• Tidak ada hasil yang ditemukan

3.2.1 การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ 3.3 การเก็บรวบรวมขอมูล

3.4 การวิเคราะหขอมูล 3.5 สถิติที่ใชในการวิจัย 3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง 3.1.1 ประชากร

ประชากรที่ใชในการวิจัยในครั้งนี้ คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร

ชั้นปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2551 ที่ลงทะเบียนเรียนวิชาแคลคูลัส 1 ประกอบดวย 2 หลักสูตร คือ

1.1 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร 3 ป

1.2 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร 4 ป

ที่กําลังศึกษาอยูในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ในเขตกรุงเทพมหานคร จํานวน 8 แหง ดังตอไปนี้

1. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ 2. มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย

3. มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต 4. มหาวิทยาลัยเซนตจอหน 5. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร 6. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย

7. มหาวิทยาลัยสยาม

8. มหาวิทยาลัยศรีปทุม

3.1.2 กลุมตัวอยาง

กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ เปนจํานวนนักศึกษาที่เรียนในระดับปริญญาตรี หลักสูตร วิศวกรรมศาสตร ชั้นปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2551 สถาบันอุดมศึกษาเอกชน ในเขต กรุงเทพมหานคร จํานวน 8 แหง ที่ลงทะเบียนเรียนวิชาแคลคูลัส 1 ประกอบดวย 2 หลักสูตร คือ

1. หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร หลักสูตร 4 ป

2. หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร หลักสูตร 3 ป

ใชวิธีสุมแบบแบงชั้น (Stratified random sampling) การกําหนดขนาดของกลุมตัวอยางในรูปตาราง ของ Yamane ที่ระดับความคลาดเคลื่อน ± 5% (e=0.05)

สูตรของ Yamane จํานวนตัวอยาง 2

Ne 1

+N

= n

ไดจํานวนกลุมตัวอยางทั้งหมด 360 คน ผูวิจัยใชการวิธีการสุมแบบชั้นภูมิ (Stratified sampling) ไดจํานวนกลุมตัวอยาง ดังแสดงในตารางที่ 1

ตารางที่ 1 แสดงจํานวนประชากรและและจํานวนตัวอยางที่ใชในการศึกษา

จํานวนประชากร จํานวนตัวอยาง สถานศึกษา หลักสูตร

4 ป

หลักสูตร 3 ป

ยอด รวม

หลักสูตร 4 ป

หลักสูตร 3 ป

ยอด รวม 1. มหาวิทยาลัยกรุงเทพฯ

2. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย

3. มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย

4. มหาวิทยาลัยสยาม 5. มหาวิทยาลัยเซนตจอหน 6. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี

มหานคร

7. มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต 8. มหาวิทยาลัยศรีปทุม

422 153 181 354 61 314 196 270

- 288 253 220 130 282 190 387

422 381 434 574 191 596 386 657

41 16 17 35 6 31 19 27

- 22 25 22 13 28 19 39

41 38 42 57 19 59 38 66

3,641 360

ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาอุดมศึกษา. 20 กุมภาพันธ 2551. จํานวนนักศึกษาทั้งหมด จําแนกตามสถาบันอุดมศึกษาเอกชน. [ออนไลน] WWW.mua.g0.th

3.2 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย

เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลครั้งนี้ เปนแบบสอบถามมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับและแบบเลือกตอบ ซึ่งผูวิจัยไดศึกษาจากเอกสาร ตํารา ผลงานวิจัยรวมทั้งวิทยานิพนธที่

เกี่ยวของ เพื่อเปนแนวทางในการกําหนดขอบเขตเนื้อหาของแบบสอบถาม ซึ่งมีสาระครอบคลุม องคประกอบที่มีอิทธิพลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาแคลคูลัส 1 ของนักศึกษาหลักสูตร วิศวกรรมศาสตร 1 ฉบับ ประกอบดวยรายละเอียดที่สอบถามเปน 2 ตอน ดังนี้

ตอนที่ 1 เปนขอมูลทั่วไปของนักศึกษา ประกอบดวยแบบสอบถามแบบเติมคําและแบบ เลือกตอบ มีจํานวน 8 ขอ โดยสอบถามเกี่ยวกับ เพศ อายุ วุฒิการศึกษาที่จบกอนที่จะมาเรียน หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร คะแนนเฉลี่ยสะสม(เกรดเฉลี่ย) แผนกหรือสาขาที่กําลังศึกษา รายได

เฉลี่ยของบิดามารดา ผูปกครอง

ตอนที่ 2 เปนคําถามเกี่ยวกับองคประกอบที่มีอิทธิพลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา แคลคูลัส 1 ประกอบดวยทั้งหมด 7 ดาน คือ

1. ดานครอบครัว เปนคําถามวัดความสัมพันธของนักศึกษา กับบุคคลภายในครอบครัว ใน ดานตางๆ เชน ความสนิทสนมและความผูกพันระหวางบิดามารดาและญาติพี่นอง การเอาใจใสดูแล และสนับสนุนในการเรียน การใหคําแนะนําปรึกษาเวลามีปญหา การใหกําลังใจ มีจํานวน 7 ขอ 2. แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ เปนแบบสอบถามวัดแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ ในการเรียนวิชาแคลคูลัส 1 ในดานตางๆ เชน ความเอาใจใสในการเรียน ความรับผิดชอบในงานที่ไดรับมอบหมาย การใช

เวลาในการฝกฝนทําแบบฝกหัด ความกระตือรือรน มุมานะพยายามในการเรียน ความสนใจศึกษา หาความรูเพิ่มเติม มีจํานวน 9 ขอ

3. เจตคติตอวิชาแคลคูลัส 1 เปนแบบสอบถามวัด ความคิดเห็นหรือความรูสึกของนักศึกษา ที่มีตอวิชาแคลคูลัส 1 ทั้งดานบวกและดานลบ ความมุงมั่นและตั้งใจ ความสําคัญและคุณประโยชน

ของวิชาแคลคูลัส 1 มีจํานวน 8 ขอ

4. พฤติกรรมการเรียนวิชาแคลคูลัส 1 เปนแบบสอบถามวัดพฤติกรรม และลักษณะนิสัย ของนักศึกษาที่เคยปฏิบัติในการเรียนวิชาแคลคูลัส 1 เชน การเตรียมตัว การวางแผนการเรียน การ ตั้งใจเรียน การเอาใจใสในการเรียน การเขาชั้นเรียน ความรับผิดชอบในงานที่ไดรับมอบหมายจาก อาจารยผูสอน การแบงเวลาเรียน การคนควาหาความรูเพิ่มเติม การจดบันทึกเนื้อหา การขาดเรียน มี

จํานวน 10 ขอ

5. การปรับตัวของนักศึกษา เปนแบบสอบถามวัดการปรับตัวของนักศึกษาในดานตางๆ เชน การปรับตัวดานอารมณและสวนตัว ความรูสึกที่มีตอเพื่อน การเขากับเพื่อนในชั้นเรียน การ

ทํางานหรือเขารวมในกิจกรรมทางสังคม การปรับตัวเขากับสภาพแวดลอมในการเรียน การทํางาน หรือแบบฝกหัด มีจํานวน 10 ขอ

6. ความสัมพันธกับกลุมเพื่อนนักศึกษา เปนแบบสอบถามวัดลักษณะที่นักศึกษาและเพื่อน ปฏิบัติตอกันในดานตางๆ เชน กลุมเพื่อนมีอิทธิพลตอพฤติกรรมทางดานการเรียน การทํางาน การ ใหคําแนะนําปรึกษา การใหกําลังใจ การชวยเหลือซึ่งกันและกัน การใชเวลาวางใหเปนประโยชน

การเขารวมกิจกรรรมในกลุมเพื่อน มีจํานวน 10 ขอ

7. การบริการของสถานศึกษา เปนแบบสอบถามวัดลักษณะและสิ่งสภาพแวดลอมของ สถานศึกษาที่เอื้ออํานวยตอนักศึกษาในดานตางๆ เชน ความสะอาด ความสวยงาม วัสดุอุปกรณและ สื่อการเรียนการสอน ความเหมาะสมของหองเรียน หองสมุด มีจํานวน 8 ขอ

ลักษณะของแบบสอบถามเกี่ยวกับดานครอบครัว แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ พฤติกรรมการเรียน วิชาแคลคูลัส 1 การปรับตัวของนักศึกษา ความสัมพันธกับกลุมเพื่อนนักศึกษา การบริการของ สถานศึกษา จะเปนแบบสอบถามแบบประมาณคา 5 ระดับความคิดเห็น ดังนี้

5 หมายถึง ระดับความคิดเห็นมากที่สุด 4 หมายถึง ระดับความคิดเห็นมาก 3 หมายถึง ระดับความคิดเห็นปานกลาง 2 หมายถึง ระดับความคิดเห็นนอย 1 หมายถึง ระดับความคิดเห็นนอยที่สุด

ผูวิจัยไดกําหนดเกณฑในการพิจารณาคะแนนเฉลี่ย ในการแปลความหมาย ดังนี้

4.50 – 5.00 หมายถึง มีความคิดเห็นมากที่สุด 3.50 – 4.49 หมายถึง มีความคิดเห็นมาก 2.50 – 3.49 หมายถึง มีความคิดเห็นปานกลาง 1.50 – 2.49 หมายถึง มีความคิดเห็นนอย 1.00 – 1.49 หมายถึง มีความคิดเห็นนอยที่สุด

ลักษณะของแบบสอบถามเกี่ยวกับเจตคติ ตอวิชาแคลคูลัส 1 จะเปนแบบสอบถามแบบประมาณคา 5 ระดับความคิดเห็น ดังนี้

5 หมายถึง ระดับความคิดเห็นดวยอยางยิ่ง 4 หมายถึง ระดับความคิดเห็นดวย 3 หมายถึง ระดับความคิดเฉยๆ 2 หมายถึง ระดับความคิดไมเห็นดวย 1 หมายถึง ระดับความคิดไมเห็นดวยอยางยิ่ง

ผูวิจัยไดกําหนดเกณฑในการพิจารณาคะแนนเฉลี่ย ในการแปลความหมาย ดังนี้

4.50 – 5.00 หมายถึง มีความคิดเห็นดวยอยางยิ่ง 3.50 – 4.49 หมายถึง มีความคิดเห็นดวย 2.50 – 3.49 หมายถึง มีความคิดเฉยๆ 1.50 – 2.49 หมายถึง มีความคิดไมเห็นดวย 1.00 – 1.49 หมายถึง มีความคิดไมเห็นดวยอยางยิ่ง