• Tidak ada hasil yang ditemukan

บทที 3

5. หินอ่อนเป็นวัตถุทีทนไฟ

6. หินอ่อนให้ความรู้สึกทีละเอียดอ่อนนุ่มนวล ถึงแม้จะเป็นวัตถุทีแข็ง 7. หินอ่อนสามารถสกัด กลึง เพือแปรรูปหินบล็อกเป็นหินอ่อนได้ง่าย

9. หินอ่อนมีความแข็งแกร่งทนทาน 10. หินอ่อนมีความเหนียวแต่แตกหักง่าย 11. เมือใช้นานๆ จะเกิดการสึกกร่อน 12. หินอ่อนมีอายุการใช้งานหลายปี

บทที 4 ผลการศึกษา

บุญเป็นการทําความดี ผู้ทําบุญจะมีความสุข การทําบุญเป็นกิจกรรมทีทําให้ผู้ทําบุญได้ทําประโยชน์

ให้กับตนเองและผู้อืน ในทุกสังคมของมนุษย์จะมีรูปแบบในการทําบุญแตกต่างกันไปตามความเชือของ ผู้ทําบุญ และการอบรมขัดเกลาอันเกิดจากสภาพแวดล้อม ศาสนาทีนับถือ และจินตภาพของผู้ทําบุญ การ ทําบุญเกิดจากความศรัทธาส่วนบุคคลทีเกิดจากความสนับสนุนในหลายๆด้าน โดยเฉพาะสังคมเมืองจัดเป็น สังคมทีมีรูปแบบการดํารงชีวิตซึงอิทธิพลของระบบทุนนิยมได้ส่งตรงกับการใช้ชีวิตทีมีข้อจํากัดในด้าน เวลา ทุนทรัพย์ และกลุ่มคน

ดังนั น การเปลียนแปลงในชีวิตสังคมเมือง ซึงคนโดยรวมในสังคมยังมีความศรัทธาใน พระพุทธศาสนาวัดจึงเป็นศูนย์กลางให้กับการทําบุญทีความสําคัญและมีความหมายในพืนฐานทีดีงามกับ การดํารงชีวิตอย่างมีความสุข สําหรับการศึกษาเรืองการเปลียนแปลงในชีวิตของสังคมเมืองกับการสร้าง รูปแบบ การมีส่วนร่วมในการทํานุบํารุงพระพุทธศาสนาและการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย : กรณีศึกษาวัด เบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ได้จําแนกศึกษาไว้ 2 ส่วน

ส่วนแรก การจัดกิจกรรมการทําบุญของวัดเบญจมบพิตรก่อนทีบ้านเมืองในกรุงเทพมหานครจะ มีความเติบโตทางเศรษฐกิจและระบบทุนนิยมมีอิทธิพลในการดํารงชีวิตดังทีปรากฏในยุคปัจจุบัน ในทีนีได้

นําการศึกษาการสังเคราะห์ นับตั งแต่กิจกรรมการทําบุญและรูปแบบการทําบุญในวัดเบญจมบพิตรตั งแต่

สมัยรัชกาลที 5 มาจนถึง พ.ศ. 2475 เมือบ้านเมืองเข้าสู่ระบอบการปกครองประชาธิปไตย

ส่วนทีสอง การจัดกิจกรรมการทําบุญของวัดเบญจมบพิตร ในปี พ.ศ. 2475- ปัจจุบัน โดยวิเคราะห์

วิพากษ์ วิจารณ์ในด้านการมีส่วนร่วมของประชาชนในการทํานุบํารุงและอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย 1. รูปแบบการทําบุญของวัดเบญจมบพิตรและการมีส่วนร่วมของประชาชนก่อน พ.ศ. 2475

เนืองจากวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามจัดเป็นวัดพระรามหลวงทีมีประวัติศาสตร์การก่อตั ง แตกต่างจากวัดอืน ๆ กล่าวถือ พระมหากษัตริย์ในราชจักรีวงศ์ นับตั งแต่รัชกาลที 3 ทรงเป็น อัครราชูปถัมภกมาก่อนการเปลียนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ตามลําดับดังนี

สมัยรัชกาลที 3 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระบรมวงศ์เธอ กรมพระพิพิธโภคภูเบนทร์

(พระองค์เจ้าพนมวัน พระเจ้าลูกยาเธอ ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยกับเจ้าจอมศิลา ต้นสกุล พนมวัน) เป็นผู้บัญชากองทัพในส่วนการรักษาพระนครโดยตั งกองบัญชาการอยู่ในบริเวณ “ วัดแหลม ” หรือวัดไทรทอง ซึงเป็นชือเดิมของวัดเบญจมบพิตร เมือเสร็จสินการปราบกบฏแล้ว พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระพิพิธโภคภูเบนทร์ พร้อมด้วย พระเชษฐภคินี และพระกนิษฐภาดาร่วมกับเจ้าจอมมารดาอีก 4 พระองค์ ทรงบูรณะปฏิสังขรณ์ขึ นในปี พ.ศ. 2370 แล้วทรงสร้างพระเจดีย์ราย 5 องค์ ด้านหน้าวัดเป็น อนุสรณ์ (วัชรพงศ์ สุราราษฏร์,2548,54-55)

ในสมัยรัชกาลที 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานนามใหม่ว่า “ วัดเบญจม บพิตรดุสิตวนาราม ” ความหมายว่าเป็นวัดของเจ้านาย 5 พระองค์

ในสมัยรัชกาลที 5 นับเป็นยุคแห่งการฟืนฟูวัดเบญจมบพิตร ให้เป็นพระอารามหลวงจาก ประวัติศาสตร์การบูรณะปฏิสังขรณ์ วัดแห่งนีได้แสดงให้เห็นถึงผู้อุปถัมภ์วัดล้วนเป็นบุคคลจากพระบรม วงศ์มาก่อนสมัยรัชกาลที 5 และเมือเข้าสู่สมัยรัชกาลที 5 ทรงสถาปนาวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามให้เป็น วัดทีสวยงามวิจิตรงดงาม ภายในพืนทีพระราชอาณาเขตของพระราชวังดุสิตซึงการศึกษาการสถาปนาวัด เบญจมบพิตรดุสิตวนารามในยุคนี มีเหตุผลทางด้านประวัติศาสตร์ทีสัมพันธ์กับประวัติศาสตร์การปกครอง ในสมัยรัชกาลที 5 ดังนี

1. การสร้างความเป็นสมัยใหม่ด้วยมิติวัฒนธรรม (CULTURAL MODERNITY)

จากการศึกษาของกนกวรรณ ชัยทัต (2548) เรืองการสร้างความเป็นสมัยใหม่ ด้วยมิติวัฒนธรรม มุมมอง เรืองพืนทีศึกษาจากพระราชวังดุสิต-วัดเบญจมบพิตร-ถนนราชดําเนินในสมัยรัชกาลที 5 นับเป็นการ เปลียนแปลงจากมิติวัฒนธรรมแบบเก่าในด้านความเชือ เรืองการสร้างพระราชวังทีประทับและการ สร้างวัดทีปรากฏในประวัติศาสตร์ไทยนับตั งแต่สมัยสมเด็จพระมหาธรรมราชาลิไทแห่ง ราชอาณาจักรสุโขทัย ซึงในอดีตจะให้ความสําคัญโดยสอดคล้องกับความเชือถือแบบจักรวาลวิทยา ภาพจําลองของภูเขาพระสุเมรุอันเป็นโบราณราชประเพณีในการสร้างพระราชวังทีแวดล้อมด้วยสิงศักดิ สิทธิ

ปกปักษ์รักษาคุ้มครอง เมือรัชกาลที 5 ทรงสร้างพระราชวังดุสิตเป็นพระราชวังแห่งใหม่ เพือการพักผ่อน พระองค์ทรงเปลียนความคิดจากยุคจารีตเป็นสมัยใหม่โดยใช้พืนทีถนนราชดําเนินเป็นเส้นทางเสด็จพระราช ดําเนินเข้าสู่ทีประทับแห่งใหม่และทรงเป็นต้นแบบในการนําความเปลียนแปลงทางความคิดทีส่งผลให้ชน ชั นนําสยามในยุคนั นได้แยกความเป็นส่วนตัวและความสาธารณะสิงใหม่ (Novelty) กับดั งเดิม (Tradition)

2. การเปิดพืนทีทางวัฒนธรรมเพือการปรับประเทศเข้าสู่ยุคใหม่

ความสอดคล้องกับการเปลียนวิธีคิดในเรืองการเปิดพืนทีจากความคิดแบบเดิมมาสู่ความคิดแบบ สมัยใหม่ ซึงในยุคนั นนักประวัติศาสตร์และการอธิบายเชิงวิชาการจัดให้ยุค ดังกล่าว เป็นยุคแห่งอิทธิพล ของโลกตะวันตกทีส่งผลกระทบมาเชือมโยงกับการเปลียนแปลงในช่วงเวลาของการปฏิรูปอาณาจักรสยาม ในยุคการปรับประเทศเข้าสู่ยุคใหม่ (Modernization) ด้วยเหตุนี แนวพระราชดําริ การสถาปนาวัดเบญจม บพิตรดุสิตวนาราม ให้เป็นวัดอยู่ใกล้เขตพระราชฐาน และเป็นวัดต้นแบบในการนําความศิวิไลซ์โลก ตะวันตก ซึงปลูกสร้างให้เป็นวัดหินอ่อนทีดีทีสุดประเทศอิตาลี มาเป็นองค์ประกอบทางกายภาพและตกแต่ง โดยใช้สถาปัตยกรรมไทยโบราณพร้อมการเปลียนการใช้วัสดุของโลกตะวันตกแทนวัสดุไม้ซึงเป็น ศิลปกรรมไทย

จุดเด่นของวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามทีปรากฏในประวัติศาสตร์ไทย สมัยรัชกาลที 5 ปัจจุบัน ได้รับการยกย่องในด้านการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมไทยสมัยรัชกาลที 5 ความสมบูรณ์แบบของศิลปกรรม ไทยในทุก ๆ ด้าน หากพิจารณาจากประวัติศาสตร์การก่อตั งพร้อมการบูรณะปฏิสังขรณ์กับผลทีปรากฏใน ช่วงเวลาตั งแต่สมัยรัชกาลที 5 จนถึงยุคก่อนการเปลียนแปลง พ.ศ. 2475 ซึงสามารถให้การศึกษาการสืบ สานอัตลักษณ์ของวัดแห่งนีได้ดังนี

1. การเป็นวัดต้นแบบในการรักษาราชประเพณีของพระมหากษัตริย์ไทยกับการสร้างวัดในฐานะที

พระมหากษัตริย์ทรงเป็นองค์เอกอัครศาสนูปถัมภก เมือทรงใช้วัดทีสร้างพระราชอุทยานก็ทรงทํา “ ผาติ

กรรม ” สร้างวัดขึ นทดแทนตามประเพณี โดยสร้างเพียงวัดเดียว และให้เป็นวัดทีอยู่ใกล้เขตพระราชฐาน พร้อมการบรรจงพิเศษในความวิจิตรงดงามด้านศิลปกรรมไทย

2. เป็นพืนทีแห่งใหม่ทีลักษณะคล้ายพิพิธภัณฑ์ซึงแต่เดิมวัดต่างๆ ในราชอาณาจักรจะเป็นที

ประดิษฐาน เฉพาะโบราณวัตถุของของแต่ละวัด หากแต่วัดเบญจมบพิตรฯ ได้จัดเป็นแหล่งอบรม พระพุทธรูปโบราณสมัยต่างๆ ทีสร้างขึ นในและต่างประเทศ เพือเป็นการให้ประชาชนได้เห็นบริเวณราย รอบพระระเบียงวัดซุ้มมุขหลังพระอุโบสถ และซุ้มมุขด้านนอกระเบียง การแสดงลักษณะดังกล่าวเป็นการ นําแนวคิดแบบตะวันตกมาใช้ในการจัดการโบราณสถานและโบราณวัตถุทีมีค่าให้มาอยู่ในพืนทีเดียวกัน

3. เป็นวัดทีมีสมบูรณ์แบบในด้านการเป็นสถานศึกษาเล่าเรียนพระปริยัติธรรม และวิชาชั นสูงซึง ทรงเรียกว่า “ คอเลซ” (College) เพือเปิดโอกาสให้คณะสงฆ์มหานิกายได้เป็นสถานศึกษาเล่าเรียนพระพุทธ

4. เป็นวัดทีองค์รัชกาลที 5 ทรงพระราชทานนามใหม่ว่า “ วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ” อันแสดง ถึงวัดขององค์รัชกาลที 5 และเมือพระองค์สวรรคต และการถวายพระเพลิงพระบรมศพแล้วให้นําพระ สรีรางคารบรรจุภายใต้รัตนบัลลังก์พระพุทธชินราช

5. เป็นวัดทีพระมหากษัตริย์องค์รัชกาลที 5 และรัชกาลที 6 ทรงให้ความอุปถัมภ์ในบวร พระพุทธศาสนาและการเป็นสัญลักษณ์แห่งหนึงของการสักการะองค์รัชกาลที 5 ซึงพระบรมวงศานุวงศ์

ทรงสนับสนุนและอุปถัมภ์มาอย่างต่อเนืองในด้านการก่อสร้างสังฆเสนาสน์สําหรับพระสงฆ์ สามเณรอยู่

อาศัยได้ 33 รูป เท่ากับปีทีรัชกาลที 5 ทรงครองสิริราชสมบัติในปี พ.ศ. 2441 หลังจากนั น พระบรมวงศานุ

วงศ์ได้ทําการก่อสร้างวัดแห่งนีให้มีความงดงามนับตั งแต่ วันที 1 มีนาคม 2442 เป็นต้นมา หากพิจารณา ตั งแต่เริมการก่อสร้างจะปรากฏรายพระนามในตาราง

ตารางที 4.1 แสดงรายพระนามและนามของพระบรมวงศานุวงศ์ในการก่อสร้างวัดเบญจมบพิตร สมัย รัชกาลที 5-6

รายพระนาม / นาม สิงก่อสร้างในวัดเบญจมบพิตร ผลทีปรากฏในปัจจุบัน 1. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้า

กร ม พ ระ ย า น ริศ ร า นุ วัด ติ ว ง ศ์

(พระองค์เจ้าจิตรเจริญ ต้นราชสกุล จิตรพงศ์)

พระอุโบสถ พระระเบียง

และเป็นสถาปนิกเขียนแบบแปลน

รูปแบบศิลปกรรมไทยที

ก่อสร้างโดยใช้หินอ่อน