• Tidak ada hasil yang ditemukan

แสดงผลการเปรียบเทียบของความตั้งใจเชิงพฤติกรรมของผู้เยี่ยมชมในพิพิธภัณฑ์ใน

ความตั้งใจเชิงพฤติกรรม Statistic df1 df2 p-value ความตั้งใจเชิงพฤติกรรมของผู้

เยี่ยมชมในพิพิธภัณฑ์ในจังหวัด นครปฐม โดยรวม

0.897 4 188.283 0.467

* ระดับนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

จากตารางที่ 14 พบว่าผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของความตั้งใจเชิงพฤติกรรม ของผู้เยี่ยมชมในพิพิธภัณฑ์ในจังหวัดนครปฐม โดยแบ่งตามอาชีพ โดยใช้สถิติ Brown – Forsythe พบว่า มีค่า p-value เท่ากับ 0.467 ซึ่งมากกว่านัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นั่นคือ ยอมรับ สมมติฐานหลัก (H0) และปฏิเสธสมมติฐานรอง (H1) จึงสรุปได้ว่า ผู้เยี่ยมชมที่มีอาชีพแตกต่างกัน มีผลต่อความตั้งใจเชิงพฤติกรรมของผู้เยี่ยมชมในพิพิธภัณฑ์ในจังหวัดนครปฐมที่ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

สมมติฐานที่ 1.5 ผู้เยี่ยมชมที่มีภูมิล าเนาแตกต่างกัน มีผลต่อความตั้งใจเชิงพฤติกรรม ของผู้เยี่ยมชมในพิพิธภัณฑ์ในจังหวัดนครปฐมที่แตกต่างกัน

H0: ค่าความแปรปรวนของแต่ละกลุ่มไม่แตกต่างกัน H1: ค่าความแปรปรวนของแต่ละกลุ่มแตกต่างกัน

ผลการทดสอบความแปรปรวนโดยใช้ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ปฏิเสธสมมติฐาน หลัก (H0) และยอมรับสมมติฐานรอง (H1) ก็ต่อเมื่อค่า p-value น้อยกว่าหรือเท่ากับ .05

ตาราง 15 แสดงผลการทดสอบความแปรปรวนของความตั้งใจเชิงพฤติกรรมของผู้เยี่ยมชมใน พิพิธภัณฑ์ในจังหวัดนครปฐม โดยแบ่งตามภูมิล าเนา โดยใช้ Levene’s test

ความตั้งใจเชิงพฤติกรรม Levene's Test for Equality of Variance

Levene Statistic df1 df2 p-value

ความตั้งใจเชิงพฤติกรรมของผู้

เยี่ยมชมในพิพิธภัณฑ์ในจังหวัด นครปฐม โดยรวม

2.964 3 378 0.032

* ระดับนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

จากตารางที่ 15 ผลการทดสอบค่าความแปรปรวนของของความตั้งใจเชิงพฤติกรรมของ ผู้เยี่ยมชมในพิพิธภัณฑ์ในจังหวัดนครปฐม โดยแบ่งตามอายุ โดยใช้ Levene’s test พบว่า มีค่า p- value เท่ากับ 0.025 น้อยกว่านัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นั่นคือ ปฏิเสธสมมติฐานหลัก(H0) และยอมรับสมมติฐานรอง (H1) จึงสรุปได้ว่า ค่าความแปรปรวนของแต่ละกลุ่มแตกต่างกัน ดังนั้น ผู้วิจัยจึงท าการทดสอบสมมติฐานโดยใช้สถิติ Brown – Forsythe

จากสมมติฐานข้างต้นสามารถสร้างสมมติฐานทางสถิติได้ดังต่อไปนี้

H0: ผู้เยี่ยมชมที่มีภูมิล าเนาแตกต่างกัน มีผลต่อความตั้งใจเชิงพฤติกรรมของผู้เยี่ยมชม ในพิพิธภัณฑ์ในจังหวัดนครปฐมที่ไม่แตกต่างกัน

H1:ผู้เยี่ยมชมที่มีภูมิล าเนาแตกต่างกัน มีผลต่อความตั้งใจเชิงพฤติกรรมของผู้เยี่ยมชมใน พิพิธภัณฑ์ในจังหวัดนครปฐมที่แตกต่างกัน

สถิติที่ใช้ในการทดสอบคือ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One – way ANOVA) ซึ่งเป็นการวิเคราะห์ข้อมูลที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับความแตกต่างของ ค่าเฉลี่ย กรณีประชากรมากกว่า 2 กลุ่ม ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% โดยเริ่มจากการทดสอบความ แปรปรวนจากตาราง Levene’s test ซึ่งจะปฏิเสธสมมติฐานหลัก (H0) ก็ต่อเมื่อระดับนัยส าคัญ ทางสถิติมีค่าน้อยกว่าระดับ 0.05 หากความแปรปรวนของข้อมูลไม่แตกต่างกันให้ทดสอบความ แตกต่างด้วย F-test และหากค่าความแปรปรวนของข้อมูลแตกต่างกันให้ทดสอบความแตกต่าง ด้วย Brown-Forsythe ถ้าสมมติฐานข้อใดปฏิเสธสมมติฐานหลัก (H0) และยอมรับสมมติฐานรอง (H1) ที่มีค่าเฉลี่ยอย่างน้อย 1 คู่ที่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติจะต้องน าไปทดสอบด้วย กาการวิเคราะห์ (Post hoc test) โดยวิธีการเปรียบเทียบพหุคูณ (Multiple comparison) แต่ถ้ายัง ยอมรับสมมุติฐานหลักก็จะยุติการทดสอบสมมุติฐานแล้วสรุปผลการทดสอบ โดยใช้วิธีทดสอบ

วิธีการเปรียบเทียบพหุคูณแบบ LSD (Fisher’s Least – Significant Different) หรือ Dunnett’s T3 เพื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ใดบ้างที่แตกต่างกันที่อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (Significant) ผล การทดสอบสมมติฐานดังนี้

ตาราง 16 แสดงผลการเปรียบเทียบของความตั้งใจเชิงพฤติกรรมของผู้เยี่ยมชมในพิพิธภัณฑ์ใน จังหวัดนครปฐม โดยแบ่งตามภูมิล าเนา โดยใช้สถิติ Brown – Forsythe

ความตั้งใจเชิงพฤติกรรม Statistic df1 df2 p-value ความตั้งใจเชิงพฤติกรรมของผู้

เยี่ยมชมในพิพิธภัณฑ์ในจังหวัด นครปฐม โดยรวม

1.099 3 55.152 0.357

* ระดับนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

จากตารางที่ 16 พบว่าผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของความตั้งใจเชิงพฤติกรรม ของผู้เยี่ยมชมในพิพิธภัณฑ์ในจังหวัดนครปฐม โดยแบ่งตามภูมิล าเนา โดยใช้สถิติ Brown – Forsythe พบว่า มีค่า p-value เท่ากับ 0.357 ซึ่งมากกว่านัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นั่นคือ ยอมรับสมมติฐานหลัก (H0) และปฏิเสธสมมติฐานรอง (H1) จึงสรุปได้ว่า ผู้เยี่ยมชมที่มีภูมิล าเนา แตกต่างกัน มีผลต่อความตั้งใจเชิงพฤติกรรมของผู้เยี่ยมชมในพิพิธภัณฑ์ในจังหวัดนครปฐมที่ไม่

แตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

สมมติฐานที่ 1.6 ผู้เยี่ยมชมที่มีวัตถุประสงค์แตกต่างกัน มีผลต่อความตั้งใจเชิงพฤติกรรม ของผู้เยี่ยมชมในพิพิธภัณฑ์ในจังหวัดนครปฐมที่แตกต่างกัน

H0: ค่าความแปรปรวนของแต่ละกลุ่มไม่แตกต่างกัน H1: ค่าความแปรปรวนของแต่ละกลุ่มแตกต่างกัน

ผลการทดสอบความแปรปรวนโดยใช้ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ปฏิเสธสมมติฐาน หลัก (H0) และยอมรับสมมติฐานรอง (H1) ก็ต่อเมื่อค่า p-value น้อยกว่าหรือเท่ากับ 0.05

ตาราง 17 แสดงผลการทดสอบความแปรปรวนของความตั้งใจเชิงพฤติกรรมของผู้เยี่ยมชมใน พิพิธภัณฑ์ในจังหวัดนครปฐม โดยแบ่งตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ Levene’s test

ความตั้งใจเชิงพฤติกรรม Levene's Test for Equality of Variance

Levene Statistic df1 df2 p-value

ความตั้งใจเชิงพฤติกรรมของผู้

เยี่ยมชมในพิพิธภัณฑ์ในจังหวัด นครปฐม โดยรวม

0.931 5 376 0.461

* ระดับนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

จากตารางที่ 17 ผลการทดสอบค่าความแปรปรวนของของความตั้งใจเชิงพฤติกรรมของ ผู้เยี่ยมชมในพิพิธภัณฑ์ในจังหวัดนครปฐม โดยแบ่งตามตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ Levene’s test พบว่า มีค่า p-value เท่ากับ 0.461 ซึ่งมากกว่านัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นั่นคือ ยอมรับ สมมติฐานหลัก(H0) และปฏิเสธสมมติฐานรอง (H1) จึงสรุปได้ว่าค่าความแปรปรวนของแต่ละกลุ่ม ไม่แตกต่างกันดังนั้นผู้วิจัยจึงทดสอบสมมติฐานโดยใช้สถิติ F-test

จากสมมติฐานข้างต้นสามารถสร้างสมมติฐานทางสถิติได้ดังต่อไปนี้

H0: ผู้เยี่ยมชมที่มีวัตถุประสงค์แตกต่างกัน มีผลต่อความตั้งใจเชิงพฤติกรรมของ ผู้รับบริการในพิพิธภัณฑ์ในจังหวัดนครปฐมที่ไม่แตกต่างกัน

H1:ผู้เยี่ยมชมที่มีวัตถุประสงค์แตกต่างกัน มีผลต่อความตั้งใจเชิงพฤติกรรมของ ผู้รับบริการในพิพิธภัณฑ์ในจังหวัดนครปฐมที่แตกต่างกัน

สถิติที่ใช้ในการทดสอบคือ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One – way ANOVA) ซึ่งเป็นการวิเคราะห์ข้อมูลที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับความแตกต่างของ ค่าเฉลี่ย กรณีประชากรมากกว่า 2 กลุ่ม ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% โดยเริ่มจากการทดสอบความ แปรปรวนจากตาราง Levene’s test ซึ่งจะปฏิเสธสมมติฐานหลัก (H0) ก็ต่อเมื่อระดับนัยส าคัญ ทางสถิติมีค่าน้อยกว่าระดับ .05 หากความแปรปรวนของข้อมูลไม่แตกต่างกันให้ทดสอบความ แตกต่างด้วย F-test และหากค่าความแปรปรวนของข้อมูลแตกต่างกันให้ทดสอบความแตกต่าง ด้วย Brown-Forsythe ถ้าสมมติฐานข้อใดปฏิเสธสมมติฐานหลัก (H0) และยอมรับสมมติฐานรอง (H1) ที่มีค่าเฉลี่ยอย่างน้อย 1 คู่ที่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติจะต้องน าไปทดสอบด้วย กาการวิเคราะห์ (Post hoc test) โดยวิธีการเปรียบเทียบพหุคูณ (Multiple comparison)แต่ถ้ายัง ยอมรับสมมุติฐานหลักก็จะยุติการทดสอบสมมุติฐานแล้วสรุปผลการทดสอบ โดยใช้วิธีทดสอบ

วิธีการเปรียบเทียบพหุคูณแบบ LSD (Fisher’s Least – Significant Different) หรือ Dunnett’s T3 เพื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ใดบ้างที่แตกต่างกันที่อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (Significant) ผล การทดสอบสมมติฐานดังนี้

ตาราง 18 แสดงผลการเปรียบเทียบของความตั้งใจเชิงพฤติกรรมของผู้เยี่ยมชมในพิพิธภัณฑ์ใน จังหวัดนครปฐม โดยแบ่งตามวัตถุประสงค์ โดยใช้สถิติ F-test

* ระดับนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

จากตารางที่ 18 พบว่าผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของความตั้งใจเชิงพฤติกรรม ของผู้เยี่ยมชมในพิพิธภัณฑ์ในจังหวัดนครปฐม โดยแบ่งตามระดับการศึกษา โดยใช้สถิติ F-test พบว่า มีค่า p-value เท่ากับ 0.07 มากกว่านัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นั่นคือ ยอมรับ สมมติฐานหลัก (H0) และปฏิเสธสมมติฐานรอง (H1) จึงสรุปได้ว่า ผู้เยี่ยมชมที่มีวัตถุประสงค์

แตกต่างกัน มีผลต่อความตั้งใจเชิงพฤติกรรมของผู้เยี่ยมชมในพิพิธภัณฑ์ในจังหวัดนครปฐมที่ไม่

แตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

สมมติฐานที่ 1.7 ผู้เยี่ยมชมที่ประเภทของพิพิธภัณฑ์แตกต่างกัน มีผลต่อความตั้งใจเชิง พฤติกรรมของผู้รับบริการในพิพิธภัณฑ์ในจังหวัดนครปฐมที่แตกต่างกัน

H0: ค่าความแปรปรวนของแต่ละกลุ่มไม่แตกต่างกัน H1: ค่าความแปรปรวนของแต่ละกลุ่มแตกต่างกัน

ผลการทดสอบความแปรปรวนโดยใช้ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ปฏิเสธสมมติฐาน หลัก (H0) และยอมรับสมมติฐานรอง (H1) ก็ต่อเมื่อค่า p-value น้อยกว่าหรือเท่ากับ .05

ความตั้งใจเชิง พฤติกรรม

ความ

แปรปรวน SS df MS F p-value

ความตั้งใจเชิงพฤติกรรม ของผู้เยี่ยมชมใน พิพิธภัณฑ์ในจังหวัด

นครปฐม โดยรวม

ระหว่างกลุ่ม 2.46 5.00 0.49 2.03 0.07 ภายในกลุ่ม 91.18 376.00 0.24

รวม 93.64 381.00

ตาราง 19 แสดงผลการทดสอบความแปรปรวนของความตั้งใจเชิงพฤติกรรมของผู้เยี่ยมชมใน พิพิธภัณฑ์ในจังหวัดนครปฐม โดยแบ่งตามประเภทของพิพิธภัณฑ์ โดยใช้ Levene’s test

ความตั้งใจเชิงพฤติกรรม Levene's Test for Equality of Variance

Levene Statistic df1 df2 p-value

ความตั้งใจเชิงพฤติกรรมของผู้

เยี่ยมชมในพิพิธภัณฑ์ในจังหวัด นครปฐม โดยรวม

1.854 5 376 0.102

* ระดับนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

จากตารางที่ 19 ผลการทดสอบค่าความแปรปรวนของของความตั้งใจเชิงพฤติกรรมของ ผู้เยี่ยมชมในพิพิธภัณฑ์ในจังหวัดนครปฐม โดยแบ่งตามประเภทของพิพิธภัณฑ์ โดยใช้ Levene’s test พบว่า มีค่า p-value เท่ากับ 0.102 ซึ่งมากกว่านัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นั่นคือ ยอมรับ สมมติฐานหลัก(H0) และปฏิเสธสมมติฐานรอง (H1) จึงสรุปได้ว่าค่าความแปรปรวนของแต่ละกลุ่ม ไม่แตกต่างกันดังนั้นผู้วิจัยจึงทดสอบสมมติฐานโดยใช้สถิติ F-test

จากสมมติฐานข้างต้นสามารถสร้างสมมติฐานทางสถิติได้ดังต่อไปนี้

H0: ผู้เยี่ยมชมที่มีวัตถุประสงค์แตกต่างกัน มีผลต่อความตั้งใจเชิงพฤติกรรมของผู้เยี่ยม ชมในพิพิธภัณฑ์ในจังหวัดนครปฐมที่ไม่แตกต่างกัน

H1:ผู้เยี่ยมชมที่มีวัตถุประสงค์แตกต่างกัน มีผลต่อความตั้งใจเชิงพฤติกรรมของผู้เยี่ยม ชมในพิพิธภัณฑ์ในจังหวัดนครปฐมที่แตกต่างกัน

สถิติที่ใช้ในการทดสอบคือ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One – way ANOVA) ซึ่งเป็นการวิเคราะห์ข้อมูลที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับความแตกต่างของ ค่าเฉลี่ย กรณีประชากรมากกว่า 2 กลุ่ม ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% โดยเริ่มจากการทดสอบความ แปรปรวนจากตาราง Levene’s test ซึ่งจะปฏิเสธสมมติฐานหลัก (H0) ก็ต่อเมื่อระดับนัยส าคัญ ทางสถิติมีค่าน้อยกว่าระดับ .05 หากความแปรปรวนของข้อมูลไม่แตกต่างกันให้ทดสอบความ แตกต่างด้วย F-test และหากค่าความแปรปรวนของข้อมูลแตกต่างกันให้ทดสอบความแตกต่าง ด้วย Brown-Forsythe ถ้าสมมติฐานข้อใดปฏิเสธสมมติฐานหลัก (H0) และยอมรับสมมติฐานรอง (H1) ที่มีค่าเฉลี่ยอย่างน้อย 1 คู่ที่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติจะต้องน าไปทดสอบด้วย กาการวิเคราะห์ (Post hoc test) โดยวิธีการเปรียบเทียบพหุคูณ (Multiple comparison) แต่ถ้ายัง ยอมรับสมมุติฐานหลักก็จะยุติการทดสอบสมมุติฐานแล้วสรุปผลการทดสอบโดยใช้วิธีทดสอบ