

9 การเดินลวดเชื่อม ชาเกินไป

6 7 378

5 มีฝุนละอองติดที่

ชิ้นงาน

5 7 175

Main Welding

Appearance เกิดเม็ดไฟ จากการเชื่อม

5 พนักงานตั้งคา กระแสไฟสูง

6 5 150

2) การปรับปรุงแกไขเพื่อลดของเสียครั้งที่ 1 กระบวนการ Spot Nut M10

- Spot Nut เอียง

• มีสาเหตุมาจาก Pin รองรับ Nut สึกหรอ มีวิธีการแกไขดังนี้

1) จัดทําเอกสารใบตรวจสอบ Spot Welding Machine (FO-MF-02-05) เพื่อให

พนักงานตรวจสอบเครื่อง Spot กอนปฏิบัติงานทุกครั้ง - Spot Nut กลับดาน

• มีสาเหตุมาจากมีเศษเหล็กและฝุนละอองในกระบอก Feeder มีวิธีการแกไข ดังนี้

1) จัดทําฝาปดถาดใส Nut เพื่อปองกันเศษเหล็กและฝุนละอองซึ่งเปนสาเหตุที่ทํา ใหกระบอก Feeder ชํารุด

กระบวนการ Nut Assembly M8 - ประกอบ Nut เอียง

• มีสาเหตุมาจากพนักงานตั้งคากระแสไฟสูง มีวิธีการแกไขดังนี้

1) หัวหนาสายการผลิตทําการปรับตั้งคาตามใบ OPD

2)หัวหนาสายการผลิตทําการตรวจสอบชิ้นแรกของกระบวนการ หากพบของเสีย ใหทําการแกไขทันที

3) จัดทําเอกสารใบตรวจสอบคุณภาพ (FO-MF-01-03) ซึ่งใบตรวจสอบคุณภาพจะ แบงการตรวจสอบคุณภาพเปน 2 ประเด็นหลัก คือ ตรวจสอบคุณภาพชิ้นงานและตรวจสอบ พารามิเตอรที่อาจจะทําใหเกิดขอบกพรอง ซึ่งใหพนักงานเปนผูตรวจสอบ โดยมีการเก็บขอมูลเชิง สถิติไว

กระบวนการ Main Assembly - Tack ชิ้นงานไมติด

• มีสาเหตุมาจากพนักงานตั้งคากระแสไฟต่ํา มีวิธีการแกไขดังนี้

1) หัวหนาสายการผลิตทําการปรับตั้งคาตามใบ OPD

2) หัวหนาสายการผลิตทําการตรวจสอบชิ้นแรกของกระบวนการ หากพบของเสีย ใหทําการแกไขทันที

3) จัดทําเอกสารใบตรวจสอบคุณภาพ (FO-MF-01-04) ซึ่งใบตรวจสอบคุณภาพจะ แบงการตรวจสอบคุณภาพเปน 2 ประเด็นหลัก คือ ตรวจสอบคุณภาพชิ้นงานและตรวจสอบ พารามิเตอรที่อาจจะทําใหเกิดขอบกพรอง ซึ่งใหพนักงานเปนผูตรวจสอบ โดยมีการเก็บขอมูลเชิง สถิติ

- ประกอบชิ้นสวนเอียง

• มีสาเหตุมาจากวางชิ้นงานไมชน Stopper มีวิธีการแกไขดังนี้

1)ติดตั้ง Limit Switch ที่ Stopper หลักการทํางานคือ กอนเริ่มการ Tack ชิ้นงาน ใหพนักงานเปดสวิทชที่จายไฟเขากับ Limit Switch เมื่อพนักงานวางชิ้นงานไมชน Stopper ที่ทํา การติดตั้ง Limit Switch ไว จะมีสัญญาณเตือนดังขึ้น จากนั้นใหพนักงานวางชิ้นงานใหมอีกครั้งให

ชน Stopper

• มีสาเหตุมาจากการ Tack ชิ้นงานดานเดียว มีวิธีการแกไขดังนี้

1) เปลี่ยนวิธีการ Tack จาก 1 ดาน เปน Tack 2 ดาน กระบวนการ Main Welding

- เกิดฟองอากาศในแนวเชื่อม

• มีสาเหตุมาจากกาซ CO2 ในสายเชื่อมไหลไมตอเนื่อง มีวิธีการแกไขดังนี้

1) เปดวาลวกอนเชื่อม 10-15 วินาที เพื่อการไหลที่ตอเนื่องของกาซ

2) จัดทําเอกสารใบตรวจสอบคุณภาพ (FO-MF-02-05) ซึ่งใบตรวจสอบคุณภาพจะ แบงการตรวจสอบคุณภาพเปน 2 ประเด็นหลัก คือ ตรวจสอบคุณภาพชิ้นงานและตรวจสอบ พารามิเตอรที่อาจจะทําใหเกิดขอบกพรอง ซึ่งใหพนักงานเชื่อมเปนผูตรวจสอบ โดยมีการเก็บขอมูล เชิงสถิติ

• มีสาเหตุมาจากการเปดพัดลมแรงเกินไป มีวิธีการแกไขดังนี้

1) จัดทําที่บังลมดานบนของเครื่องเชื่อม

2) จัดทําเอกสารใบตรวจสอบคุณภาพ (FO-MF-01-05) ซึ่งใบตรวจสอบคุณภาพจะ แบงการตรวจสอบคุณภาพเปน 2 ประเด็นหลัก คือ ตรวจสอบคุณภาพชิ้นงานและตรวจสอบ พารามิเตอรที่อาจจะทําใหเกิดขอบกพรอง ซึ่งใหพนักงานเชื่อมเปนผูตรวจสอบ โดยมีการเก็บขอมูล เชิงสถิติ

- แนวเชื่อมแหวงเวา

• มีสาเหตุมาจากการหยุดเดินแนวเชื่อมบอย มีวิธีการแกไขดังนี้

1) จัดอบรมพนักงานเรื่องการเดินแนวเชื่อม ใหพนักงานฝกเดินแนวเชื่อมเปน เสนตรงยาว โดยใหมีการเชื่อมที่ตอเนื่อง ไมหยุดเดินแนวเชื่อมบอย

2) หัวหนางานเชื่อมทําการทดสอบพนักงาน

3) จัดทําใบ Q. Point (FO-MF-03-05) เพื่อใหพนักงานทราบถึงจุดที่ควรระวังใน การปฏิบัติงานและลักษณะของแนวเชื่อมที่สมบูรณกับแนวเชื่อมแหวงเวา

4) จัดทําเอกสารใบตรวจสอบคุณภาพ (FO-MF-01-05) ซึ่งใบตรวจสอบคุณภาพจะ แบงการตรวจสอบคุณภาพเปน 2 ประเด็นหลัก คือ ตรวจสอบคุณภาพชิ้นงานและตรวจสอบ พารามิเตอรที่อาจจะทําใหเกิดขอบกพรอง ซึ่งใหพนักงานเชื่อมเปนผูตรวจสอบ โดยมีการเก็บขอมูล เชิงสถิติ

• มีสาเหตุมาจากการตั้งคากระแสไฟสูง มีวิธีการแกไขดังนี้

1) หัวหนาสายการผลิตทําการปรับตั้งคาตามใบ OPD

2) หัวหนาสายการผลิตทําการตรวจสอบชิ้นแรกของกระบวนการ หากพบของเสีย ใหทําการแกไขทันที

3) จัดทําเอกสารใบตรวจสอบคุณภาพ (FO-MF-01-05) ซึ่งใบตรวจสอบคุณภาพจะ แบงการตรวจสอบคุณภาพเปน 2 ประเด็นหลัก คือ ตรวจสอบคุณภาพชิ้นงานและตรวจสอบ พารามิเตอรที่อาจจะทําใหเกิดขอบกพรอง ซึ่งใหพนักงานเชื่อมเปนผูตรวจสอบ โดยมีการเก็บขอมูล เชิงสถิติ

- แนวเชื่อมไมราบเรียบ

• มีสาเหตุมาจากการเดินแนวเชื่อมไมสม่ําเสมอ มีวิธีการแกไขดังนี้

1) จัดอบรมพนักงานเรื่องการเดินแนวเชื่อม ใหพนักงานฝกการสายลวดเชื่อมใหมี

ความสม่ําเสมอ

2) หัวหนางานเชื่อมทําการทดสอบพนักงาน

3) จัดทําเอกสารใบตรวจสอบคุณภาพ (FO-MF-01-05) ซึ่งใบตรวจสอบคุณภาพจะ แบงการตรวจสอบคุณภาพเปน 2 ประเด็นหลัก คือ ตรวจสอบคุณภาพชิ้นงานและตรวจสอบ พารามิเตอรที่อาจจะทําใหเกิดขอบกพรอง ซึ่งใหพนักงานเชื่อมเปนผูตรวจสอบ โดยมีการเก็บขอมูล เชิงสถิติ

- ความยาวแนวเชื่อมไมไดมาตรฐาน

• มีสาเหตุมาจากไมมีการกําหนดตําแหนงระยะเชื่อม มีวิธีการแกไขดังนี้

1) วัดความยาวและทําการ Mark จุดที่ชิ้นงานกอนทําการเชื่อม

2) จัดทําเอกสารใบตรวจสอบคุณภาพ (FO-MF-01-05) ซึ่งใบตรวจสอบคุณภาพจะ แบงการตรวจสอบคุณภาพเปน 2 ประเด็นหลัก คือ ตรวจสอบคุณภาพชิ้นงานและตรวจสอบ พารามิเตอรที่อาจจะทําใหเกิดขอบกพรอง ซึ่งใหพนักงานเชื่อมเปนผูตรวจสอบ โดยมีการเก็บขอมูล เชิงสถิติ

- เชื่อมทะลุ

• มีสาเหตุมาจากการปรับตั้งคากระแสไฟสูง มีวิธีการแกไขดังนี้

1) หัวหนาสายการผลิตทําการปรับตั้งคาตามใบ OPD

2) หัวหนาสายการผลิตทําการตรวจสอบชิ้นแรกของกระบวนการ หากพบของเสีย ใหทําการแกไขทันที

3) จัดทําเอกสารใบตรวจสอบคุณภาพ (FO-MF-01-05) ซึ่งใบตรวจสอบคุณภาพจะ แบงการตรวจสอบคุณภาพเปน 2 ประเด็นหลัก คือ ตรวจสอบคุณภาพชิ้นงานและตรวจสอบ พารามิเตอรที่อาจจะทําใหเกิดขอบกพรอง ซึ่งใหพนักงานเชื่อมเปนผูตรวจสอบ โดยมีการเก็บขอมูล เชิงสถิติ

• มีสาเหตุมาจากการเดินลวดเชื่อมชาเกินไป มีวิธีการแกไขดังนี้

1) จัดอบรมพนักงานเรื่องการเดินแนวเชื่อม โดยใหพนักงานฝกเดินแนวเชื่อมเปน จุดใหมีความสม่ําเสมอกอน แลวจึงเดินเปนแนวเสนตรงใหมีความสม่ําเสมอไมเดินชาหรือเร็ว เกินไป

2) หัวหนางานเชื่อมทําการทดสอบพนักงาน

3) จัดทําเอกสารใบตรวจสอบคุณภาพ (FO-MF-01-05) ซึ่งใบตรวจสอบคุณภาพจะ แบงการตรวจสอบคุณภาพเปน 2 ประเด็นหลัก คือ ตรวจสอบคุณภาพชิ้นงานและตรวจสอบ พารามิเตอรที่อาจจะทําใหเกิดขอบกพรอง ซึ่งใหพนักงานเชื่อมเปนผูตรวจสอบ โดยมีการเก็บขอมูล เชิงสถิติ

- เกิดเม็ดไฟจากการเชื่อม

• มีสาเหตุมาจากมีฝุนละอองติดที่ชิ้นงาน มีวิธีการแกไขดังนี้

1) จัดทําเอกสารวิธีการปฏิบัติงาน (WI-MF-01-05) เพื่อใหพนักงานมีมาตรฐาน การทํางานที่ถูกตอง

2) จัดทําเอกสารใบตรวจสอบคุณภาพ (FO-MF-01-05) ซึ่งใบตรวจสอบคุณภาพจะ แบงการตรวจสอบคุณภาพเปน 2 ประเด็นหลัก คือ ตรวจสอบคุณภาพชิ้นงานและตรวจสอบ พารามิเตอรที่อาจจะทําใหเกิดขอบกพรอง ซึ่งใหพนักงานเชื่อมเปนผูตรวจสอบ โดยมีการเก็บขอมูล เชิงสถิติ

• มีสาเหตุมาจากการตั้งคากระแสไฟสูง มีวิธีการแกไขดังนี้

1) หัวหนาสายการผลิตทําการปรับตั้งคาตามใบ OPD

2) หัวหนาสายการผลิตทําการตรวจสอบชิ้นแรกของกระบวนการ หากพบของเสีย ใหทําการแกไขทันที

3) จัดทําเอกสารใบตรวจสอบคุณภาพ (FO-MF-01-05) ซึ่งใบตรวจสอบคุณภาพจะ แบงการตรวจสอบคุณภาพเปน 2 ประเด็นหลัก คือ ตรวจสอบคุณภาพชิ้นงานและตรวจสอบ พารามิเตอรที่อาจจะทําใหเกิดขอบกพรอง ซึ่งใหพนักงานเชื่อมเปนผูตรวจสอบ โดยมีการเก็บขอมูล เชิงสถิติ