• Tidak ada hasil yang ditemukan

การเปลี่ยนแปลงในชีวิตของสังคมเมืองกับการ สร้างรูปแบบศรัทธาการมีส่วนร่วมในการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาและการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย:กรณีศึกษาวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "การเปลี่ยนแปลงในชีวิตของสังคมเมืองกับการ สร้างรูปแบบศรัทธาการมีส่วนร่วมในการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาและการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย:กรณีศึกษาวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม"

Copied!
120
0
0

Teks penuh

(1)

เรือง

การเปลียนแปลงในชีวิตของสังคมเมืองกับการ สร้างรูปแบบศรัทธาการมีส่วนร่วมในการทํานุ

บํารุงพระพุทธศาสนาและการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย :กรณีศึกษาวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม

โดย

รองศาสตราจารย์เสาวภา ไพทยวัฒน์

นางสาวนลินรัตน์ ติมสันเทียะ นางสาวสิริขวัญ ร่วมพัฒนา

นางสาวศิรินภา แสงตันชัย

สาขาวิชาการจัดการทางวัฒนธรรม ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

ได้รับทุนอุดหนุนวิจัยจากสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ฝ่ายอุตสาหกรรม โครงการ ABC-PUS/MAG ประจําปี 2551 และรับทุนจาก

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ปีงบประมาณ 2553

(2)

การมีส่วนร่วมในการทํานุบํารุงพระพุทธศาสนาและการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย :กรณีศึกษาวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม

ชือผู้วิจัย รองศาสตราจารย์เสาวภา ไพทยวัฒน์

นางสาวนลินรัตน์ ติมสันเทียะ , นางสาวสิริขวัญ ร่วมพัฒนา, นางสาวศิรินภา แสงตันชัย

ปีทีทําการวิจัย 2553

บทคัดย่อ

โครงงานเรือง การเปลียนแปลงในชีวิตของสังคมเมืองกับการสร้างรูปแบบการศรัทธาการทําบุญอย่างมีส่วนร่วม ในการทะนุบํารุงพระพุทธศาสนาและอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย : กรณีศึกษาวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม กรุงเทพมหานคร การศึกษาในเรืองนีเป็นการสังเคราะห์การเปลียนแปลงการทําบุญภายในวัดโดยการนําจุดเด่นซึงเป็นทุนทางสังคมของวัดมา ให้บริการแก่ผู้ทีมาทําบุญ อาทิเช่น การทําบุญตักบาตรหน้าวัด การทําบุญเวียนเทียน โดยแบ่งเป็น 3 รอบคือ รอบกลางวัน รอบเย็น และรอบคํา การจัดโรงเรียนพระพุทธศาสนา การอบรมพระธรรม การฝึกอบรมสมาธิ การจัดการท่องเทียวเชิง อนุรักษ์ให้กับนักท่องเทียวชาวต่างชาติ การพัฒนาวัดให้เป็นแหล่งการเรียนรู้ของเขตดุสิต การบวชพระภิกษุและสามเณร ให้กับบุคคลทัวไปและกลุ่มชาวเขา การจัดการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย การจัดกิจกรรมเทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนาและ พระมหากษัตริย์ การเปิดโอกาสให้มีการบริหารงานทีทันสมัยโดยให้สมาคมและมูลนิธิวัดเบญจมบพิตรเป็นผู้ดูแลด้าน การเงิน การจัดบรรยากาศภายในวัดให้เกิดความสงบ สะดวก สมถะและสมานฉันท์ ซึงบรรยากาศทีกล่าวมานี ได้นํา ครอบครัวของคนในสังคมเมืองเข้ามาทําบุญได้อย่างมีความสุข

ผลการศึกษาวิจัยพบว่า วัดได้เปลียนแปลงการทําบุญโดยเปิดโอกาสให้ฝ่ายฆราวาสเข้ามามีบทบาทในการบริหาร ร่วมกับฝ่ายพระสงฆ์และดําเนินงานในรูปแบบของแผนงานและโครงการ โดยมูลนิธิเบญจมบพิตร ซึงเป็นมูลนิธิทีพัฒนามา ตั งแต่สมัยรัชกาลที 5 เป็นผู้พิจารณาอนุมัติการใช้เงิน โดยไม่มุ่งสร้างวัตถุมงคลหรือมอมเมาให้ผู้คนเสียงโชคกับสิง ศักดิ สิทธิ ภายในวัด โดยวัดได้ดําเนินการมาอย่างต่อเนืองจนกลายเป็นนโยบายการบริหารวัด ดังนั น บรรยากาศโดยทัวไป ของวัดจึงเป็นวัดทีชนชั นกลางของสังคมและกลุ่มคนทีเป็นข้าราชการเก่าซึงบรรพบุรุษเคยรับใช้พระสงฆ์ในวัดเข้ามามีส่วน ร่วมการจัดกิจกรรมของวัด ภาพลักษณ์ของวัดเบญจมบพิตรสําหรับคนทัวไปมองว่าเป็นวัดสําหรับชนชั นสูงหรือวัดจารีต นิยม แต่ในความเป็นจริง วัดได้เปิดพืนทีให้คนทุกฐานะเข้ามาทําบุญและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมทีสอดคล้องกับความ เปลียนแปลงของสังคมเมืองมาโดยตลอด

(3)

Participation in Buddhism and Thai Culture Preservation:

Marble Temple Case Study

Researcher Associate Professor Saowapa Phaithayawat

Nalinrat Timsantae, Sirikwan Ruampattana Sirinapa Saengtunchai

Year 2010

Abstract

The research on “Changes of Social Urban Life and a Model of the Faithful Participation in Buddhism and Thai Culture Preservation: The Marble Temple Case Study” aims to synthesize changes of the way people making merit at the temple by seizing the strength of the Temple’s Foundation as a social capital to serve the Buddhists to the following activities: making merit in front of the temple in the morning, Wian Tien festival (light waving rite) in the morning, in the afternoon and in the evening, Buddhism School, Dhamma Training, Meditation Training, Sustainable Tourism for foreign tourists, a resource center of Dusit opening, monk and novice ordaining for public and hill tribe people, Thai culture conservation, activities to confirm the respect to the nation, the religion and the royal king, providing opportunities to the Association and the Foundation of the temple to manage the income, organizing a good quality environment focus on facilities, peacefulness, conveniences, simple and reconciliation, all mentioned issues draw the urban people and their family closer to the temple with the happiness to make merit.

The research result found that the temple has changed the way of making merit by allowing the lay man to participate the temple administration with the monks in the form of plans and projects. These plans and projects are implemented under the financial approval from the Bejamabopit Foundation, which was continuously developed since the reign of King Rama V. The Foundation has a policy that the temple will neither concern with sacred objects producing nor persuade people to take a chance with them. Thus, in general, the temple seems to be a temple for middle class people and the old noble whose ancestors used to serve the monks there. The temple allows those people to participate the activities. However, the feature of the temple is that it serves only for the high class people or it is a traditional temple. But in practical, it has welcome any people to participate the merit activities which in accordance to the urban changes.

(4)

งานวิจัยเล่มนี สําเร็จลุล่วงได้ด้วยการได้รับทุนอุดหนุนจาก สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ฝ่ายอุตสาหกรรม โครงการ ABC-PUS/MAG ประจําปี 2551 ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณ พระพุทธวรญาณ เจ้าอาวาสวัดเบญจมบพิตร พระโสภณสมาธิคุณ พระมหาอภิชาติ พระมหาวิวัฒน์ พระภิกษุ สามเณร เจ้าหน้าทีวัดเบญจมบพิตรทุกท่าน มูลนิธิวัดเบญจมบพิตร สมาคมวัดเบญจมบพิตร โรงเรียนวัดเบญจม บพิตร โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร กองทัพภาคที 1 และสํานักงานเขตดุสิตทีได้กรุณาให้ข้อมูลและให้

ความร่วมมืออย่างดี ส่งผลให้การดําเนินงานตรงจุดนีประสบความสําเร็จอย่างดียิง

ขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิทีให้การวิพากษ์บทความวิจัยร่วมกับ ดร.สุดาภรณ์ อรุณดีและอาจารย์

วัชรพงศ์ สุราราษฎร์ ทีได้ใช้งานวิจัยของท่านมาเป็นส่วนหนึงในการศึกษาครั งนี

ขอขอบคุณอาจารย์อัญชลี อติแพทย์กับการจัดทําบทคัดย่อภาษาอังกฤษ ขอขอบคุณสถาบันวิจัย และพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ทีให้ความอนุเคราะห์ตลอดจนคําแนะนําทีสร้างความเป็น กัลยาณมิตร ซึงส่งผลให้การศึกษาเรืองนีเป็นไปด้วยความเรียบร้อย

รองศาสตราจารย์เสาวภา ไพทยวัฒน์

กันยายน 2553

(5)

สารบัญ

หน้า

บทคัดย่อภาษาไทย ก

บทคัดย่อภาษาอังกฤษ ข

กิตติกรรมประกาศ ค

สารบัญ ง

สารบัญ (ต่อ) จ

สารบัญตาราง ฉ

บทที

1 บทนํา 1

ความเป็นมาและความสําคัญของประเด็นทีศึกษา 1

วัตถุประสงค์ 6

ขอบเขตการศึกษาวิจัย 6

วิธีการดําเนินการวิจัย 6

ข้อจํากัดของการวิจัย 8

คํานิยามศัพท์ 9

2 เอกสารและงานวิจัยทีเกียวข้อง 11

เอกสารทีเกียวข้อง 11

แนวคิดในเรืองประเพณีและวัฒนธรรม 15

แนวคิดในพฤติกรรมการสือสารเชิงสังคมและวัฒนธรรม 16

แนวความคิดเกียวกับการขัดเกลาทางสังคม (Socialization) 18

งานวิจัยทีเกียวข้อง 20

กรอบแนวคิดการวิจัย 28

(6)

3 ข้อมูลทัวไปเกียวกับวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม 30

ประวัติวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม 30

พระทีนังทรงผนวช 33

จิตรกรรมฝาผนัง 34

พระพุทธรูปทีพระระเบียงพระอุโบสถ 40

หินอ่อน 45

ลักษณะโดยทัวไปของหินอ่อน 46

4 ผลการศึกษา 48

5 ข้อสรุปเชิงทฤษฏีและข้อเสนอแนะ 92

อภิปรายผลการศึกษากับความสอดคล้องในทฤษฏี 93

ข้อเสนอแนะ 96

ข้อเสนอแนะเพือการวิจัยคราวต่อไป 97

บรรณานุกรม ภาคผนวก

ประเด็นสนทนากลุ่ม ประวัติผู้วิจัย

(7)

หน้า ตารางที 4.1 แสดงรายพระนามและนามของพระบรมวงศานุวงศ์ในการก่อสร้างวัดเบญจมบพิตร

สมัยรัชกาลที 5-6 51

ตารางที 4.2 จําแนกความงดงามด้านศิลปกรรมไทยของวัดเบญจมบพิตรกับการอนุรักษ์มรดก

วัฒนธรรมไทย 52

ตารางที 4.3 การทําบุญในสมัยก่อนการเปลียนแปลงการปกครองกับดําเนินการทําบุญของ

วัดเบญจมบพิตรในยุคปัจจุบัน 70

(8)

หน้า

ภาพที 2.1 แสดงองค์ประกอบของวัฒนธรรมไทย 16

ภาพที 2.2 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับพฤติกรรมการสือสาร

เชิงสังคมและวัฒนธรรม 18

ภาพที 2.3 แสดงกรอบแนวคิดในการวิจัย 29

ภาพ พระอุโบสถวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม 60

ภาพ การทําบุญในวันสําคัญทางศาสนา 62

ภาพ การทําบุญตักบาตรตอนเช้าของพุทธศาสนิกชน 63

ภาพ การถวายสังฆทานในวันสําคัญทางศาสนา 63

ภาพ การบวชเนกขัมมะในวันสําคัญทางศาสนา 64

ภาพ การอุปสมบทหมู่ในวันสําคัญของชาติ 65

ภาพ การบวชสามเณรภาคฤดูร้อน 66

ภาพ การอุปสมบทหมู่ของกองทัพบก 66

ภาพ กิจกรรมสนทนากลุ่มของคณะผู้วิจัยและตัวแทนของวัดเบญจมบพิตร 75

(9)

กนกวรรณ ชัยทัต . การสร้างความเป็นสมัยใหม่ ด้วยมิติวัฒนธรรม : มุมมองเรืองพืนทีศึกษาจากพระราชวัง ดุสิต - วัดเบญจมบพิตร - ถนนราชดําเนินในสมัยรัชกาลที 5.วิทยานิพนธ์ปริญญาสังคมวิทยาและ

มานุษยวิทยามหาบัณฑิต.กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2548.

จุลจักรพงษ์, พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า.เกิดวังปารุสถ์. กรุงเทพฯ : คลังวิทยา , 2516.หน้า 191-193.

เชาว์ฤทธิ เรืองปราชญ์ . ความเชือและประเพณีในการทําบุญของชาวมุสลิมในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา.

วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาอิสลามศึกษา . มหาวิทยาลัยสงขลานรินทร์

,2549.

นฤนาถ พุทไธสง.ความคิดเห็นของประชาชนในท้องถินต่อการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สภาพแวดล้อม โบราณสถาน : ศึกษาเฉพาะกรณีโบราณสถานในบริเวณเกาะเมือง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.

วิทยานิพนธ์ปริญญาสังคมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสิงแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล,2541.

ปัทมา มีคลองธรรม.การอนุรักษ์สิงแวดล้อมในพระบรมมหาราชวังในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ในวโรกาสเฉลิมพระเกียรติทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี.

วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาสิงแวดล้อมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล,2539.

พระมหาสุทธิ คงสมบูรณ์ . ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านสังคมและวัฒนธรรมกับพฤติกรรมการทําบุญ ของชาวพุทธในเขตเทศบาลตําบลหนองแค จังหวัดสระบุรี .วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการทัวไป.มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี, 2549.

(10)

พระนคร : อักษร, 2000.หน้า 226-234.

เรืองแสง ทองสุขแสงเจริญ.การรับรู้ปัญญาละการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์แหล่งโบราณสถานของ ประชาชนในเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยา.วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา สิงแวดล้อมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล,2542.

วรรณศรี ปัญญาประชุม. พัฒนาการของประเพณีทําบุญผ้าป่า อําเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด.วิทยานิพนธ์

ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาไทยคดีศึกษา(เน้นมนุษยศสาตร์).มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ,2542.

วัชรพงศ์ สุราราษฎร์.การพัฒนาชุดการเรียนรู้เรือง การอนุรักษ์โบราณสถานวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม สําหรับนักเรียนชันประถมศึกษาปีที 5.วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและวิธีสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร,2546.

วันทา แก่นวงษ์คํา.ประเพณีการทําบุญเบ็นของชาวบ้านพราน ตําบาลพราน อําเภอขุนหาญ จังหวัดศรี

สะเกษ:วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปะศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาไทยคดีศึกษา.มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ,2539.

วาสนา นามวงศ์.พฤติกรรมการทําบุญทีวัดป่าของพุทธศาสนิกชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.วิทยานิพนธ์

ปริญญาศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา บัณฑิตวิยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ,2548.

โสภณ จงสมจิต.การศึกษาสิงแวดล้อมเพือการอนุรักษ์ประวัติศาสตร์สถานทีเกาะเมืองรัตนโกสินทร์

ชันใน.วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์ บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร,2530.

(11)

เอกประวัติ เสมดี.ความคิดเห็นของประชาชนทีมีต่อการจัดการสภาพแวดล้อมบริเวณโบราณสถาน : ศึกษา กรณีพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม.วิทยานิพนธ์ปริญญาสังคมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา สิงแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล,2541.

อากาศดําเกิง รพีพัฒน์ ,ม.จ.ละครแห่งชีวิต.แพร่พิทยา: กรุงเทพฯ:2517.หน้า 13-14.

Geetze, Clifford. “Religion as a Cultural System.” In Anthopological Approaches to the study of Religion. Michael

Banton, Ed. London: Tavistock Publications, Second Impression.1968.

Turner,Victor W.The Forest of Symbols:Aspects of Ndembu Ritual, Unit State of America: Cornell University.

(12)

ภาคผนวก

(13)

การบริหารของวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม กับการมีส่วนร่วมและประชาชนในการทําบุญ

วันที 18 เมษายน 2553

เวลา 15. 30 น. ณ ศาลาเพาะนิสัยชอบ ประเด็นที 1 การมองตนเองของวัดในปัจจุบัน

ประเด็นที 2 วัดจะดํารงอยู่ในปัจจุบันและอนาคตอย่างไร

ประเด็นที 3 วัดเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการทําบุญเพือความศรัทธาและการทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรม

(14)

ภาพที 1 พระอุโบสถ

ภาพที 2 การตักบาตรในยามเช้าของพุทธศาสนิกชน

(15)

ภาพที 3 กิจกรรมวันเทศน์มหาชาติ

ภาพที 4 กิจกรรมวันเทศน์มหาชาติภายในพระอุโบสถ

(16)

ภาพที 5 การอุปสมบทหมู่วันพ่อแห่งชาติ

ภาพที 6 การอุปสมบทหมู่วันพ่อแห่งชาติ

(17)

ภาพที 7 การอุปสมบทหมู่ทหาร 12 ธันวาคม 2552

ภาพที 8 การอุปสมบทสามเณรภาคฤดูร้อน

(18)

ภาพที 9 การสนทนากลุ่มของพระสงฆ์ หน่วยงานทีเกียวข้องและผู้วิจัย

ภาพที 10 วันอาสาฬหบูชา

(19)

ชือ – สกุล รองศาสตราจารย์เสาวภา ไพทยวัฒน์

ทีอยู่ 57/69 หมู่บ้าน 2521 ถนนทุ่งมังกร แขวงฉิมพลี เขตตลิงชัน กรุงเทพมหานคร 10700 สถานทีทํางาน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ถ.อู่ทองนอก เขต

ดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 ประวัติการศึกษา

ปริญญาตรี สาขาวิชาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางแสน 2518 ปริญญาโท สาขาวิชาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร 2521 ประวัติการทํางาน

รองศาสตราจารย์ สาขาวิชาประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมชุมชน คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 2551

คณบดีคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 2552 งานวิจัย

1. เสาวภา ไพทยวัฒน์ พฤติกรรมของประชาชนทีมีต่อการนับถือศาลเจ้าจีนและพิธีถือศีล กินเจ/กินผักในพืนทีจังหวัดพังงา ภูเก็ต ตรัง กระบีและระนอง ทุนอุดหนุนวิจัย สํานักงาน สภาสถาบันราชภัฏ 2542

2. เสาวภา ไพทยวัฒน์ การศึกษาม้าทรงของศาลเจ้าจีนฮกเกียนในจังหวัดพังงาและภูเก็ต ทุนอุดหนุนทุนวิจัย สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ สาขาวิชาปรัชญา 2546

3. เสาวภา ไพทยวัฒน์ การเปิดพืนทีและวาทกรรมใหม่ในการทําบุญของชาวไทยพุทธใน สังคมเมือง : กรณีศึกษาวัดปทุมวนารามวรวิหารและวัดชนะสงครามราชวรวิหาร

(20)

ในพืนทีเกาะรัตนโกสินทร์ : กรณีศึกษาท่าเตียน ท่าช้าง – วังท่าพระ ท่าพระอินทร์ – ถนน พระจันทร์และท่าพระอาทิตย์ ทุนอุดหนุนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 2548 5. เสาวภา ไพทยวัฒน์ วิวัฒนาการและรูปแบบของสังคมเมือง : กรณีศึกษาย่านเทเวศร์

ทุนอุดหนุนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 2550

(21)

ชือ – สกุล นางสาวสิริขวัญ ร่วมพัฒนา

ทีอยู่ 9/93 อาคาร E นิรันดร 7 แขวง ดอกไม้ เขต ประเวศ กรุงเทพมหานคร 10400 สถานศึกษา สาขาวิชาการจัดการทางวัฒนธรรม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ราชภัฏสวนสุนันทา ถ.อู่ทองนอก เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 ประวัติการศึกษา

พ.ศ. 2544 มัธยมศึกษา โรงเรียนสิรินธรจังหวัดสุรินทร์

พ.ศ. 2550 ปริญญาตรีศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาการจัดการทางวัฒนธรรม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ประวัติการทํางาน

นักศึกษาช่วยงานด้านเอกสาร และประสานงาน ทีสาขาวิชา การจัดการทางวัฒนธรรม เป็นเวลา 1 ปี 2551

อาสาสมัครนําชมแหล่งท่องเทียวทางวัฒนธรรม ในโครงการม้าก้านกล้วยจํานวน 2 ครั ง 2552

วิทยากรนําชมหมู่บ้านญวนสามเสน ในโครงการอบรมการพัฒนาการสอนประวัติศาสตร์

โดยใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์

โรงเรียนโยธินบูรณะ ร่วมกับ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 2553

(22)

ทีอยู่ บ้านเลขที 46/19 หมู่ที 7 ซอยวัจนะ ถนนรัตนกวี แขวงจอมทอง เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร 10150

สถานศึกษา สาขาวิชาการจัดการทางวัฒนธรรม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนสุนันทา ถ.อู่ทองนอก เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300

ประวัติการศึกษา

พ.ศ. 2544 มัธยมศึกษาโรงเรียนบางมดวิทยา “สีสุกหวาดจวนอุปถัมภ์”

พ.ศ. 2550 ปริญญาตรีศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาการจัดการทางวัฒนธรรม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ประสบการณ์การทํางาน

พ.ศ. 2551 อาสาสมัครพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้ “มิวเซียมสยาม” กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2552 ผู้ช่วยนักวิจัย โครงการวิถีชีวิตชุมชนเขตดุสิต กรุงเทพมหานครใต้ร่มพระ โพธิสมภาร (ซอยโซดา)

พ.ศ. 2553 คณะนักวิจัย เรืองการเปลียนแปลงในชีวิตของสังคมเมืองกับการ สร้างรูปแบบ ศรัทธาการมีส่วนร่วมในการทํานุบํารุงพระพุทธศาสนาและการอนุรักษ์วัฒนธรรม ไทย : กรณีศึกษาวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม

เป็นวิทยากรโครงการเดินเท้าเล่าเรือง “บ้านญวนสู่วัดราชา” ซึงเป็นโครงการที

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ทําร่วมกับคณะอาจารย์โรงเรียนโยธินบูรณะ

(23)

ทีอยู่ บ้านเลขที 73 หมู่ที 3 ตําบลนาโพธิ อําเภอนาโพธิ จังหวัดบุรีรัมย์ 31230

สถานศึกษา สาขาวิชาการจัดการทางวัฒนธรรม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนสุนันทา ถ.อู่ทองนอก เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300

ประวัติการศึกษา

พ.ศ. 2544 มัธยมศึกษาโรงเรียนนาโพธิ พิทยาคม

พ.ศ. 2550 ปริญญาตรีศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาการจัดการทางวัฒนธรรม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ประสบการณ์การทํางาน

พ.ศ. 2551 อาสาสมัครพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้ “มิวเซียมสยาม” กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2552 ผู้ช่วยนักวิจัย โครงการวิถีชีวิตชุมชนเขตดุสิต กรุงเทพมหานครใต้ร่มพระ โพธิสมภาร (ชุมชนสินทรัพย์)

พ.ศ. 2553 คณะนักวิจัย เรืองการเปลียนแปลงในชีวิตของสังคมเมืองกับการ สร้างรูปแบบ ศรัทธาการมีส่วนร่วมในการทํานุบํารุงพระพุทธศาสนาและการอนุรักษ์วัฒนธรรม ไทย : กรณีศึกษาวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม

เป็นวิทยากรโครงการเดินเท้าเล่าเรือง “บ้านญวนสู่วัดราชา” ซึงเป็นโครงการที

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ทําร่วมกับคณะอาจารย์โรงเรียนโยธินบูรณะ

(24)

บทที 1 บทนํา

ความเป็นมาและความสําคัญของประเด็นทีศึกษา

การทําบุญเป็นพิธีกรรมหนึงทีคนไทยถือปฏิบัติสืบต่อกันมาคําว่า “บุญ” แปลว่า ความสุข ความดี

ความสะอาด ความผ่องแผ้วแห่งจิต (ปองชัย ไปยสุทธิเมธีกุล 2531,49-51) ผู้ทําบุญทุกคนเมือทําบุญแล้วจะ มีเป้าหมายในการรับผลบุญ ซึงในการทําบุญเพือให้ได้บุญหากจําแนกตามจิตมีอยู่ 3 วิธี คือ 1) ทานมัย วิธีการทําบุญด้วยการบริจาคทาน 2) ศีลมัย วิธีการทําบุญด้วยการรักษาศีล 3) ภาวนามัย วิธีการทําบุญด้วย การภาวนา การทําบุญทั ง 3 วิธี ดังทีกล่าวนีจะมีความสอดคล้องกับการทําบุญในศาสนพิธีซึงวัดจะเป็นฝ่าย ประกอบศาสนพิธี ได้แก่ การบําเพ็ญกุศล พิธีทําบุญ พิธีถวายทานและพิธีเบ็ดเตล็ด การทํากิจใดๆ เพือให้ได้

บุญอันเป็นความสุขกายสบายใจตามความหมายของบุญ จึงจําเป็นในการสร้างศรัทธาร่วมกันระหว่าง พุทธศาสนิกชนกับวัด

วัดเป็นศาสนสถานให้พุทธศาสนิกชนได้เข้ามาปฏิบัติกิจกรรมเพือสืบทอดพระพุทธศาสนา อัน ประกอบด้วยพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ดังนั นวัดจึงมีหน้าทีสําคัญในการประกอบกิจกรรมการทําบุญ ให้กับชาวพุทธเพือดํารงพระพุทธศาสนาให้เจริญไปสู่ความยั งยืนสืบชัวกาลนาน ซึงการสร้างศรัทธาให้เกิด จากจิตใจของชาวพุทธจึงมีความจําเป็นในการสร้างรูปแบบหรือแรงจูงใจให้พุทธศาสนิกชนเข้ามาทําบุญ อย่างมีส่วนร่วมในการทะนุพระพุทธศาสนาและอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย ทั งนีเพือดํารงความมันคงให้บัง เกิดขึนในบ้านเมืองหรือกล่าวโดยทัวไปว่า “ร่มเย็นเป็นสุข”

การทําบุญมีความเชือมโยงกับความเชือและจะนําไปสู่การสร้างศรัทธา เมือมีความศรัทธาก็จะ นําไปสู่การแสดงออกในพฤติกรรมโดยใช้พิธีกรรมเป็นแนวทางในการสือความหมายระหว่างผู้ปฏิบัติกับ ความคาดหวังหรือผลทีปรากฏ ซึงคําว่า “บุญ” จะเป็นนามธรรมทีติดอยู่ในความรู้สึกของชาวพุทธทีไม่

สามารถกําหนดการวัดระดับได้ อย่างไรก็ตามบุญจึงเป็นพลังแห่งความสุข ความดีงามทีสัมพันธ์กับวิถีชีวิต ของพุทธศาสนิกชน ในวิถีชีวิตทัวไปการทําบุญสามารถทําได้โดยไม่ต้องประกอบพิธีทีวัด แต่การทําบุญใน วัดจะมีลักษณะพิเศษทีชาวพุทธถือปฏิบัติในอานิสงส์ทีจะปรากฏในผลบุญ วัดจึงเป็นศาสนสถานของชาว พุทธในด้านการทําบุญและการทําความดีงาม ด้วยเหตุนีพุทธศาสนิกชนกับวัดจะมีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน สําหรับ วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามจัดเป็นวัดเก่าแก่ทีมีลักษณะเด่นซึงสมควรแก่การศึกษาร่วมกับประเด็น

(25)

การศึกษาการสร้างรูปแบบศรัทธาการทําบุญแบบมีส่วนร่วมในห้วงเวลาทีคนในกรุงเทพฯ มีการ เปลียนแปลงด้านการใช้ชีวิตในสังคมเมืองทีผู้คนส่วนใหญ่เผชิญชีวิตในการมุ่งทํางาน การเลียงชีพโดยมีเงิน เป็นปัจจัยหลักทีมีความจําเป็นในการดํารงชีวิตและได้อุทิศเวลาให้เพือการทํางานภายใต้อิทธิพลของระบบ ทุนนิยมทีมีความสําคัญในการใช้ชีวิต ดังนั นการทําบุญและการสร้างศรัทธาซึงเป็นวิธีการหนึงในการสร้าง ความสุขและความดีงามให้กับผู้คน สําหรับกลุ่มชาวพุทธได้นําพลังแห่งความดีงามทีมีต่อการจรรโลงพระ รัตนตรัยมาเป็นหลักในการดําเนินชีวิตและการทําบุญของพุทธศาสนิกชนในวัดเบญจมบพิตรฯ จัดเป็นการ ทําบุญทีมีรูปแบบแตกต่างจากวัดเก่าแก่อืนๆ ในพืนทีกรุงเทพฯ ทั งนีวัดได้ใช้ทุนทางสังคมของวัดเป็น นโยบายในการบริหารและพัฒนาการทําบุญเพือสร้างพลังแห่งความศรัทธาให้สัมพันธ์กับประวัติศาสตร์ชาติ

บ้านเมืองและรักษาความเป็นวัดทีมีความงดงามเพือการจรรโลงพระรัตนตรัย กล่าวโดยสรุปดังนี

1. การเชือมโยงรากฐานการบริหารวัดซึงปรากฏชัดเจนมาตั งแต่สมัยรัชกาลที 5 ให้ปรากฏเป็น วัฒนธรรมองค์กรของวัดอันประกอบด้วย

1.1 วัดเบญจมบพิตรจัดเป็นวัดทีอยู่ในเขตพระราชฐานของพระราชวังดุสิตเมือสมัยรัชกาล ที 5 วัดแห่งนีจึงมีความสัมพันธ์เป็นพิเศษกับองค์รัชกาลที 5 และพระบรมวงศานุวงศทีให้ความอุปถัมภ์กับ วัดในยุคทีผ่านมาและด้วยจิตสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณทีพระมหากษัตริย์องค์รัชกาลที 5 และรัชกาลที 6 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ อุปถัมภ์วัดและส่งผลให้ข้าราชบริพารในยุคนั นทีมีความศรัทธาต่อวัดและ พระภิกษุของวัดได้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการวัดและกิจกรรมการทําบุญของวัดจึงสัมพันธ์กับงานของ ทางราชการรวมถึงกลุ่มคนทีเข้ามาร่วมในการดําเนินงานอย่างต่อเนืองจะเป็นกลุ่มข้าราชการ

1.2 วัดมีความงดงามในด้านสถาปัตยกรรมโดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระ ยานริศรานุวัดติวงศ์ เป็นผู้ออกแบบก่อสร้างพระอุโบสถพร้อมพระระเบียงอย่างวิจิตรงดงามด้วยแบบอย่าง ศิลปะและสถาปัตยกรรมไทยโบราณ จากความงดงามในทุกพืนทีของวัดจึงได้ส่งผลให้ภูมิทัศน์ของวัดมี

ความสะอาด ร่มรืนสําหรับการทําบุญของคนในสังคมเมืองนับตั งแต่สมัยรัชกาลที 5 สืบสานต่อกันมา ซึง ภาพลักษณ์ของวัดจึงมีความสง่างามหรือมีความขลังในตนเองตามลักษณะจารีตนิยมทีมีความสมบูรณ์แบบ ปรากฏมาจนถึงปัจจุบัน

1.3 วัดมีองค์พระพุทธชินราชเป็นพระประธานของพระอุโบสถซึงมีความสง่างามในการ ประทับมาตั งแต่สมัยรัชกาลที 5 และการออกแบบพระอุโบสถมีความสะดวกให้ผู้คนสามารถเข้าไปกราบ สักการะได้ทั งด้านในและด้านนอกพระอุโบสถมาตั งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบันพร้อมการดํารงความเป็นสิริ

(26)

มงคลในการกราบไหว้องค์พระพุทธรูป ซึงการเข้าไปสักการบูชาเป็นไปด้วยความเรียบง่าย สวยงามและไม่

นําวัตถุสิงของแก้บนมาวางหน้าองค์พระพุทธรูป การถือปฏิบัติดังกล่าวจึงก่อให้เกิดความสะอาดในพืนที

ของพระอุโบสถพร้อมความเป็นระเบียบเรียบร้อยและไม่พลุกพล่านด้วยผู้คนทีมุ่งหวังในเรืองโชคลาภ ผู้มา เคารพสักการะพระพุทธชินราชได้กราบไหว้องค์รัชกาลที 5 ด้วย มีการนําพระสรีรังคาร (เถ้าถ่าน) ของ พระองค์มาบรรจุไว้ใต้ฐานพระแท่นรัตนบัลลังก์

2. การสนองเจตนารมณ์ในการเป็นวัดทีองค์รัชกาลที 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เป็นทีเล่า เรียนพระปริยัติธรรมและวิชาชั นสูงของคณะสงฆ์มหานิกาย

การสืบสานความโดดเด่นในด้านการศึกษาพระธรรมวินัยและแหล่งการเรียนรู้ในพระพุทธศาสนา และวัดเป็นแหล่งการศึกษาพระพุทธศาสนาจากสมัยรัชกาลที 5 มาจนถึงปัจจุบัน

2.1 การศึกษาเล่าเรียนพระพุทธศาสนาในโรงเรียนพระพุทธศาสนาโดยจัดให้เป็นสถานที

ซึงพระสงฆ์ได้เข้ามาศึกษาเล่าเรียนพระธรรมและสอบผ่านการสอบเปรียญตามลําดับตั งแต่เปรียญ 1 ถึง เปรียญ 9 การศึกษาพระธรรมเริมแรกตั งแต่กลุ่มข้าราชบริพารในยุคการปกครองในระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชย์และต่อเนืองมาสู่การเปลียนแปลงการปกครองในระบอบประชาธิปไตยซึงเปิดโอกาส ให้พระสงฆ์จากทัวทุกภูมิภาคได้เข้ามาพํานักในวัดและทําการศึกษาพระธรรมจากโรงเรียนพระพุทธศาสนา ของวัด โดยทีพระสงฆ์ทุกรูปจะได้รับการรับรองจากพระภิกษุทีเป็นพระประจําวัดเป็นผู้นํามาพํานักและ พระสงฆ์ทุกรูปจะต้องเคารพในระเบียบวินัยทีวัดกําหนดไว้อย่างเคร่งครัด

2.2 การขยายผลให้วัดเป็นแหล่งฝึกอบรมพระธรรมโดยการฝึกฝนการนังสมาธิ การอบรม จิตใจให้เกิดความสงบกับกลุ่มพระภิกษุสามเณรและฆราวาส การฝึกอบรมจิตใจจึงเป็นหน้าทีของวัดในการ จัดกิจกรรมเชือมโยงกับประเพณีการบวช ในอดีตวัดแห่งนีได้ปลูกสร้างกุฏิสําหรับพระภิกษุไว้อย่างมี

ระเบียบพร้อมแบ่งพืนทีไว้รอบนอกจากพืนทีซึงเป็นอาคารสถานของพระอุโบสถ พระทีนัง วิหาร หอระฆัง 2.3 วัดเปิดสอนพระพุทธศาสนาในโรงเรียนพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์เพืออบรมกุลบุตร กุลธิดาให้เป็นคนดีงามตามแนวทางแห่งพระพุทธศาสนา การดําเนินกิจกรรมนีเป็นการสนองตอบในด้าน การบริการแก่ประชาชนนอกเหนือจากวัดให้ใช้พืนทีของวัดจัดตั งโรงเรียน 2 แห่ง คือโรงเรียนวัดเบญจม บพิตร ซึงเป็นโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานครกับโรงเรียนมัธยมชาย สังกัดสํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั นพืนฐาน การจัดการศึกษาร่วมกันโดยพระร่วมเป็นผู้บรรยายในวิชา พระพุทธศาสนา นับเป็นการเชือมโยงการใช้หลัก “บวร” บ้าน วัดและโรงเรียนให้สืบสานสู่สังคมเมือง จาก

(27)

ความรู้ความสามารถในเชิงประจักษ์ของพระสงฆ์ในวัดได้ส่งผลให้พระสงฆ์เป็นพระนักเทศน์ นักธรรมที

ได้รับเชิญให้เป็นพระผู้สอนรายวิชาพระพุทธศาสนาในโรงเรียนพืนทีดุสิตรายรอบวัด

2.4 การพัฒนาจัดให้เป็นแหล่งการเรียนพระธรรมจึงเป็นนโยบายทีพระภิกษุได้ใช้

ความสามารถถ่ายทอดความรู้ผ่านการเขียนลงในหนังสือพระธรรมและเอกสารเบญจมบพิตรสัมพันธ์ซึงเป็น วารสารทีดําเนินการอย่างต่อเนืองมาตั งแต่สมัยรัชกาลที 5 มาจนถึงปัจจุบัน พร้อมการเปิดโอกาสให้

ประชาชนทัวไปเข้ามาร่วมในการจัดฝึกอบรมการนังสมาธิ การบวชเนกขัมมะในวันสําคัญใน พระพุทธศาสนา ปัจจุบันได้สร้างเครือข่ายกลุ่มผู้ปฏิบัติธรรมและให้ความร่วมมือการดําเนินงานทีเป็น ประโยชน์แก่วัด นอกจากนีวัดได้จัดการบวชพระ ทั งกลุ่มชาวไทยโดยไม่เลือกฐานะและความแตกต่างทาง วัฒนธรรมในทีนีได้จัดงานบวชให้กับพระภิกษุชาวเขา

3. วัดเป็นแหล่งการเรียนรู้และการท่องเทียวเชิงอนุรักษ์

จากประวัติของการก่อสร้างวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม เป็นวัดทีมีการบูรณะมาตั งแต่สมัยรัชกาล ที 3 โดยมีความสัมพันธ์กับเหตุการณ์การปราบกบฏเจ้าอนุวงศ์ เมือสมัยรัชกาลที 4 เจ้านายในยุคนั นได้ทํา การฟืนฟูบูรณะวัดอย่างต่อเนืองจนถึงสมัยรัชกาลที 5 ได้บูรณะค่อนข้างสมบูรณ์พร้อมพระราชทานนาม ใหม่ว่า วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม โดยพระองค์ทรงมีพระราชประสงค์ให้วัดแห่งนีเป็นศูนย์รวมเกียวกับ พระองค์ทั งในด้านสถาปัตยกรรมทีแสดงออกความเป็นอารยะของสยามประเทศ การปั นพระพุทธรูปชินราช การรวมพระพุทธรูปโบราณสมัยต่างๆ การใช้เป็นทีเล่าเรียนพระปริยัติธรรมและวิชาชั นสูงของคณะสงฆ์

มหานิกายและมีการจัดสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์แห่งพระองค์ ในภาพรวมทั งหมดวัดเบญจมบพิตรเป็น ศูนย์รวมการศึกษาความรู้ในพระพุทธศาสนามาตั งแต่สมัยรัชกาลที 5 ร่วมกับความสวยงามด้าน สถาปัตยกรรมไทยทีมีองค์ประกอบความงดงามอืนๆ อาทิ พระอุโบสถ พระระเบียง หอระฆัง ศาลา พร้อม การจัดบรรยากาศภายนอกพระอุโบสถให้มีความร่มรืน ซึงเหมาะสมกับการจัดการท่องเทียวเชิงอนุรักษ์ซึง ชาวไทยและชาวต่างชาติเข้ามาชมตลอดทั งวัน

4. วัดเป็นแหล่งการถ่ายทอดและสืบสานการอนุรักษ์มรดกวัฒนธรรมไทย

วัดเบญจมบพิตรเป็นวัดทีมีความสมบูรณ์ในความเป็นไทยทั งด้านการสืบสานพระพุทธศาสนา โดย วัดจะนําเรืองของประเพณีพิธีกรรมต่างๆ มาปฏิบัติในวัดเพือให้พุทธศาสนิกชนเข้ามาทําบุญได้โดยสะดวก วัฒนธรรมอันดีงามของชาวไทยพุทธในการทําบุญตักบาตรยามเช้า การถวายภัตตาหาร การจัดกิจกรรมวัน

(28)

ประเพณีอืนๆ เช่น การร้อยดอกไม้สดเพือทําโคมแขวนรอบพระระเบียง (วิหารคด) การจัดงานประเพณี

ตานก๋วยสลากของชาวเหนือ การจัดบริการการสืบสานพระพุทธศาสนาโดยการใช้เป็นพืนทีทัศนศึกษาของ พระจากวัดในส่วนภูมิภาคเพือเข้ามาเยียมชม

ในการบริหารการจัดการยุคความเติบโตด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ วัดได้จัดทําเว็บไซต์และทําการ ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมได้อย่างทัวถึงโดยเฉพาะภาพวัดทีก่อสร้างด้วยหินอ่อนหรือ The Marble Temple และจัดเป็นวัดทีมีการวางแปลนแผนผังทีดีทีสุดและเป็นมรดกทางวัฒนธรรมด้านการ ท่องเทียวเชิงอนุรักษ์ของเขตดุสิต

จากจุดเด่นของวัดเบญจมบพิตรซึงจัดเป็นวัดต้นแบบในการอนุรักษ์มรดกวัฒนธรรมไทยและการ สืบสานพระพุทธศาสนามาตั งแต่สมัยรัชกาลที 5 จนถึงพ.ศ. 2553 วัดแห่งนียังคงเป็นศูนย์กลางในการทําบุญ ของชาวพุทธยาวนานร่วม 150 ปี พร้อมคงความสวยงามร่วมกับการแสดงความเป็นศูนย์รวมในการเผยแพร่

พระพุทธศาสนาอย่างยั งยืน ซึงในท่ามกลางความเปลียนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วได้ส่งผล กระทบต่อวิถีชีวิตของผู้คนกับวิธีปฏิบัติตนในการทําบุญ ขณะเดียวกันวัดซึงมีหน้าทีในการสืบสาน พระพุทธศาสนาและรักษามรดกทางวัฒนธรรมของชาติจะต้องทําการสร้างพลังศรัทธาเพือจูงใจให้คนใน สังคมเมืองโดยเฉพาะเมืองหลวงเช่นกรุงเทพฯ ทีประกอบด้วยความหลากหลายของผู้คน ความเปลียนแปลง ในด้านกายภาพและสภาพแวดล้อมได้ส่งผลต่อการเข้ามาทําบุญในวัด ถ้าหากวัดขาดจุดเด่นในการสร้าง ชือเสียงให้เป็นทีรู้จัก วัดจะพบกับสภาพความเงียบทีผู้คนเข้ามาทําบุญค่อนข้างน้อย ด้วยเหตุนีวัดในทุกพืนที

ของประเทศไทยจะต้องสร้างพลังศรัทธาให้มีผู้คนเข้ามาร่วมทําบุญอย่างสมําเสมอ ดังนั น วัดกับการเปิด พืนทีและการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการทําบุญจึงจัดเป็นสิงสําคัญกับการดํารงความ เป็นวัดและการจรรโลงพระพุทธศาสนา

การศึกษาการเปลียนแปลงชีวิตในสังคมเมืองกับการสร้างรูปแบบความศรัทธาการทําบุญอย่างมี

ส่วนร่วมในการทํานุบํารุงพระพุทธศาสนาและอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย: กรณีศึกษาวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนา ราม กรุงเทพมหานคร เป็นการศึกษาทีมีความสําคัญในประเด็นทีวัดเก่าแก่ของกรุงเทพฯ ได้เปลียนแปลงการ ทําบุญของวัดเพือให้คนในสังคมเมืองหลวงได้เข้ามาทําบุญ และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วัดซึงเป็น โบราณสถานและมีโบราณวัตถุทีมีความสวยงาม ทรงคุณค่าให้ดํารงอยู่อย่างมีชือเสียงในประเทศ และเป็น ทีรู้จักของชาวต่างชาติได้อย่างแพร่หลาย การศึกษาในเรืองนี จะเป็นประโยชน์ในด้านการอนุรักษ์มรดก วัฒนธรรมไทยร่วมกับการมองเห็นวิธีการบริหาร และการจัดการวัดในการเปิดพืนทีทําบุญ และการเปิด

Referensi

Dokumen terkait

p.2 สามเหลี่ยมของการประเมินมีความสัมพันธ์กับโมเดลแผนที่เชิงโครงสร้าง Construct Modeling ซึ่งโมเดลแผนที่เชิงโครงสร้าง Construct Modeling ดังกล่าว เป็นหลักการออกแบบ