• Tidak ada hasil yang ditemukan

วิธีการด าเนินงานวิจัย

5. อื่น ๆ โปรดระบุ________________

ข้อที่ 6 รายได้ แบบสอบถามเป็นลักษณะค าถามแบบปลายปิด มีค าตอบหลาย ข้อให้เลือก (Multichotomous Questions) โดยใช้ระดับการวัดข้อมูลประเภทเรียงล าดับ (Ordinal Scale) โดยมีการแบ่งช่วงรายได้ของกลุ่มตัวอย่างห่างช่วงละ 10,000 บาท ได้แก่

1. น้อยกว่าหรือเท่ากับ 10,000 บาท 2. 10,001 - 20,000 บาท

3. 20,001 - 30,000 บาท 4. 30,001- 40,000 บาท 5. 40,001 บาท ขึ้นไป

ส่วนที่ 2 แบบสอบถามข้อมูลปัจจัยด้านการสื่อสารทางการตลาดแบบบูรณาการ ได้แก่ การโฆษณา การส่งเสริมการขาย การประชาสัมพันธ์ และการขายโดยใช้พนักงานขายที่มีผล ต่อความจงรักภักดีของผู้ใช้บริการร้านขายยาเดี่ยว โดยลักษณะของค าถามเป็นค าถามที่ให้

เลือกตอบเพียงตัวเลือกเดียว ซึ่งค าถามจะวัดระดับความคิดเห็นของผู้ตอบ เป็นลักษณะการวัด ข้อมูลประเภทอันตรภาคชั้น ( Interval Scale ) ใช้การให้คะแนนแบบมาตราส่วนประมาณค่าตอบ ( Likert Scale Method ) โดยแบ่งออกเป็น 5 ระดับ ซึ่งมีเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้

เห็นด้วยอย่างยิ่ง เกณฑ์การให้คะแนน 5 คะแนน ค่อนข้างเห็นด้วย เกณฑ์การให้คะแนน 4 คะแนน ไม่แน่ใจ เกณฑ์การให้คะแนน 3 คะแนน ค่อนข้างไม่เห็นด้วย เกณฑ์การให้คะแนน 2 คะแนน ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง เกณฑ์การให้คะแนน 1 คะแนน

เมื่อรวบรวมข้อมูลและแจกแจงความถี่ น าคะแนนเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างมาพิจารณา ระดับความถี่ โดยก าหนดเกณฑ์การประเมินแปลความหมายของค่าเฉลี่ยความคิดเห็น ด้วยการ ค านวณช่วงความกว้างของชั้น ดังนี้ (วิเชียร เกตุสิงห์, 2543)

ค่าเฉลี่ย = คะแนนสูงสุด - คะแนนต ่าสุด ช่วงคะแนน

= 5 – 1 5 = 0.08 ดังนั้นเกณฑ์การประเมินแปลความหมาย ได้ดังนี้

คะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 4.21 - 5.00 หมายถึง ผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับความคิดเห็น เกี่ยวกับปัจจัยด้านการสื่อสารทางการตลาดแบบบูรณาการอยู่ในระดับมากที่สุด

คะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 3.41 - 4.20 หมายถึง ผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับความคิดเห็น เกี่ยวกับปัจจัยด้านการสื่อสารทางการตลาดแบบบูรณาการอยู่ในระดับมาก

คะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 2.61 - 3.40 หมายถึง ผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับความคิดเห็น เกี่ยวกับปัจจัยด้านการสื่อสารทางการตลาดแบบบูรณาการอยู่ในระดับปานกลาง

คะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 1.81 - 2.60 หมายถึง ผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับความคิดเห็น เกี่ยวกับปัจจัยด้านการสื่อสารทางการตลาดแบบบูรณาการอยู่ในระดับน้อย

คะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 1.00 - 1.80 หมายถึง ผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับความคิดเห็น เกี่ยวกับปัจจัยด้านการสื่อสารทางการตลาดแบบบูรณาการอยู่ในระดับน้อยที่สุด

ส่วนที่ 3 แบบสอบถามข้อมูลปัจจัยด้านหลักวิธีปฏิบัติเภสัชกรรมชุมชนได้แก่ หมวด

สถานที่ หมวดอุปกรณ์ หมวดเภสัชกรรมชุมชนที่มีผลต่อความจงรักภักดีของผู้ใช้บริการ ร้านขายยาเดี่ยว โดยลักษณะของค าถามเป็นค าถามที่ให้เลือกตอบเพียงตัวเลือกเดียว ซึ่งค าถาม

จะวัดระดับความคิดเห็นของผู้ตอบ เป็นลักษณะการวัดข้อมูลประเภทอันตรภาคชั้น ( Interval Scale ) ใช้การให้คะแนนแบบมาตราส่วนประมาณค่าตอบ ( Likert Scale Method )

โดยแบ่งออกเป็น 5 ระดับ ซึ่งมีเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้

เห็นด้วยอย่างยิ่ง เกณฑ์การให้คะแนน 5 คะแนน ค่อนข้างเห็นด้วย เกณฑ์การให้คะแนน 4 คะแนน ไม่แน่ใจ เกณฑ์การให้คะแนน 3 คะแนน ค่อนข้างไม่เห็นด้วย เกณฑ์การให้คะแนน 2 คะแนน ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง เกณฑ์การให้คะแนน 1 คะแนน

เมื่อรวบรวมข้อมูลและแจกแจงความถี่ น าคะแนนเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างมาพิจารณา ระดับความถี่ โดยก าหนดเกณฑ์การประเมินแปลความหมายของค่าเฉลี่ยความคิดเห็น ด้วยการ ค านวณช่วงความกว้างของชั้น ดังนี้ (วิเชียร เกตุสิงห์, 2543)

ค่าเฉลี่ย = คะแนนสูงสุด - คะแนนต ่าสุด ช่วงคะแนน

= 5 – 1 5 = 0.08 ดังนั้นเกณฑ์การประเมินแปลความหมาย ได้ดังนี้

คะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 4.21 - 5.00 หมายถึง ผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับความคิดเห็น เกี่ยวกับปัจจัยด้านหลักวิธีปฏิบัติเภสัชกรรมชุมชนอยู่ในระดับมากที่สุด

คะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 3.41 - 4.20 หมายถึง ผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับความคิดเห็น เกี่ยวกับปัจจัยด้านหลักวิธีปฏิบัติเภสัชกรรมชุมชนอยู่ในระดับมาก

คะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 2.61 - 3.40 หมายถึง ผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับความคิดเห็น เกี่ยวกับปัจจัยด้านหลักวิธีปฏิบัติเภสัชกรรมชุมชนอยู่ในระดับปานกลาง

คะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 1.81 - 2.60 หมายถึง ผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับความคิดเห็น เกี่ยวกับปัจจัยด้านหลักวิธีปฏิบัติเภสัชกรรมชุมชนอยู่ในระดับน้อย

คะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 1.00 - 1.80 หมายถึง ผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับความคิดเห็น เกี่ยวกับปัจจัยด้านหลักวิธีปฏิบัติเภสัชกรรมชุมชนอยู่ในระดับน้อยที่สุด

ส่วนที่ 4 แบบสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับความจงรักภักดีของผู้ใช้บริการร้านขายยา เดี่ยว โดยลักษณะของค าถามเป็นค าถามที่ให้เลือกตอบเพียงตัวเลือกเดียว ซึ่งค าถามจะวัดระดับ ความคิดเห็นของผู้ตอบ เป็นลักษณะการวัดข้อมูลประเภทอันตรภาคชั้น ( Interval Scale ) ใช้การ ให้คะแนนแบบมาตราส่วนประมาณค่าตอบ ( Likert Scale Method ) โดยแบ่งออกเป็น 5 ระดับ ซึ่งมีเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้

เห็นด้วยอย่างยิ่ง เกณฑ์การให้คะแนน 5 คะแนน ค่อนข้างเห็นด้วย เกณฑ์การให้คะแนน 4 คะแนน ไม่แน่ใจ เกณฑ์การให้คะแนน 3 คะแนน ค่อนข้างไม่เห็นด้วย เกณฑ์การให้คะแนน 2 คะแนน ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง เกณฑ์การให้คะแนน 1 คะแนน

เมื่อรวบรวมข้อมูลและแจกแจงความถี่ น าคะแนนเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างมาพิจารณา ระดับความถี่ โดยก าหนดเกณฑ์การประเมินแปลความหมายของค่าเฉลี่ยความคิดเห็น ด้วยการ ค านวณช่วงความกว้างของชั้น ดังนี้ (วิเชียร เกตุสิงห์, 2543)

ค่าเฉลี่ย = คะแนนสูงสุด - คะแนนต ่าสุด ช่วงคะแนน

= 5 – 1 5 = 0.08 ดังนั้นเกณฑ์การประเมินแปลความหมาย ได้ดังนี้

คะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 4.21 - 5.00 หมายถึง ผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับความคิดเห็น เกี่ยวกับความจงรักภักดีอยู่ในระดับมากที่สุด

คะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 3.41 - 4.20 หมายถึง ผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับความคิดเห็น เกี่ยวกับความจงรักภักดีอยู่ในระดับมาก

คะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 2.61 - 3.40 หมายถึง ผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับความคิดเห็น เกี่ยวกับความจงรักภักดีอยู่ในระดับปานกลาง

คะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 1.81 - 2.60 หมายถึง ผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับความคิดเห็น เกี่ยวกับความจงรักภักดีอยู่ในระดับน้อย

คะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 1.00 - 1.80 หมายถึง ผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับความคิดเห็น เกี่ยวกับความจงรักภักดีอยู่ในระดับน้อยที่สุด

3.การเก็บรวบรวมข้อมูล

ผู้วิจัยได้มีการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อน ามาวิเคราะห์ จากแหล่งข้อมูล 2 แหล่ง ดังนี้

1. แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ (Primary data) เป็นข้อมูลที่ผู้วิจัยได้จากการใช้แบบสอบถาม เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 400 ชุด โดยผู้วิจัยได้ท าการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจาก 5 เขต ของกรุงเทพมหานคร โดยท าการแจกแบบสอบถามให้กับกลุ่มตัวอย่างที่ก าหนดไว้ โดยตอบ แบบสอบถามผ่าน Google doc ซึ่งผู้วิจัยได้มีการกระจายแบบสอบถามผ่านทางเครือข่ายสังคม ออนไลน์ได้แก่ ไลน์ เฟสบุ๊ค และ e-mail จนครบตามจ านวน 400 ชุด

2. ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary data) เป็นการค้นคว้ารวบรวมข้อมูลจากบทความ หนังสือทางวิชาการ วารสารที่สามารถอ้างอิงได้ เพื่อประกอบการค้นคว้าประกอบการวิจัย ดังนี้

2.1 หนังสือ เอกสารทางวิชาการ วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ รายงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดย ศึกษาค้นคว้าจากห้องสมุดมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

2.2 บทความ และข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต 4.การจัดกระท าและการวิเคราะห์ข้อมูล

การจัดกระท าข้อมูล

1.ตรวจสอบข้อมูล (Editing) ความสมบูรณ์ของการตอบแบบสอบถาม คัดแยก แบบสอบถามที่ไม่สมบูรณ์ออก

2.น าแบบสอบถามที่สมบูรณ์เก็บข้อมูลด้วยการลงรหัส (Coding) ตามที่ก าหนดไว้

3.น าข้อมูลมาบันทึกลงคอมพิวเตอร์ เพื่อประมวลผลของข้อมูลด้วยโปรแกรมสถิติ

ส าเร็จรูป SPSS (Statistic Package for Social Science) เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนาและเชิง อนุมาน

การวิเคราะห์ข้อมูล

1.การวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistic)

1.1. การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทางประชากรศาสตร์ของกลุ่มตัวอย่าง โดย ใช้ค่าความถี่ (Frequency) และค่าร้อยละ (Percentage)

1.2 การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยด้านการสื่อสารทาง การตลาดแบบบูรณาการ ปัจจัยด้านหลักวิธีปฏิบัติเภสัชกรรมชุมชนที่มีผลต่อความจงรักภักดีของ ผู้ใช้บริการ และความจงรักภักดีของผู้ใช้บริการร้านขายยาเดี่ยว โดยน าเสนอในรูปแบบค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

2.การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงอนุมาน (Inferential Statistics)

ในการทดสอบทดสอบสมมติฐาน โดยใช้สถิติ T-test เพื่อทดสอบความแตกต่างระหว่าง ค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม และใช้สถิติ One-Way ANOVA เพื่อทดสอบความแตกต่าง ระหว่างค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างที่มากกว่า 2 กลุ่ม เพื่อทดสอบสมมติฐานด้านประชากรศาสตร์

ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพ การศึกษา อาชีพ และรายได้

การวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณ (Multiple Linear Regression) เพื่อใช้ทดสอบ สมมติฐานข้อที่ 2 โดยศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่เป็นอิสระต่อกันซึ่งก็คือการสื่อสารทาง

การตลาดแบบบูรณาการที่มีผลต่อความจงรักภักดีของผู้ใช้บริการร้านขายยาเดี่ยว ใน เขตกรุงเทพมหานคร และสมมติฐานข้อที่ 3 ศึกษาหลักวิธีปฏิบัติเภสัชกรรมชุมชนที่มีผลต่อความ

จงรักภักดีของผู้ใช้บริการร้านขายยาเดี่ยวในเขตกรุงเทพมหานครที่ระดับนัยส าคัญทางสถิติ 95%

5.สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

1.การวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistic)

1.1 ค่าร้อยละ (Percentage) ค านวณได้จากสูตร (กัลยา วานิชย์บัญชา, 2550) P = 𝑓𝑛 x100

เมื่อ P แทน ค่าสถิติร้อยละ F แทน ความถี่ของข้อมูล n แทน ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง 1.2 ค่าเฉลี่ย (Mean) ใช้สูตร (กัลยา วานิชย์บัญชา, 2550) 𝑥

=

∑𝑥𝑛

เมื่อ 𝑥 แทน ค่าคะแนนเฉลี่ย

∑𝑥 แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด n แทน จ านวนของกลุ่มตัวอย่าง

1.3 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ใช้สูตร (กัลยา วานิชย์บัญชา, 2550)

S.D. = √𝑛 ∑ 2𝑛(𝑛−1)𝑥 +(∑ 𝑥)2