• Tidak ada hasil yang ditemukan

1) การออกแบบและพัฒนากิจกรรมโรงเรียนรักษ์สิ่งแวดล้อม ส าหรับโรงเรียนสังกัดเทศบาล เมืองร้อยเอ็ด เป็นวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi Experimental Research) โดยใช้กลุ่มตัวอย่าง 1 กลุ่ม เป็น กลุ่มทดลอง มีการวัดผลก่อนและหลังการทดลอง (One Group Pretest-Posttest Design) (ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ, 2538 : 249)

ตารางที่ 1 แผนการวิจัย (One Group Pretest-Posttest Design)

กลุ่มตัวอย่าง ทดสอบก่อน การทดลอง ทดสอบหลัง

E T1 X T2

E คือ ประชากรกลุ่มตัวอย่าง (Experimental group)

T1 คือ การทดสอบความรู้ จริยธรรมสิ่งแวดล้อม จิตอาสาสิ่งแวดล้อม ก่อนจัดกิจกรรม (pretest)

X คือ การกิจกรรมโรงเรียนรักษ์สิ่งแวดล้อม ส าหรับโรงเรียนเทศบาลวัดสระทอง (Treatment) T2 คือ การทดสอบความรู้ จริยธรรมสิ่งแวดล้อม จิตอาสาสิ่งแวดล้อม หลังจัดกิจกรรม (Posttest)

3.2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

ในการศึกษาวิจัยเรื่อง การพัฒนากิจกรรมโรงเรียนรักษ์สิ่งแวดล้อม ส าหรับโรงเรียนสังกัด เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด มีประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ดังนี้

3.2.1 ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนโรงเรียนสังกัดเทศบาลเมือง ร้อยเอ็ด จ านวน 2,852 คน

75 3.2.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนเทศบาลวัดสระทอง อ าเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด ที่อยู่ในชมรมรักษ์ สิ่งแวดล้อม จ านวน 47 คน โดยเลือกแบบเจาะจง

3.3 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้แบ่งออกเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการถ่ายทอด และเครื่องมือที่ใช้ในการวัดและประเมินผล

3.3.1 เครื่องมือที่ใช้ในการถ่ายทอด ได้แก่

คู่มือกิจกรรมโรงเรียนรักษ์สิ่งแวดล้อม ส าหรับโรงเรียนสังกัดเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด 3.3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการวัดและประเมินผล ได้แก่

1) แบบทดสอบความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 2) แบบวัดจริยธรรมสิ่งแวดล้อม

3) แบบวัดจิตอาสาสิ่งแวดล้อม 3.4 การสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือ

การพัฒนากิจกรรมโรงเรียนรักษ์สิ่งแวดล้อม ส าหรับโรงเรียนสังกัดเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด ผู้วิจัย มีการสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือ ดังนี้

3.4.1 เครื่องมือที่ใช้ในการถ่ายทอด

หลักสูตรกิจกรรมโรงเรียนรักษ์สิ่งแวดล้อม ส าหรับโรงเรียนสังกัดเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด ซึ่งมีขั้นตอนการสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือ ดังนี้

1) ศึกษาค้นคว้าข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวข้องกับการพัฒนาหลักสูตรกิจกรรมโดย การศึกษาจากแนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนในการจัดท าหลักสูตรให้มี

ประสิทธิภาพ

2) ศึกษาองค์ความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม โดยการศึกษาจากเอกสาร หนังสือต าราและสื่อต่าง ๆ เพื่อเป็นแนวทางก าหนดกิจกรรมในการพัฒนาหลักสูตร โดยจะเน้นเนื้อหา เพื่อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ในจัดกิจกรรม

76 3) ก าหนดขอบเขตและโครงสร้างเนื้อหาของหลักสูตรกิจกรรมให้สอดคล้องกับกรอบ แนวคิดในการศึกษา เพื่อสร้างหลักสูตรหลักสูตรกิจกรรมโรงเรียนรักษ์สิ่งแวดล้อม ส าหรับโรงเรียน สังกัดเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด โดยมีเนื้อหาสาระ จ านวน 6 กิจกรรม

4) น าหลักสูตรกิจกรรมโรงเรียนรักษ์สิ่งแวดล้อม ส าหรับโรงเรียนสังกัดเทศบาลเมือง ร้อยเอ็ด ที่สร้างขึ้นไปให้ผู้เชี่ยวชาญจ านวน 5 ท่าน ได้แก่

4.1) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรรณศักดิ์พิจิตร บุญเสริม อาจารย์ประจ า สาขาวิชาสิ่งแวดล้อมศึกษา คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

4.2) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พนัส โพธิบัติ อาจารย์คณะศิลปกรรมศาสตร์

และวัฒนธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

4.3) อาจารย์ ดร.ฐิติศักดิ์ เวชกามา อาจารย์คณะศิลปกรรมศาสตร์และ วัฒนธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

4.4) อาจารย์ ดร.ปิติณัช ไศลบาท อาจารย์สาขาวิชาการพัฒนาสังคมและ สิ่งแวดล้อม คณะศิลปะศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม

4.5) อาจารย์ ดร.วุฒิศักดิ์ บุญแน่น รองผู้อ านวยโรงเรียนการสาธิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม)

5) น าหลักสูตรหลักสูตรกิจกรรมโรงเรียนรักษ์สิ่งแวดล้อม ส าหรับโรงเรียนสังกัด เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด จากการประเมินของผู้เชี่ยวชาญ มาวิเคราะห์โดยยึดเกณฑ์คะแนนเฉลี่ย 3.50 ขึ้นไป เป็นเกณฑ์ตัดสิน พบว่า ค่าความเหมาะสมของหลักสูตรหลักสูตรกิจกรรมโรงเรียนรักษ์

สิ่งแวดล้อม ส าหรับโรงเรียนสังกัดเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด มีค่าเฉลี่ย 4.48 คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) มีค่าเท่ากับ 0.64 อยู่ในระดับเหมาะสมมากที่สุด (ศิริชัย พงษ์วิชัย, 2550: 141 – 142) และค่าความ สอดคล้อง (IOC) มีค่าเท่ากับ 0.96 (ดังตารางที่ ค.1)

6) ปรับปรุงหลักสูตรหลักสูตรกิจกรรมโรงเรียนรักษ์สิ่งแวดล้อม ส าหรับโรงเรียน สังกัดเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด แล้วน าหลักสูตรไปทดลองใช้กับนักเรียนที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง

3.4.2 เครื่องมือในการวัดและประเมินผล ผู้วิจัยได้สร้างเครื่องมือวัดและประเมินผล ดังนี้

1) แบบทดสอบความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนรักษ์สิ่งแวดล้อม

1.1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐานจากต ารา ทฤษฎี และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็น แนวทางในการสร้างแบบทดสอบความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

1.2) น าข้อมูลมาสร้างแบบทดสอบความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม จะเป็น แบบเลือกตอบมี 4 ตัวเลือก ก ข ค ง จ านวน 60 ขอ ให้เลือกตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว โดย ก าหนดเกณฑ์ ตอบถูกให้ 1 คะแนน ตอบผิดให้ 0 คะแนน จ านวน 60 คะแนน

77 1.3) น าเครื่องมือที่สร้างขึ้นไปปรึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษา จากนั้นน าส่งผู้เชี่ยวชาญ จ านวน 5 ท่านพิจารณาความสอดคล้องของแบบสอบถามกับวัตถุประสงค์และคู่มือหลักสูตรกิจกรรม โรงเรียนรักษ์สิ่งแวดล้อม ส าหรับโรงเรียนสังกัดเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด

1.4) น าแบบทดสอบความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมไปให้ผู้เชี่ยวชาญ จ านวน 5 ท่าน พิจารณาความสอดคล้องของแบบทดสอบกับวัตถุประสงค์และหลักสูตรกิจกรรม พบว่า ค่า IOC ของ แบบทดสอบความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนรักษ์สิ่งแวดล้อม มีค่าเท่ากับ 0.93 ซึ่งมากกว่า 0.50 ขึ้นไป (ดัง ตารางที่ ค.3) (ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์, อัจฉรา ช านิประศาสน์, 2547. 145 - 146) แสดงว่าค าถามทุก ข้อของแบบทดสอบความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมมีความเที่ยงตรงตามเนื้อหาสาระและ วัตถุประสงค์สามารถน าไปใช้เก็บรวบรวมข้อมูลได้

1.5) น าแบบทดสอบความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมไปทดลองใช้ (Try out) กับนักเรียนที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง เพื่อหาค่าความยากง่าย ค่าอ านาจจ าแนกรายข้อ และค่าความเชื่อมั่น ทั้งฉบับ พบว่า ค่าความยากง่ายของแบบทดสอบความรู้ทุกข้อมีค่าความยากง่ายในระดับที่ใช้ได้ คือ ค่าต ่าที่สุด 0.40 และสูงที่สุด 0.60 (ดังตารางที่ ง.1) (รังสรรค์ มณีเล็ก และคณะ, 2546) ส าหรับค่า อ านาจจ าแนกรายข้อ โดยใช้เกณฑ์ในการจ าแนกกลุ่มสูงและกลุ่มต ่า วิเคราะห์หาค่าอ านาจจ าแนก รายข้อที่มีค่าตั้งแต่ 0.20 ขึ้นไป พบว่า ค าถามทุกข้อมีค่าอ านาจจ าแนกรายข้อในระดับที่ใช้ได้ คือ มี

ค่าอ านาจจ าแนกระหว่าง 0.20 – 0.60 (ดังตารางที่ ง.2) (รังสรรค์ มณีเล็ก และคณะ, 2546) ส่วนค่า ความเชื่อมั่นทั้งฉบับของแบบทดสอบความรู้ด้วยวิธีการสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (α – Cronbach Coefficient) พบว่า มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.924 (ดังตารางที่ ง.3) แสดงว่า แบบทดสอบความรู้ทุกข้อเป็นไปตามที่ค่ายอมรับได้ที่มีค่ามากกว่า มีค่ามากกว่า 0.70 ขึ้นไป (ล้วน สายยศ, 2544 : 310-331) สามารถน าไปใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้

1.6) น าแบบทดสอบความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมไปปรับปรุงแกไขท าเป็น ฉบับสมบูรณ แล้วเสนออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อน าไปเก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างต่อไป

2) แบบวัดจริยธรรมสิ่งแวดล้อม

2.1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐานจากต ารา เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็นแนวทางในการ สร้างแบบวัดจริธรรมสิ่งแวดล้อม

2.2) น าข้อมูลมาสร้างแบบวัดจริยธรรมสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นค าถามปลายปิด เป็นแบบ มาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) จะเป็นแบบเลือกตอบมี 4 ตัวเลือก ก ข ค ง ให้เลือกตอบ เพียงข้อเดียว จ านวน 60 ข้อ เน้นระดับจริยธรรมไว้ 4 ระดับ คือ ท าเพื่อตนเอง ท าเพื่อญาติมิตรพวก พ้อง ท าเพื่อสังคม ท าเพื่อความถูกต้องดีงาม

2.3) น าแบบวัดจริยธรรมสิ่งแวดล้อม ไปให้ผู้เชี่ยวชาญ จ านวน 5 ท่าน พิจารณา ความสอดคล้องของแบบทดสอบกับวัตถุประสงค์และแผนการสอน พบว่า ค่า IOC ของแบบวัด

78 จริยธรรมสิ่งแวดล้อม มีค่าเท่ากับ 0.94 ซึ่งมากกว่า 0.50 ขึ้นไป (ดังตารางที่ ค.4) แสดงว่าค าถามทุก ข้อมีความตรงตามเนื้อหาสาระและวัตถุประสงค์สามารถน าไปใช้เก็บรวบรวมข้อมูลได้

2.4) น าแบบวัดจริยธรรมสิ่งแวดล้อม ไปหาค่าอ านาจจ าแนกรายข้อของแบบวัด จริยธรรมสิ่งแวดล้อม และคัดเลือกข้อค าถามที่มีค่าอ านาจจ าแนกตั้งแต่ 0.20 ขึ้นไป ซึ่งพบว่า แบบวัด จริยธรรมสิ่งแวดล้อมทุกข้อมีค่าอ านาจจ าแนกรายข้อในระดับที่ใช้ได้ คือ มีค่าอ านาจจ าแนกระหว่าง 0.30 -0.59 (ดังตารางที่ ง.4) (รังสรรค์ มณีเล็ก และคณะ, 2546) และน าแบบวัดจริยธรรมสิ่งแวดล้อม ไปหาค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับด้วยวิธีการสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (α – Cronbach Coefficient) พบว่า มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.957 (ดังตารางที่ ง.5) แสดงว่าแบบวัดจริยธรรม สิ่งแวดล้อมทุกข้อเป็นไปตามที่ค่ายอมรับได้ที่มีค่ามากกว่า 0.70 ขึ้นไป (ล้วน สายยศ, 2544 : 310- 331) ขึ้นไป สามารถน าไปใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้

2.5) น าแบบวัดจริยธรรมสิ่งแวดล้อมไปปรับปรุงแกไขท าเป็นฉบับสมบูรณ์เพื่อน าไป เก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างต่อไป

3) แบบวัดจิตอาสาสิ่งแวดล้อม

3.1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐานจากต ารา เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นแนวทางใน การสร้างแบบวัดจิตอาสาสิ่งแวดล้อม

3.2) น าข้อมูลมาสร้างแบบวัดจิตอาสาสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นค าถามปลายปิด เป็นแบบ มาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) มีลักษณะเป็นแบบก าหนดค าตอบ แบ่งเป็น 5 ระดับ คือ มาก ที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด จ านวน 60 ข้อ

3.3) น าแบบวัดจิตอาสาสิ่งแวดล้อมที่สร้างไปปรึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษา จากนั้น น าส่งผู้เชี่ยวชาญ จ านวน 5 ท่านพิจารณาความสอดคล้องของแบบสอบถามกับวัตถุประสงค์และคู่มือ กิจกรรมพิจารณาความสอดคล้องของวัดจิตอาสาสิ่งแวดล้อมกับวัตถุประสงค์และหลักสูตรกิจกรรม โรงเรียนรักษ์สิ่งแวดล้อม ส าหรับโรงเรียนสังกัดเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด พบว่า ค่า IOC ของแบบวัดจิต อาสาสิ่งแวดล้อม มีค่าเท่ากับ 0.95 ซึ่งมากกว่า 0.50 ขึ้นไป (ดังตารางที่ ค.5) แสดงว่าค าถามทุกข้อมี

ความตรงตามเนื้อหาสาระและวัตถุประสงค์สามารถน าไปใช้เก็บรวบรวมข้อมูลได้

3.4) น าแบบวัดจิตอาสาสิ่งแวดล้อม ไปหาค่าอ านาจจ าแนกรายข้อของแบบวัดจิต อาสาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับโรงเรียนรักษ์สิ่งแวดล้อม และคัดเลือกข้อค าถามที่มีค่าอ านาจจ าแนกตั้งแต่

0.20 ขึ้นไป ซึ่งพบว่า แบบวัดจิตอาสาสิ่งแวดล้อมทุกข้อมีค่าอ านาจจ าแนกรายข้อในระดับที่ใช้ได้ คือ มีค่าอ านาจจ าแนกระหว่าง 0.20 -0.80 (ดังตารางที่ ง.6) (รังสรรค์ มณีเล็ก และคณะ, 2546) และน า แบบวัดจิตอาสาสิ่งแวดล้อมไปหาค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับด้วยวิธีการสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (α – Cronbach Coefficient) พบว่า มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.938 (ดังตารางที่ ง.7) แสดงว่า

Dokumen terkait