• Tidak ada hasil yang ditemukan

ผลกำรวิเครำะห์กลุ่มประชำชนทั่วไป

ส่วนที่ 1 ลักษณะทำงประชำกรของกลุ่มตัวอย่ำง

การวิจัยในส่วนลักษณะทางประชากร ประกอบไปด้วย เพศ อายุ ระดับชั้นที่ศึกษา แผนกที่

ก าลังศึกษา สถานศึกษาและเขตที่พ านัก โดยมีรายละเอียด ดังนี้

เพศ

ตำรำงที่ 0.12 แสดงจ านวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างประชาชนทั่วไปจ าแนกตามเพศ

เพศ จ ำนวน ร้อยละ

ชาย 154 36.7

หญิง 266 63.3

รวม 420 100.0

จากตารางที่ 4.12 พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีจ านวน 266 คน คิดเป็น ร้อยละ 63.3 และเป็นเพศชาย 154 คน คิดเป็นร้อยละ 36.7

อำยุ

ตำรำงที่ 0.13 แสดงจ านวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างประชาชนทั่วไปจ าแนกตามอายุ

อำยุ จ ำนวน ร้อยละ

19 - 23 ปี 70 16.7

24 - 28 ปี 49 11.7

29 - 33 ปี 54 12.9

34 - 38 ปี 58 13.8

39 - 43 ปี 51 12.1

44 - 48 ปี 59 14.0

49 - 53 ปี 42 10.0

มากกว่า 53 ปีขึ้นไป 37 8.8

รวม 420 100.0

จากตารางที่ 4.13 กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ มีอายุ 19 - 23 ปี จ านวน 70 คน คิดเป็นร้อยละ 16.7 รองลงมาคือ มีอายุ 44 - 48 ปี จ านวน 59 คน คิดเป็นร้อยละ 14.0 และกลุ่มตัวอย่างที่มีจ านวน น้อยที่สุด มีอายุ มากกว่า 53 ปีขึ้นไป จ านวน 37 คน คิดเป็นร้อยละ 8.8

ระดับกำรศึกษำ

ตำรำงที่ 0.14 แสดงจ านวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างประชาชนทั่วไปจ าแนกตามระดับการศึกษา

ระดับกำรศึกษำ จ ำนวน ร้อยละ

มัธยมศึกษาตอนต้นหรือเทียบเท่า 20 4.8 มัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า 29 6.9

อนุปริญญาหรือเทียบเท่า 51 12.1

ปริญญาตรี 201 47.9

สูงกว่าปริญญาตรี 119 28.3

รวม 420 100.0

ส าหรับด้านการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างจบการศึกษาระดับปริญญาตรี มากที่สุด โดยมี

จ านวน 201 คน คิดเป็นร้อยละ 47.9 รองลงมาคือ สูงกว่าปริญญาตรี จ านวน 119 คน คิดเป็นร้อย ละ 28.3 และกลุ่มตัวอย่างที่จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นหรือเทียบเท่า มีจ านวนน้อยที่สุด เท่ากับ 20 คน คิดเป็นร้อยละ 4.8 (ดูตารางที่ 4.14)

อำชีพ

ตำรำงที่ 0.15 แสดงจ านวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างประชาชนทั่วไปจ าแนกตามอาชีพ

แผนกำรเรียน จ ำนวน ร้อยละ

ข้าราชการ / พนักงานรัฐวิสาหกิจ /พนักงานของรัฐ 111 26.4

พนักงานบริษัทเอกชน 132 31.4

เจ้าของกิจการ / ธุรกิจส่วนตัว 85 20.2

รับจ้าง 72 17.1

อื่นๆ เช่น เกษียณ ตกงาน 20 4.8

รวม 420 100.0

จากตารางที่ 4.15 พบว่า กลุ่มตัวอย่างเป็นพนักงานบริษัทเอกชนมากที่สุด มีจ านวน 132 คน

คิดเป็นร้อยละ 31.4 รองลงมาคือ ข้าราชการ / พนักงานรัฐวิสาหกิจ /พนักงานของรัฐ จ านวน 111 คน คิดเป็นร้อยละ 26.4 เจ้าของกิจการ / ธุรกิจส่วนตัว จ านวน 85 คน คิดเป็นร้อยละ 20.2

รับจ้าง จ านวน 72 คน คิดเป็นร้อยละ 17.1 และอื่นๆ เช่น เกษียณ ตกงาน มีจ านวนน้อยที่สุด คือ 20 คน คิดเป็นร้อยละ 4.8

รำยได้

ตำรำงที่ 0.16 แสดงจ านวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างประชาชนทั่วไปจ าแนกตามระดับรายได้

รำยได้ จ ำนวน ร้อยละ

10,000 บาท หรือต่ ากว่า 55 13.1

10,001 - 20,000 บาท 87 20.7

20,001 - 30,000 บาท 95 22.6

30,001 - 40,000 บาท 84 20.0

40,001 - 50,000 บาท 55 13.1

50,001 บาท ขึ้นไป 44 10.5

รวม 420 100.0

ส าหรับด้านรายได้ พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีรายได้ระหว่าง 20,001 - 30,000 บาท มากที่สุด

โดยมีจ านวน 95 คน คิดเป็นร้อยละ 22.6 รองลงมาคือ 10,001 - 20,000 บาท จ านวน 87 คน คิดเป็นร้อยละ 20.7 และกลุ่มตัวอย่างที่มีรายได้ตั้งแต่ 50,001 บาท ขึ้นไป มีจ านวนน้อยที่สุด เท่ากับ

44 คน คิดเป็นร้อยละ 10.5 (ดูตารางที่ 4.16)

ส่วนที่ 2 กำรรับทรำบและรู้จักมหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลพระนคร 1. กำรรับทรำบอักษรย่อ RMUTP

ตำรำงที่ 0.17 แสดงจ านวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างประชาชนทั่วไปจ าแนกตามการรับทราบ อักษรย่อ RMUTP

กำรรู้จัก จ ำนวน ร้อยละ

ไม่ทราบ 205 48.8

ทราบ ว่าหมายถึงมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลพระนคร

215 51.2

รวม 420 100.0

จากตารางที่ 4.17 พบว่า กลุ่มตัวอย่างไม่ทราบว่า RMUTP เป็นอักษรย่อของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร มีจ านวน 205 คน คิดเป็นร้อยละ 48.8 ในขณะที่มีผู้ระบุว่าทราบและ สามารถตอบถูก จ านวน 215 คน หรือร้อยละ 51.2

2. กำรรับทรำบถึงชื่อเต็มของ มทร. พระนคร

ตำรำงที่ 0.18 แสดงจ านวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างประชาชนทั่วไปจ าแนกตามการรับทราบถึง ชื่อเต็มของ มทร พระนคร .

กำรรู้จัก จ ำนวน ร้อยละ

ไม่ทราบ 162 38.6

ทราบ ระบุว่าหมายถึงมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลพระนคร

218 51.9

ทราบ ระบุถึงชื่ออื่นๆ เช่น มหาวิทยาลัยราชภัฎ พระนคร มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎ

40 9.5

รวม 420 100.0

จากตารางที่ 4.18 พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ทราบว่า มทร.พระนคร คือมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร มีจ านวน 218 คน คิดเป็นร้อยละ 51.9 ส่วนผู้ที่ผู้ระบุว่าไม่ทราบมี

จ านวน 162 คน หรือร้อยละ 38.6 ในขณะที่มีบางส่วน ระบุว่าทราบ แต่ตอบถึงชื่ออื่นๆ เช่น มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎ มีจ านวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ9.5

3. เมื่อเอ่ยถึง “มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลพระนคร” นึกถึงอะไร

ตำรำงที่ 0.19 แสดงจ านวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างประชาชนทั่วไปจ าแนกตามการสิ่งที่นึกถึง เมื่อเอ่ยถึงมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

สิ่งที่นึกถึง จ ำนวน ร้อยละ

ราชมงคล 70 16.6

นางเลิ้ง /สนามม้า 60 14.3

ครูอาชีวะ 28 6.6

สิ่งที่นึกถึง จ ำนวน ร้อยละ

มหาวิทยาลัย 62 14.8

พ.พ. / พาณิชย์พระนคร 57 13.6

คลองหก 16 3.8

ราชภัฎ 31 7.4

ไม่มีความเห็น 47 11.2

อื่นๆ เช่น บ้านป๋าเปรม สี่เสาเทเวศร์ ช่างกล ครุ

ศาสตร์ คหกรรมศาสตร์ ชิฟฟ่อน

49 11.7

รวม 420 100.0

จากตารางที่ 4.19 พบว่า เมื่อเอ่ยถึง “มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร” นึกถึง อะไร กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ นึกถึงการเป็นราชมงคล มีจ านวน 70 คน คิดเป็นร้อยละ 16.6 รองลงมา

คือ มหาวิทยาลัย จ านวน 62 คน คิดเป็นร้อยละ 14.8 นางเลิ้ง /สนามม้า จ านวน 60 คน หรือ ร้อยละ 14.3 พ.พ. / พาณิชย์พระนคร จ านวน 57 คน คิดเป็นร้อยละ 13.6 อื่นๆ เช่น บ้านป๋าเปรม

สี่เสาเทเวศร์ ช่างกล ครุศาสตร์ คหกรรมศาสตร์ ชิฟฟ่อน จ านวน 49 คน คิดเป็นร้อยละ 11.7 นึกถึง ราชภัฎ จ านวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 7.4 ครูอาชีวะ จ านวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 6.6 และคลอง หก จ านวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 3.8 ส่วนผู้ที่ไม่มีความคิดเห็นในประเด็นนี้ มีจ านวน 47 คน หรือ ร้อยละ 11.2

4. กำรรู้จัก มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลพระนคร

ตำรำงที่ 0.20 แสดงจ านวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างประชาชนทั่วไปจ าแนกตามการรู้จัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

กำรรู้จัก จ ำนวน ร้อยละ

รู้จัก 351 83.6

ไม่รู้จัก 69 16.4

รวม 420 100.0

จากตารางที่ 4.20 พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ รู้จักมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พระนคร มีจ านวน 351 คน คิดเป็นร้อยละ 83.6 ในขณะที่มีผู้ไม่รู้จัก จ านวน 69 คน หรือร้อยละ 16.4

5. ระกับกำรรู้จักมหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลพระนคร

ตำรำงที่ 0.21 แสดงจ านวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างประชาชนทั่วไปจ าแนกตามระดับการรู้จัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

กำรรู้จัก จ ำนวน ร้อยละ

เคยได้ยินชื่อมาบ้าง 96 27.4

เคยได้ยินชื่อ 83 23.6

รู้จักบ้างเล็กน้อย 78 22.2

รู้จักพอสมควร 81 23.1

รู้จักเป็นอย่างดี 13 3.7

รวม 351* 100.0

*หมายเหตุ ประมวลผลเฉพาะผู้ที่ตอบว่ารู้จักจากข้อมูลในตารางที่ 4.20

จากตารางที่ 4.21 พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ เคยได้ยินชื่อมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลพระนคร มาบ้าง จ านวน 96 คน คิดเป็นร้อยละ 27.4รองลงมาคือ เคยได้ยินชื่อ จ านวน 83 คน คิดเป็นร้อยละ 23.6 รู้จักพอสมควร จ านวน 81 คน คิดเป็นร้อยละ 23.1 รู้จักบ้างเล็กน้อย จ านวน 78 คน คิดเป็นร้อยละ 22.2 และ รู้จักเป็นอย่างดี จ านวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 3.7

ส่วนที่ 3 กำรรับรู้ภำพลักษณ์มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลพระนคร

การรับรู้ภาพลักษณ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร สามารถวัดได้ด้วยค าถาม 8 ด้าน ได้แก่ การบูรณาการกับสิ่งแวดล้อม ด้านกายภาพ ด้านการเรียนการสอน ด้านผู้เรียน บุคลากร คุณภาพของอาจารย์ การคัดเลือกและการประเมิน และการออกแบบเว็บไซต์สัญลักษณ์ สโลแกนและ ค าขวัญ โดยมีค่าความเชื่อมั่นของเครื่องมือ (Reliability) เท่ากับ 0.934 ซึ่งมีผลการวิจัยเป็น ดังต่อไปนี้

ตำรำงที่ 0.22 แสดงจ านวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจ าแนกตามระดับการรู้จักมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ในกลุ่มประชาชนทั่วไป

กำรรับรู้ด้ำนต่ำงๆ Mean S.D. ระดับกำรรับรู้

ภำพลักษณ์

กำรบูรณำกำรกับสิ่งแวดล้อม

1. มหาวิทยาลัยมีความสัมพันธ์อันดีกับชุมชน ศิษย์เก่า 3.37 0.860 ปานกลาง 2. มหาวิทยาลัยมีการสร้างความร่วมมือกับต่างประเทศ เช่น

นักศึกษาแลกเปลี่ยน งานวิจัย เป็นต้น

3.30 0.921 ปานกลาง 3. มหาวิทยาลัยมีกิจกรรมช่วยเหลือสังคม หรือบริการสังคม 3.45 0.823 ดี

4. มหาวิทยาลัยมีการสร้างความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยอื่นๆ ในไทย

3.47 0.856 ดี

รวม 3.40 0.749 ปำนกลำง

ด้ำนกำยภำพ

1. มหาวิทยาลัยน่าอยู่ 3.40 0.969 ปานกลาง

2. ที่ตั้งมหาวิทยาลัย ท าให้เดินทางสะดวก 3.50 0.933 ดี

3. มหาวิทยาลัยร่มรื่น ขนาดกว้างขวาง 3.14 0.978 ปานกลาง

4.ใกล้มหาวิทยาลัยมีร้านสะดวกซื้อ และร้านอาหาร หลากหลาย

3.50 0.976 ดี

รวม 3.39 0.766 ปานกลาง

ด้ำนกำรเรียนกำรสอน

1. หลักสูตร การเรียนมีความน่าสนใจ 3.62 0.816 ดี

2. วิชาที่เปิดสอน เป็นประโยชน์ น าไปใช้ได้จริง 3.67 0.803 ดี

3. มหาวิทยาลัยเปิดวิชาการเรียนที่หลากหลาย 3.53 0.839 ดี

รวม 3.61 0.696 ดี

ด้ำนผู้เรียน

1. นักศึกษามหาวิทยาลัยมทร.พระนคร มีทักษะเป็นเลิศ ในทางปฏิบัติ

3.52 0.902 ดี

2.นักศึกษามหาวิทยาลัยมทร.พระนคร มีความเป็นเลิศด้าน วิชาการ

3.49 0.810 ดี

3.นักศึกษามหาวิทยาลัยมีความสามารถเป็นเลิศด้านกีฬา 3.40 0.886 ปานกลาง 4.นักศึกษากระตือรือร้นในกิจกรรมเคลื่อนไหวทางสังคม หรือ

การเมือง

3.45 0.834 ดี

5. นักศึกษามหาวิทยาลัยเชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี

3.49 0.867 ดี

รวม 3.47 0.860 ดี

กำรรับรู้ด้ำนต่ำงๆ Mean S.D. ระดับกำรรับรู้

ภำพลักษณ์

บุคลำกร

1. บุคลากรเป็นมิตรต่อผู้มาติดต่อ 3.58 0.857 ดี

2. บุคลากรบริการเหมาะสม ให้ค าแนะน าที่เป็นประโยชน์

ต่อผู้ติดต่อ

3.55 0.857 ดี

3. มีช่องทางในการติดต่อเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องได้สะดวก 3.54 0.909 ดี

รวม 3.56 0.874 ดี

คุณภำพของอำจำรย์

1. อาจารย์ในมหาวิทยาลัยมีความรู้ความสามารถเหมาะสม 3.64 0.883 ดี

2. อาจารย์ในมหาวิทยาลัยเป็นที่รู้จักและมีชื่อเสียง 3.51 0.836 ดี

3. อาจารย์ในมหาวิทบาลัยมีผลงานวิชาการที่โดดเด่น 3.54 0.861 ดี

รวม 3.56 0.860 ดี

กำรคัดเลือกและกำรประเมิน

1. มหาวิทยาลัยมีมาตรฐานในการคัดเลือกผู้ข้าเรียน 3.60 0.818 ดี

2. มหาวิทยาลัยมีกฎระเบียบชัดเจน เหมาะสม 3.63 0.817 ดี

รวม 3.62 0.764 ดี

กำรออกแบบเว็บไซต์สัญลักษณ์ สโลแกนและค ำขวัญ

1. เว็บไซต์มหาวิทยาลัยเหมาะสม เข้าถึงง่าย 3.52 0.795 ดี

2. สัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยมีความเหมาะสม เข้าใจได้ง่าย 3.59 0.823 ดี

3.ค าขวัญ สโลแกนสามารถจดจ าได้ง่าย และมีความหมาย เข้าใจง่าย

3.50 0.878 ดี

รวม 3.54 0.725 ดี

รวมทั้งหมด 3.52 0.528 ดี

จากที่ตารางที่ 4.22 พบว่า กลุ่มประชาชนทั่วไป มีการรับรู้ภาพลักษณ์มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ในภาพรวมในระดับดี โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.52 โดยรับรู้ภาพลักษณ์

การคัดเลือกและการประเมินค่า เฉลี่ยมากที่สุด เท่ากับ 3.62 รองลงมาคือ การเรียนการสอน ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 3.61 คุณภาพของอาจารย์บุคลากร มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.56 การออกแบบเว็บไซต์สัญลักษณ์

สโลแกนและค าขวัญ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.54 ด้านผู้เรียน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.47 การบูรณาการกับ สิ่งแวดล้อม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.40 ด้านกายภาพ มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดเท่ากับ 3.39

เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการบูรณาการกับสิ่งแวดล้อม ภาพลักษณ์มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลพระนครด้าน บูรณาการกับสิ่งแวดล้อม ในสายตาของกลุ่มกลุ่มประชาชนทั่วไป อยู่ในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ย 3.40 โดยกลุ่มกลุ่มประชาชนทั่วไป คิดว่า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี

ราชมงคลพระนคร มีการสร้างความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยอื่นๆ ในไทย 3.47 มีกิจกรรมช่วยเหลือ สังคม หรือบริการสังคม มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด เท่ากับ 3.45 รองลงมาคือ มีความสัมพันธ์อันดีกับชุมชน