• Tidak ada hasil yang ditemukan

สถานภาพสมรส เป็นแบบสอบถามชนิดปลายปิด ลักษณะค าถามมีหลายค าตอบให้

วิธีด าเนินการวิจัย

3. การเก็บรวบรวมข้อมูล

1.3 สถานภาพสมรส เป็นแบบสอบถามชนิดปลายปิด ลักษณะค าถามมีหลายค าตอบให้

เลือก (Dichotomous Question) โดยใช้ระดับการวัดข้อมูลประเภทนามบัญญัติ (Nominal Scale) ดังนี้

1.3.1 โสด 1.3.2 สมรส

1.4 ระดับการศึกษา เป็นแบบสอบถามชนิดปลายปิด ลักษณะค าถามมีหลายค าตอบให้

เลือก (Multiple Choice Question) โดยใช้ระดับการวัดข้อมูลประเภทเรียงล าดับ (Ordinal Scale) ดังนี้

1.4.1 ต ่ากว่าปริญญาตรี

1.4.2 ปริญญาตรี

1.4.3 สูงกว่าปริญญาตรี

1.5 อัตราเงินเดือน เป็นแบบสอบถามชนิดปลายปิด ลักษณะค าถามมีหลายค าตอบให้

เลือก (Multiple Choice Question) โดยใช้ระดับการวัดข้อมูลประเภทเรียงล าดับ (Ordinal Scale) ดังนี้

1.5.1 ต ่ากว่าหรือเท่ากับ 15,000 บาท 1.5.2 15,001 – 30,000 บาท

1.5.3 30,001 – 45,000 บาท

1.5.4 45,501 บาทขึ้นไป

ส่วนที่ 2 ค าถามเกี่ยวกับองค์ประกอบของทัศนคติ 3 ส่วน ประกอบด้วย ด้านความเข้าใจ ด้านความรู้สึก และส่วนของพฤติกรรม

โดยค าถามในส่วนที่ 2 ใช้แบบสอบถามแบบปลายปิด เป็นแบบ Likert Scale โดยใช้วัด ระดับการวัดข้อมูลประเภทอันตรภาคชั้น (Interval Scale) ตามระดับคะแนนตามความคิดเห็น ดังนี้

5 หมายถึง เห็นด้วยอย่างยิ่ง 4 หมายถึง เห็นด้วย

3 หมายถึง ไม่แน่ใจ 2 หมายถึง ไม่เห็นด้วย

1 หมายถึง ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง

เมื่อรวบรวมข้อมูลแจกแจงความถี่แล้วจะใช้คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มประชากรมาพิจารณา ความถี่เพื่ออภิปรายผลค านวณ ซึ่งเกณฑ์การแปลความหมายและจัดกลุ่มคะแนนค่าเฉลี่ย ดังนี้

(ธานินทร์ ศิลป์จารุ, 2557)

4.50 – 5.00 ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นต่อองค์ประกอบของทัศนคติใน ระดับมากที่สุด

3.50 – 4.49 ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นต่อองค์ประกอบของทัศนคติใน ระดับมาก

2.50 – 3.49 ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นต่อองค์ประกอบของทัศนคติใน ระดับปานกลาง

1.50 – 2.49 ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นต่อองค์ประกอบของทัศนคติใน ระดับน้อย

1.00 – 1.49 ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นต่อองค์ประกอบของทัศนคติใน ระดับน้อยที่สุด

ส่วนที่ 3 ค าถามเกี่ยวกับส่วนประสมทางการตลาด 4C’s ประกอบด้วย ความต้องการ ของผู้บริโภค ต้นทุนของผู้บริโภค ความสะดวกในการซื้อ และการสื่อสาร โดยค าถามในส่วนที่ 3 ใช้แบบสอบถามแบบปลายปิด เป็นแบบ Likert Scale โดยใช้วัดระดับการวัดข้อมูลประเภทอันตร ภาคชั้น (Interval Scale) ตามระดับคะแนนตามความคิดเห็น ดังนี้

5 หมายถึง มากที่สุด 4 หมายถึง มาก 3 หมายถึง ปานกลาง 2 หมายถึง น้อย 1 หมายถึง น้อยที่สุด

เมื่อรวบรวมข้อมูลแจกแจงความถี่แล้วจะใช้คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มประชากรมาพิจารณา ความถี่เพื่ออภิปรายผลค านวณ ซึ่งเกณฑ์การแปลความหมายและจัดกลุ่มคะแนนค่าเฉลี่ย ดังนี้

(ธานินทร์ ศิลป์จารุ, 2557)

4.50 – 5.00 ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความส าคัญกับส่วนประสมทางการตลาด 4C’s ในระดับมากที่สุด

3.50 – 4.49 00 ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความส าคัญกับส่วนประสมทาง การตลาด 4C’s ในระดับมาก

2.50 – 3.49 ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความส าคัญกับส่วนประสมทางการตลาด 4C’s ในระดับปานกลาง

1.50 – 2.49 ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความส าคัญกับส่วนประสมทางการตลาด 4C’s ในระดับน้อย

1.00 – 1.49 ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความส าคัญกับส่วนประสมทางการตลาด 4C’s ในระดับน้อยที่สุด

ส่วนที่ 4 ค าถามเกี่ยวกับการตัดสินใจเลือกใช้บริการวีดีโอสตรีมมิ่งของผู้บริโภคในเขต กรุงเทพมหานคร

โดยค าถามในส่วนที่ 4 ใช้แบบสอบถามแบบปลายปิด เป็นแบบ Likert Scale โดยใช้วัด ระดับการวัดข้อมูลประเภทอันตรภาคชั้น (Interval Scale) ตามระดับคะแนนตามความคิดเห็น ดังนี้

5 หมายถึง มากที่สุด 4 หมายถึง มาก 3 หมายถึง ปานกลาง 2 หมายถึง น้อย 1 หมายถึง น้อยที่สุด

เมื่อรวบรวมข้อมูลแจกแจงความถี่แล้วจะใช้คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มประชากรมาพิจารณา ความถี่เพื่ออภิปรายผลค านวณ ซึ่งเกณฑ์การแปลความหมายและจัดกลุ่มคะแนนค่าเฉลี่ย ดังนี้

(ธานินทร์ ศิลป์จารุ, 2557)

4.50 – 5.00 ผู้ตอบแบบสอบถามมีการตัดสินใจใช้บริการในระดับมากที่สุด 3.50 – 4.49 ผู้ตอบแบบสอบถามมีการตัดสินใจใช้บริการในระดับมาก 2.50 – 3.49 ผู้ตอบแบบสอบถามมีการตัดสินใจใช้บริการในระดับปานกลาง 1.50 – 2.49 ผู้ตอบแบบสอบถามมีการตัดสินใจใช้บริการในระดับน้อย 1.00 – 1.49 ผู้ตอบแบบสอบถามมีการตัดสินใจใช้บริการในระดับน้อยที่สุด วิธีการหาคุณภาพเครื่องมือ

การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวมรวมข้อมูล ในการศึกษาการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้สร้าง เครื่องมือตามล าดับ

1. ศึกษาค้นคว้าจากต ารา เอกสาร บทความ แนวคิดและทฤษฎี งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ที่มี

ความเกี่ยวข้องกับตัวแปรที่ศึกษา เพื่อเป็นแนวทางในการก าหนด ขอบเขตของการวิจัยและการ สร้างแบบสอบถาม

2. น าข้อมูลที่จากการศึกษาค้นคว้า ทั้ง เอกสารต่างๆ รวมทั้ง งานวิจัยที่เกี่ยวข้องมา ก าหนดขอบเขตของแบบสอบถาม ซึ่งแบบสอบถามที่สร้างขึ้น จะต้องมีความสอดคล้องและตรง ตามความมุ่งหมายของการวิจัยมากยิ่งขึ้น แบบสอบถามทั้งหมด 4 ส่วน คือ

ส่วนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล ของผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับองค์ประกอบของทัศนคติ

ส่วนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับส่วนประสมการตลาด 4Cs

ส่วนที่ 4 แบบสอบถามเกี่ยวกับการตัดสินใจใช้บริการวีดีโอสตรีมมิ่งของผู้บริโภคใน เขตกรุงเทพมหานคร

3. น าแบบสอบถามที่ผู้วิจัยได้สร้างขึ้น เสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์เพื่อ พิจารณาถึงความถูกต้อง เที่ยงตรง และความสอดคล้องกับตัวแปรที่ศึกษา รวมทั้งเพื่อขอ ค าแนะน าในการน ามาปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้องเหมาะสม

4.น าแบบสอบถามที่ผ่านการตรวจสอบและแก้ไขแล้วไปทดสอบ (Try out) ความเชื่อมั่น (Reliability) โดยการหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟา (Coefficient Alpha) โดยวิธีการค านวณ ของครอนบัค (Cronbach) เพื่อหาค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม ซึ่งจะมีค่าระหว่าง 0 – 1 หาก มีค่าใกล้เคียงกับ 1 แสดงว่ามีความเชื่อมั่นสูง (ศิริชัย พงษ์วิชัย 2544 : 1277) ซึ่งในงานวิจัยนี้

ยอมรับค่าความเชื่อมนั้น อยู่ที่ระดับ 0.70 ขึ้นไป (กัลยา วานิชย์บัญชา, 2561) และปรับปรุง แบบสอบถามเพื่อใช้ในการวิจัย โดยได้ค่าความเชื่อมั่น ดังนี้

แบบสอบถาม ค่าความเชื่อมั่น

1.ด้านส่วนของความเข้าใจ ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.835 2.ด้านส่วนของความรู้สึก ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.897 3.ด้านส่วนของความพฤติกรรม ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.882 4.ด้านความต้องการของผู้บริโภค ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.899 5.ด้านต้นทุนของผู้บริโภค ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.882 6.ด้านความสะดวกในการซื้อ ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.863

7.ด้านการสื่อสาร ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.919

8.ด้านการตัดสินใจใช้บริการ ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.921

การเก็บรวบรวมข้อมูล

แหล่งข้อมูล (Source of data ) การวิจัยในครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Research) โดยมุ่งเน้นการศึกษาพฤติกรรม ตัดสินใจใช้บริการวีดีโอสตรีมมิ่งของผู้บริโภคในเขต กรุงเทพมหานคร

1. ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) เป็นข้อมูลที่ได้มาจากการใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูล จากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 400 คน โดยมีขั้นตอนการดาเนินงานดังนี้

1.1 ด าเนินการเก็บข้อมูลบริเวณที่ได้รับการคัดเลือกในขั้นตอนการสุ่มตัวอย่าง 1.2 ระยะเวลาเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยจะด าเนินการส่งแบบสอบถามให้กับ ผู้ตอบ

แบบสอบถามกลุ่มตัวอย่าง พร้อมทั้งชี้แจงถึงวัตถุประสงค์ของการท าวิจัย ตลอดจน ลักษณะของแบบสอบถามให้กับกลุ่มตัวอย่างทราบ เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกัน แล้วจึงท าการ ตอบแบบสอบถามโดยจะให้กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้กรอกแบบสอบถามด้วยตัวเอง เพื่อด าเนินการ จัดท าข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลต่อไป

2.แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) ได้จากการค้นคว้า จากข้อมูลที่มีผู้รวบรวม ไว้ทั้งหน่วยงานของรัฐ และเอกชนดังนี้