• Tidak ada hasil yang ditemukan

กิจกรรมที่ 5 “ใจหนา กล้าสู้” (การพัฒนาความหยุ่นตัว)

วิธีการฝึกอบรม อบรมผ่านโปรแกรมออนไลน์ (Online) โดยไม่ต้องอยู่ในห้องเรียนปกติ

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้เข้าใจแนวคิดความหยุ่นตัว 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมได้ฝึกพัฒนาความหยุ่นตัว

แนวคิดที่ใช้ แนวคิดการพัฒนาทุนจิตวิทยาเชิงบวก เน้นการพัฒนาความหยุ่นตัว (Luthans et al., 2010)

เนื้อหาการ ฝึกอบรม

- การฝึกจัดการกับความเครียด

- การฝึกประเมินผลกระทบตามจริงจากความล้มเหลว - การฝึกค้นหาทางเลือกเมื่อเผชิญความล้มเหลว - การฝึกหลีกเลี่ยงความเสี่ยงหรือเหตุการณ์ที่ไม่ดี

กิจกรรมที่ใช้ - การบรรยายและการตั้งค าถาม - การใช้วิดีทัศน์

- การระดมสมอง - การอภิปรายกลุ่ม เวลา ไม่น้อยกว่า 2 ชั่วโมง

ผู้วิจัยด าเนินการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือจัดกระท า ดังนี้

1) พัฒนาโปรแกรมการพัฒนาทุนจิตวิทยาเชิงบวก โดยผู้วิจัยได้ท าการ ออกแบบโปรแกรม รวมทั้งกิจกรรมต่าง ๆ ตามพื้นฐานแนวคิดจิตวิทยาเชิงบวก โดยเป็นกิจกรรมที่

ผสมผสานวิธีการต่าง ๆ หลากหลาย เพื่อเป็นการสร้างให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ความรู้ความเข้าใจ และการเปลี่ยนแปลงจากภายในตนเองซึ่งเป็นส่วนส าคัญในการปรับเปลี่ยนไปสู่สิ่งที่ผู้วิจัยมุ่งหวัง คือ ความยึดมั่นผูกพันในงาน

2) ตรวจสอบคุณภาพ รวมทั้งความเหมาะสมของโปรแกรมการพัฒนาทุน จิตวิทยาเชิงบวก ผู้วิจัยได้น าโปรแกรมการพัฒนาทุนจิตวิทยาเชิงบวกที่สร้างขึ้นไปให้ผู้ทรงคุณวุฒิ

จ านวน 3 ท่าน ท าการตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) เพื่อพิจารณา เกี่ยวกับความสอดคล้องเหมาะสมด้านวัตถุประสงค์ การเลือกใช้เทคนิคการพัฒนา

3) ปรับปรุงโปรแกรมการพัฒนาทุนจิตวิทยาเชิงบวกตามข้อเสนอแนะของ ผู้ทรงคุณวุฒิ

4) น าโปรแกรมการพัฒนาทุนจิตวิทยาเชิงบวกที่ได้รับการปรับปรุงแก้ไขแล้ว ไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่างที่มีลักษณะสอดคล้องและมีความใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่างของ การวิจัย เพื่อตรวจสอบความเหมาะสมเกี่ยวกับล าดับขั้นตอน ระยะเวลา เนื้อหา ข้อบกพร่อง ตลอดจนปัญหาอุปสรรคที่อาจเกิดขึ้นระหว่างการทดลองใช้โปรแกรม โดยผู้วิจัยน าเนื้อหาทั้งหมด ในโปรแกรมฯ ไปทดลองใช้ จากนั้นปรับปรุงแก้ไขก่อนน าไปใช้จริง

5) น าโปรแกรมการพัฒนาทุนจิตวิทยาเชิงบวกไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง

3. แบบสัมภาษณ์ โดยท าการเก็บรวบรวมข้อมูลจากพนักงานองค์กรเอกชนที่

ปฏิบัติงานให้กับกลุ่มผู้มีความหลากหลายทางเพศในองค์กรพัฒนาเอกชนภายในกรุงเทพมหานคร คัดเลือกโดยการสุ่มแบบเฉพาะเจาะจง จ านวน 7 คน โดยมีเกณฑ์ในการคัดเข้า คือ ต้องผ่าน โปรแกรมการพัฒนาทุนจิตวิทยาเชิงบวกของพนักงานองค์กรพัฒนาเอกชนด้านความหลากหลาย ทางเพศ และได้คะแนนเฉลี่ยแบบวัดความยึดมั่นผูกพันในงานเพิ่มมากที่สุดและเพิ่มน้อยที่สุด ผู้วิจัยใช้แบบสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งมีโครงสร้าง (Semi-structured Interview) ซึ่งในขั้นตอนนี้

เป็นการด าเนินการวิจัยเชิงคุณภาพที่มุ่งเน้นการรับรู้การสนับสนุนขององค์กรเพื่อร่วมการอธิบาย ประสิทธิผลของโปรแกรมการพัฒนาทุนจิตวิทยาเชิงบวกที่มีต่อความยึดมั่นผูกพันในงานของ พนักงานองค์กรพัฒนาเอกชนให้มีความลุ่มลึกมากยิ่งขึ้น ผู้วิจัยจึงพัฒนาแนวค าถามปลายเปิด ซึ่งออกแบบมาเพื่อใช้เป็นกรอบค าถามถามกว้าง ๆ ให้กับผู้วิจัยในการเก็บข้อมูลเท่านั้น ข้อค าถาม

เหล่านี้สามารถปรับเปลี่ยนและเพิ่มได้ในขณะเก็บข้อมูล โดยขั้นตอนการพัฒนาและตรวจสอบ แนวค าถาม ดังนี้

1) ผู้วิจัยพัฒนากรอบค าถามส าหรับแบบสัมภาษณ์ผ่านการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี

และเอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้ครอบคลุมตามประเด็นส าคัญในการวิจัยและขอบเขตของ การศึกษา

2) ผู้วิจัยสร้างแนวค าถามหลัก และแนวค าถามรองเพื่อใช้ในการสัมภาษณ์เชิงลึก แบบกึ่งมีโครงสร้างกับผู้ให้ข้อมูลแต่ละราย มีการเรียงล าดับค าถาม เนื้อหาของค าถามสามารถ ปรับได้ตามลักษณะของผู้ให้ข้อมูล โดยหลักของการตั้งแนวค าถามต้องเข้าใจง่าย และเปิดโอกาส ให้ผู้ให้ข้อมูลมีอิสระในการตอบ

3) ผู้วิจัยขอค าแนะน ากับอาจารย์ที่ปรึกษา และผู้เชี่ยวชาญ/ผู้ทรงคุณวุฒิ จ านวน 3 ท่าน ในประเด็นความสอดคล้องของค าถามกับความมุ่งหมายของการวิจัย เป็นการตรวจสอบ ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) ว่าครอบคลุมวัตถุประสงค์และประเด็นส าคัญในการ วิจัย จากนั้นน าไปให้ผู้เชี่ยวชาญ/ผู้ทรงคุณวุฒิให้ค าแนะน าและตรวจสอบเพื่อน ามาปรับปรุงตาม ค าแนะน า

4) ผู้วิจัยทดสอบแบบสัมภาษณ์ดังกล่าวเพื่อตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสม ความสอดคล้องของการวิจัย การเรียงล าดับประเด็นเนื้อหา รวมทั้งความสะดวกในการใช้แบบ สัมภาษณ์ หลังจากนั้นจึงน าแบบสัมภาษณ์ไปทดลองถามกับพนักงานองค์กรพัฒนาเอกชนคนอื่น ๆ ที่ไม่ได้เป็นผู้ให้ข้อมูลหลัก เพื่อเป็นแนวทางในการค้นหา พัฒนา และแก้ไขค าถามอื่น ๆ รวมทั้ง ช่วยให้ผู้ให้ข้อมูลสามารถตอบได้อย่างเข้าใจค าถามมากที่สุด

5) ผู้วิจัยปรับปรุง แก้ไข และจัดท าแบบฟอร์มแบบสัมภาษณ์ ส าหรับลงเก็บ ข้อมูลภาคสนาม

จากขั้นตอนการสร้างแนวค าถามดังที่กล่าวไป สามารถสรุปแนวค าถามเบื้องต้นที่

ผู้วิจัยสร้างขึ้น ซึ่งมีตัวอย่างแนวค าถามดังนี้

- ตัวอย่างแนวค าถามเกี่ยวกับการพัฒนาทุนจิตวิทยาเชิงบวก ที่มีผลต่อความ ยึดมั่นผูกพันในงาน เพื่อตรวจสอบเพิ่มเติมว่าการพัฒนาทุนจิตวิทยาเชิงบวกมีส่วนเกี่ยวข้องและ สนับสนุนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความยึดมั่นผูกพันในงานได้อย่างไร ดังตัวอย่างค าถามดังนี้

“...การพัฒนาทุนจิตวิทยาเชิงบวกมีความส าคัญและส่วนช่วยในการ พัฒนาการท างานอย่างไรบ้าง”

- ตัวอย่างแนวค าถามเกี่ยวกับประสิทธิผลของโปรแกรมการพัฒนาทุนจิตวิทยา เชิงบวกร่วมกับการได้รับการสนับสนุนจากองค์กรที่มีต่อความยึดมั่นผูกพันในงาน เพื่อตรวจสอบ ว่า ตัวแปรดังกล่าวร่วมกับการพัฒนาทุนจิตวิทยาเชิงบวก มีส่วนช่วยให้เกิดความยึดมั่นผูกพันใน งานเพิ่มขึ้นได้อย่างไร ดังตัวอย่างค าถามดังนี้

“…ท่านคิดว่าการที่องค์กรมีการจัดประชุมเพื่อพูดคุยถึงปัญหาที่เกิดขึ้นใน การท างานระหว่างบุคลากร ช่วยท าให้เกิดความยึดมั่นผูกพันในงานหรือไม่ อย่างไร”

- ตัวอย่างแนวค าถามเกี่ยวกับข้อสังเกต ข้อค้นพบอื่น ๆ เพื่อตรวจสอบปัจจัย สนับสนุนและอุปสรรคที่เกี่ยวกับโปรแกรมการพัฒนาทุนจิตวิทยาเชิงบวกที่มีต่อความยึดมั่นผูกพัน ในงาน ดังตัวอย่างค าถามดังนี้

“...ท่านมีข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับโปรแกรมการพัฒนาทุนจิตวิทยา เชิงบวกที่มีต่อการท างานของท่าน เป็นอย่างไร”

“...ท่านคิดว่าโปรแกรมการพัฒนาทุนจิตวิทยาเชิงบวกมีอุปสรรคใดบ้างที่

ท่านเห็นว่าควรแก้ไขเพื่อให้เกิดการท างานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น”

เพื่อความน่าเชื่อถือของข้อมูล ผู้วิจัยด าเนินการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ โดยใช้

หลักการตรวจสอบข้อมูลสามเส้า (data triangulation) ผ่านข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลหลักจากองค์กร ที่แตกต่างกัน ผู้ให้ข้อมูลหลักที่แตกต่างกัน และระยะเวลาที่ต่างกันในการเก็บข้อมูล รวมทั้งผู้วิจัย ได้ท าการสะท้อนกลับไปยังผู้ให้ข้อมูลหลักระหว่างการสัมภาษณ์ เพื่อยืนยันความถูกต้องของข้อมูล และความเข้าใจระหว่างผู้ถามและผู้ตอบ ที่จะท าให้การวิจัยมีความน่าเชื่อถือ

วิธีการด าเนินการวิจัย

การทดสอบประสิทธิผลของโปรแกรมการพัฒนาทุนจิตวิทยาเชิงบวกที่มีต่อความยึดมั่น ผูกพันเป็นการวิจัยกึ่งทดลอง ใช้แบบแผนการวิจัยโดยการสุ่มสองกลุ่มวัดก่อน - หลังการทดลอง (Randomized pretest-posttest control group design) (องอาจ นัยพัฒน์, 2548, น. 275) โดยผู้วิจัยได้ด าเนินการตามแบบแผนการวิจัยดังตาราง 7