• Tidak ada hasil yang ditemukan

การวิเคราะห์ข้อมูล

ตาราง 4.15 ระดับความคาดหวังต่อความส าเร็จของกระบวนการ

ตาราง 4.15 ระดับความคาดหวังต่อความส าเร็จของกระบวนการ

ประเด็น ค่าเฉลี่ย ส่วน

เบี่ยงเบน ระดับความ คาดหวัง

ข้อเสนอในการปรับปรุง

1. กระบวนการจัดการชั้นเรียนนี้จะท าให้ครู

สามารถจัดการชั้นเรียนได้ตามมาตรฐานที่ 7 4.23 0.4385 ระดับมาก อาจจะมีตัวแปรอื่นเข้ามา เกี่ยวข้อง เช่น เกี่ยวกับตัว ผู้เรียน/บุคลากรอื่น 2. กระบวนการจัดการชั้นเรียนนี้จะส่งผลต่อ

มาตรฐานคุณภาพผู้เรียน 4.31 0.4804 ระดับมาก

3. การด าเนินงานตามกระบวนการจัดการชั้น เรียนนี้จะท าให้โรงเรียนเป็นโรงเรียนต้นแบบ ด้านการจัดการชั้นเรียนสู่ความเป็นเลิศ

4.15 0.3755 ระดับมาก

จากตาราง จะเห็นว่า ครูคาดหวังว่า กระบวนการจัดการนวัตกรรมในชั้นเรียนที่ออกแบบไว้ (ก)จะท า ให้ครูสามารถจัดการชั้นเรียนได้ตรงตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานด้านการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ 7 (ข) จะท าให้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานด้านคุณภาพผู้เรียนสูงขึ้น และ(ค)จะท าให้โรงเรียนเป็นโรงเรียนต้นแบบ ด้านการจัดการชั้นเรียนสู่ความเป็นเลิศได้ ในระดับมาก

ข.ผลการตรวจสอบหลังเสร็จสิ้นโครงการ (After Action Review) ใช้ข้อมูลเดียวกัน

เมื่อสิ้นสุดโครงการวิจัย นักวิจัยได้ตรวจสอบผลการปฏิบัติภายหลังเสร็จสิ้นกระบวนการจากครู 7 คน ผลการตรวจสอบผลการปฏิบัติภายหลังเสร็จสิ้นกระบวน

(1)ความคาดหวัง จากการสอบถามว่าครู ‘คาดหวังอะไรจากการเข้าร่วมโครงการครั้งนี้ และ ได้ตามที่คาดหวังหรือไม่’ ค าตอบของครูปรากฏดังตาราง

ความคาดหวังของครูในโครงการ ประเด็นโดยสรุป

1.1มีความคาดหวังว่าจะได้น าความรู้ไปเผยแพร่กลุ่มเครือข่ายโรงเรียน และ พื้นฐานไม่มีความรู้เลย เมื่อเข้าร่วมโครงการมีความรู้มากขึ้น และจะได้น าไปใช้ให้

เกิดประโยชน์มากที่สุด

-มีความรู้ทางการพัฒนานวัตกรรม ในชั้นเรียน

-น าความรู้ไปเผยแพร่

1.2 คาดหวังว่าจะได้รับความรู้ในสิ่งที่ตนเองไม่รู้ให้ได้รับความรู้ดียิ่งขึ้น ผลที่

ได้รับก็ได้รับความรู้ตามที่คาดหวัง

-มีความรู้ทางการพัฒนานวัตกรรม ในชั้นเรียน

นวัตกรรม การจัดการเรียนรู้ และการท างานวิจัยในชั้นเรียน

1.4 มีความรู้ความเข้าใจกระบวนการจัดการชั้นเรียน เมื่อเข้าร่วมโครงการแล้ว ได้ตามที่คาดหวัง

-มีความรู้ทางการพัฒนานวัตกรรม ในชั้นเรียน

1.5ขั้นตอน/วิธีการ วิเคราะห์ผู้เรียนที่มีประสิทธิภาพและคุณภาพที่ตรวจสอบ ได้ และได้งานวิจัยที่ถูกต้อง เป็นขั้นตอน

-น าความรู้ไปใช้งาน 1.6 อยากมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับกระบวนการจัดการในชั้นเรียน พอเข้า

ร่วมโครงการแล้วเริ่มมีความเข้าใจ และมีประสบการณ์ในการจัดท าแต่ละ กระบวนการ เป็นไปตามคาดหวัง เริ่มมีความรู้ ความเข้าใจมากกว่าก่อนเข้า โครงการ จะน าไปใช้ต่อไปในการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาต่อไป คาดหวังในอนาคต กับตัวเองว่าจะเข้าใจมากขึ้น

-มีความรู้ทางการพัฒนานวัตกรรม ในชั้นเรียน

-น าความรู้ไปใช้งาน

1.7 ครั้งแรกที่เข้าร่วมโครงการก็แอบต าหนิท่านผู้อ านวยการนิดๆ ว่า ท าไมไม่

ถามความสมัครใจหรือบอกรายละเอียดให้ได้รู้บ้าง แต่พอเข้าร่วมประชุมครั้งแรกก็

ยังไม่ค่อยรู้เรื่องเท่าที่ควรเพราะเราไม่ทราบรายละเอียดมาก่อน ก็เกือบจะถอดใจ แล้ว แต่สิ่งที่คาดหวังก็คือ จะต้องท าวิจัยให้ได้สักบท เพราะเท่าที่ท ามาอาจจะไม่ถูก กระบวนการ แต่เมื่อเราเข้าร่วมและมีผู้น าทางก็เลยท าได้เล็กน้อย

-มีความรู้ทางการพัฒนานวัตกรรม ในชั้นเรียน

(2)สิ่งที่ชื่นชอบ จากการสอบถามว่าครู ‘ชอบอะไรมากที่สุดในการจัดโครงการครั้งนี้’ ค าตอบของ ครูปรากฏดังตาราง

สิ่งที่ชอบในโครงการ ประเด็นโดยสรุป

2.1 ชอบโครงการนี้เพราะน าไปใช้ประโยชน์กับอาชีพครูมากที่สุด -น าไปใช้ประโยชน์กับอาชีพครู

2.2 ชอบทีมงานวิทยากรที่มาให้ความรู้ สถานที่ที่เข้ารับการอบรมเพราะมีการ เปลี่ยนแปลงสถานที่บ่อยๆ ที่จ าเจอยู่ที่เดิม และมีการเสริมแรงเป็นก าลังใจให้กับผู้

เข้ารับการอบรมโดยการให้รางวัลตอบแทนและยังได้รับความรู้มาก

-ชอบทีมงานวิทยากร -สถานที่ที่เข้ารับการอบรม -การให้รางวัลตอบแทน 2.3 การจัดท านวัตกรรมที่ตรงกับคุณลักษณะที่จะพัฒนา -การจัดท านวัตกรรม 2.4 เป็นโครงการที่สร้างความตระหนักให้กับครูผู้สอนในการจัดการชั้นเรียน

อย่างเป็นระบบ มีขั้นตอน

-เป็นระบบ มีขั้นตอน

2.5 เล่มคู่มือกระบวนการ -คู่มือกระบวนการ

2.6 ได้ความรู้ ที่จะน าไปพัฒนานักเรียนที่ด้อยในเรื่องภาษาไทย พัฒนา นวัตกรรมไปใช้ในชั้นเรียน แล้วนักเรียนได้พัฒนาจริงเป็นขั้นตอนที่เห็นชัดเจนมาก ขึ้น

-ได้ความรู้

-น าไปใช้ได้จริงในชั้นเรียน -เป็นขั้นเป็นตอน

ตัวเองและนักเรียน

(3) คะแนนที่ให้ จากการสอบถามว่าครู ‘หากให้คะแนนการจัดโครงการจาก 1-10 จะให้กี่

คะแนน’ ค าตอบของครูปรากฏดังตาราง

คะแนนที่ให้ ประเด็นโดยสรุป

3.1 ให้ 9 คะแนน 9 คะแนน จากคะแนน 10

3.2 ให้ 10 คะแนน 3.3 ให้ 10 คะแนน 3.4 ให้ 9 คะแนน 3.5 ให้ 8 คะแนน 3.6 ให้ 9 คะแนน 3.7 ให้ 8 คะแนน

(4)สิ่งที่ต้องท าเพิ่มเติม จากการสอบถามว่าครู ‘หากการจัดโครงการครั้งนี้อยากได้คะแนนเต็ม จะต้องเพิ่มเติมอะไรบ้าง’ ค าตอบของครูปรากฏดังตาราง

สิ่งที่ควรเพิ่มเติม ประเด็นโดยสรุป

4.1 ตัวอย่าง แผ่น CD -ปรับปรุงเอกสารตัวอย่าง

4.2 คะแนนได้เต็มอยู่แล้วเพียงแต่ให้เพิ่มเติมเอกสารบางส่วนเท่านั้น -ปรับปรุงเอกสารตัวอย่าง 4.3 ใส่รายละเอียดในการสร้างนวัตกรรมในขั้นตอนที่ 7 บทที่ 3 ของ

กระบวนการที่ 9 การจัดการงานวิจัยในชั้นเรียน

-เพิ่มเติมเนื้อหา 4.4 ควรเพิ่มเติมของมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย -เพิ่มเติมเนื้อหา

4.5 การสื่อสาร และให้ Concept ที่ชัดเจน -ปรับปรุงการสื่อสาร

4.6 เอกสารเข้าใจยากอยากให้มีตัวอย่างหรือที่มาที่ชัดเจน ส าหรับครูที่ไม่มี

ความรู้ ไม่มีประสบการณ์

-ปรับปรุงเอกสารตัวอย่าง

4.7 เอกสารให้ชัดเจนมากกว่านี้ -ปรับปรุงเอกสารตัวอย่าง

ใช้งานและไปเผยแพร่ (ข)สิ่งที่ครูชอบอะไรมากที่สุดในการจัดโครงการครั้งนี้ คือได้ความรู้ทางการพัฒนา นวัตกรรมในชั้นเรียนอย่างเป็นขั้นเป็นตอน ที่น าไปใช้ได้จริงในชั้นเรียนและกับอาชีพครู (ค)หากให้คะแนนการ จัดโครงการจาก 1-10 จะให้ 9 คะแนน (ง)หากการจัดโครงการครั้งนี้อีกอยากได้คะแนนเต็ม จะต้องเพิ่มเติมใน เรื่องปรับปรุงเอกสารให้เพิ่มเติมเนื้อหาบางเรื่องและจัดท าตัวอย่างที่ชัดเจน

สรุปผลโครงการ อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

เมื่อด าเนินการวิจัยเสร็จเรียบร้อยแล้ว นักวิจัยสามารถสรุปผลการด าเนินงานโครงการวิจัยและพัฒนา โรงเรียนต้นแบบด้านการจัดการชั้นเรียนสู่ความเป็นเลิศ ตามหลักปรัชญาการจัดการคุณภาพทั่วทั้งองค์กร ได้

ดังนี้

การสรุปผลโครงการ

ตอนที่1 สรุปผลการวิจัย 1.1 ผลการออกแบบกระบวนการ 1.2 ประสิทธิภาพของกระบวนการ 1.3 ผลผลิตโครงการ

1.4 ผลผลลัพธ์โครงการ

ตอนที่2 อภิปรายผลการวิจัย 2.1 การปฏิบัติให้เป็นไปตามปรัชญา TQA 2.2 การปฏิบัติให้เป็นไปตามตัวแบบ SIPPO 2.3 การปฏิบัติให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา 2.4 การปฏิบัติให้เป็นโรงเรียนต้นแบบ

ตอนที่3 ข้อเสนอแนะ 3.1 การน าผลไปใช้

-ควรจัดกิจกรรมเพิ่มเติมแก่ครูใหม่แยกต่างหาก -ควรจัดให้ครูได้น าไปด าเนินการต่อเนื่อง

-ควรน าไปใช้เป็นเครื่องมือในจัดท าแผนยุทธศาสตร์และการ ประกันคุณภาพของสถานศึกษา

3.2 การวิจัยต่อเนื่อง

-ควรบูรณาการโครงการวิจัยทั้งหมด 9 กระบวนการให้เป็น การพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา

-ควรวิจัยคุณลักษณะเดียวกันทั้งโรงเรียน -ควรท าวิจัยรอบใหม่เพื่อปรับปรุงต่อเนื่อง

จากการออกแบบกระบวนการจัดการนวัตกรรมในชั้นเรียนและตรวจสอบประสิทธิภาพของ กระบวนการที่ออกแบบขึ้นพบว่า

1.กระบวนการจัดการนวัตกรรมในชั้นเรียน

กระบวนการจัดการนวัตกรรมในชั้นเรียนของครู สถานศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบด้วย 1 กระบวนการ หลัก(QBP) 5 กระบวนการย่อย(QWP) 11 ขั้นตอน 4 ตัวชี้วัด และ 13 แบบฟอร์มมีรายละเอียดดังนี้

1.1 กระบวนการหลัก(QBP: Quality Business Process) 1 กระบวนการ คือกระบวนการ จัดการงานนวัตกรรมในชั้นเรียน ประกอบด้วย 4 ขั้น คือขั้นวางแผน มี 1 ขั้น 1 ตัวชี้วัด ขั้นด าเนินการ มี 6 ขั้น 1 ตัวชี้วัด ขั้นตรวจสอบ มี 3 ขั้น 1 ตัวชี้วัดและขั้นน าไปใช้งาน มี 1 ขั้น 1 ตัวชี้วัด รวมทั้งหมดมีทั้งสิ้น 12 ขั้น และ 4 ตัวชี้วัด

1.2 กระบวนการย่อย(QWP: Quality Work Process) จากกระบวนการหลัก(QBP) ข้างต้น สามารถน ามาเขียนเป็นกระบวนการย่อย(QWP)ได้เป็น 5 กระบวนการ คือ QWP1 กระบวนงานเสนอโครงการ จัดการนวัตกรรมในชั้นเรียน มี 4 ขั้นตอน 13 กิจกรรม 4 แบบฟอร์ม QWP2 การตรวจสอบผลการพัฒนา คุณลักษณะ มี 1 ขั้นตอน 5 กิจกรรม 1 แบบฟอร์ม QWP3 การเขียนรายงานผลการวิจัย มี 2 ขั้นตอน 4 กิจกรรม 2 แบบฟอร์ม QWP4 การตรวจสอบกระบวนการ มี 3 ขั้นตอน 5 กิจกรรม 3 แบบฟอร์ม และ QWP5 การจัดท ารายงานผลวิจัยและเผยแพร่ มี 1 ขั้นตอน 5 กิจกรรม 4 แบบฟอร์ม รวมทั้งหมดมีทั้งสิ้น 11 ขั้นตอน 30 กิจกรรมและ 15 แบบฟอร์ม

1.3 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน(WI : Work Instruction) การในกระบวนการย่อยทั้งหมด จ าแนกออกได้เป็น 11 ขั้นตอน ประกอบด้วย (1)ขั้นศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรม (2)ขั้นการคัดเลือก นวัตกรรม (3)ขั้นทบทวนทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรม (4)ขั้นการออกแบบและการสร้าง นวัตกรรม (5)ขั้นการทดลองใช้นวัตกรรม (6)ขั้นการหาประสิทธิภาพนวัตกรรม (7)ขั้นการปรับปรุงนวัตกรรม (8)ขั้นการตรวจสอบความสอดคล้องระหว่างขั้นตอนการปฏิบัติกับมาตราฐานการศึกษา (9)ขั้นการตรวจสอบ ความสอดคล้องระหว่างขั้นตอนกระบวนการทั้งหมด (10)ขั้นการตรวจสอบเหมาะสมของขั้นตอนพัฒนา นวัตกรรม (11) ขั้นเสนอเอกสารรายงานผลการพัฒนานวัตกรรม

1.4 ตัวชี้วัดหลัก(KQI : Key Quality Indicator) ในกระบวนการย่อย 5 กระบวนการ มี

ตัวชี้วัดหลักก ากับ 4 ตัวคือ(ก)ครูส ารวจทฤษฎีและคัดเลือกนวัตกรรมที่น ามาใช้พัฒนาได้ (ข)ครูสร้างนวัตกรรม ได้อย่างน้อย 1 ชิ้น (ค)ครูตรวจสอบประเมินคุณภาพของนวัตกรรมได้ และ(ง)ครูสรุปผลการสร้างและเผยแพร่

1.5 แบบฟอร์ม 13 รายการ ได้แก่ FORM701 แบบรายงานการศึกษาเอกสาร FORM 702 แบบการคัดเลือกนวัตกรรม FORM 703 แบบรายงานผลการทบทวนทฤษฎีนวัตกรรม FORM704 แบบ รายงานการออกแบบนวัตกรรม FORM 705 แบบรายงานการทดลองใช้นวัตกรรม FORM 706 แบบรายงาน

Dokumen terkait