• Tidak ada hasil yang ditemukan

แสดงระยะการวิจัย ขั้นตอนการด าเนินการ และผลที่คาดหวัง

102 ระยะการวิจัย ขั้นตอนการด าเนินการ และผลที่คาดหวัง

ระยะการวิจัย ขั้นตอนการด าเนินการ ผลที่คาดหวัง ระยะที่ 1การศึกษาองค์ประกอบและ

ตัวชี้วัดของการจัดการเรียนรู้

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารส าหรับ สถานศึกษา สังกัดส านักงานเขต พื้นที่การศึกษา เขต 27

ภาพประกอบ 4 แสดงระยะการวิจัย ขั้นตอนการด าเนินการ และผลที่คาดหวัง

ระยะที่ 2 การศึกษาสภาพ ปัจจุบัน และสภาพอันพึง

ประสงค์ของการจัดการเรียนรู้

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารส าหรับ สถานศึกษา สังกัดส านักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27

ระยะที่ 3 การพัฒนาโปรแกรม พัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารส าหรับ สถานศึกษา สังกัดส านักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27

1. ศึกษาเอกสาร ต ารา งานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง

2. สังเคราะห์องค์ประกอบและ ตัวชี้วัดการจัดการเรียนรู้

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ส าหรับสถานศึกษา สังกัด ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 27 3. ประเมินความเหมาะสมของ องค์ประกอบและตัวชี้วัด 1. น าองค์ประกอบและตัวชี้วัดที่ได้จาก ระยะที่ 1 มาสร้างแบบสอบถามสภาพ ปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และแนวทาง ในการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการ สื่อสารส าหรับสถานศึกษา

2. เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็น ผู้บริหารและครูผู้สอนภาษาอังกฤษสังกัด ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 จ านวน 217 คน

3. วิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึง ประสงค์ของการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารส าหรับสถานศึกษา

ได้องค์ประกอบและตัวชี้วัดการ จัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการ สื่อสารส าหรับสถานศึกษา สังกัด ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 27

ได้โปรแกรมพัฒนาครูในการ จัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อ การสื่อสารส าหรับสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่

การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 ทราบสภาพปัจจุบัน สภาพที่

พึงประสงค์และวิธีการจัดการ เรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการ สื่อสารส าหรับสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่

การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27

1. น าผลการวิจัยที่ได้จากระยะที่ 1 มาวิเคราะห์หาค่าดัชนีความต้องการจ าเป็นและจัดล าดับ ความต้องการ

2. ศึกษา Best Practices เกี่ยวกับการพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการ 3. จัดท าร่างโปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

4. ตรวจสอบยืนยันโปรแกรมพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ส าหรับสถานศึกษาโดยผู้ทรงคุณวุฒิจ านวน 7 คน โดยการสนทนากลุ่ม Focus Group

103 ระยะที่ 1 การศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัดของการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ส าหรับสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27

1. ขั้นตอนด าเนินการ

1.1 การศึกษาต าราและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการ สื่อสารส าหรับสถานศึกษา

1.2 การสังเคราะห์ข้อมูลจากข้อ 1.1 เพื่อให้ได้องค์ประกอบและตัวชี้วัดของการจัดการ เรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารส าหรับสถานศึกษา ได้องค์ประกอบจ านวน 6 องค์ประกอบ ได้แก่

1) หลักสูตร 2) การจัดการเรียนกาสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ 3) กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ 4) การ สอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 5) สื่อการเรียนรู้ 6) การวัดและประเมินผล

1.3 ตรวจสอบความเหมาะสมขององค์ประกอบและตัวชี้วัดของการจัดการเรียนรู้

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารส าหรับสถานศึกษา โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จ านวน 5 คน 2. กลุ่มผู้ให้ข้อมูล

กลุ่มผู้ให้ข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้ มีบทบาทในการให้ข้อชี้แนะ ค าแนะน าและประเมิน ความเหมาะสมขององค์ประกอบและตัวชี้วัด ของการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ส าหรับสถานศึกษา ได้มาโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างโดยไม่อาศัย ความน่าจะเป็น (Nonprobability sampling) ด้วยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling) (บุญชม ศรีสะอาด, 2545) จ านวน 5 คน ซึ่งมีคุณสมบัติตามเกณฑ์ต่อไปนี้

1. จบการศึกษาระดับปริญญาโททางด้านการบริหารการศึกษา ด้านหลักสูตรและ การสอน ด้านการวัดผลและประเมินผลการศึกษา หรือสาขาที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้

ภาษาอังกฤษ

2. ด ารงต าแหน่งเป็นผู้บริหารสถานศึกษา ศึกษานิเทศก์ของหน่วยงานทางการศึกษา หรือครูผู้สอนที่มีวิทยฐานะช านาญการพิเศษขึ้นไป

3. มีประสบการณ์ทางด้านการบริหารงานหลักสูตรในสถานศึกษาอย่างน้อย 5 ปี

หรือปฏิบัติงานทางด้านวิชาการไม่น้อยกว่า 5 ปี ประกอบด้วย

3.1 ดร.อธิศ ไชยคิรินทร์ ศึกษานิเทศก์ วิทยฐานะช านาญการพิเศษ ส านักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 27 การศึกษา วุฒิการศึกษา การศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.การ บริหารและพัฒนาการศึกษา) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

3.2 อ.พงศ์ธร อัศวนิเวศน์ อาจารย์ภาควิชาหลักสูตรและการสอน สาขาวิชา ภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม วุฒิการศึกษา Master of Art (Applied Linguistics in English Language Teaching) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

104 3.3 ดร.พายุพงศ์ พายุหะ ครู วิทยฐานะช านาญการพิเศษ โรงเรียนแก่นนคร วิทยาลัย ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 25 วุฒิการศึกษา การศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.การบริหารและพัฒนาการศึกษา) จากมหาวิทยาลัยมหาสารคาม

3.4 นางระพีพรรณ พายุหะ ครู วิทยฐานะช านาญการพิเศษ โรงเรียนจันทรุ

เบกษาอนุสรณ์ อ าเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด วุฒิการศึกษา (กศ.ม.) สาขาวิชาหลักสูตร และการสอน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

3.5 นายเสถียร นามขารี ครู วิทยฐานะช านาญการพิเศษ โรงเรียนจันทรุเบกษา อนุสรณ์ อ าเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด วุฒิการศึกษา (กศ.ม.) สาขาวิชาการวิจัยและ ประเมินผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

3. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 3.1 ประเภทและลักษณะของเครื่องมือ

เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ระยะที่ 1 ได้แก่ แบบประเมินความ เหมาะสมขององค์ประกอบและตัวชี้วัด

3.2 การสร้างและการหาคุณภาพของเครื่องมือ

3.2.1 ศึกษาหลักการ แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบและ ตัวชี้วัดของการจัดการเรียนรู้ภาษาเพื่อการสื่อสารของนักเรียน

3.2.2 น าผลการศึกษาที่ได้จากข้อ 3.2.1 มาท าการวิเคราะห์และสังเคราะห์

องค์ประกอบและตัวชี้วัดของการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

3.2.3 น าองค์ประกอบและตัวชี้วัดของการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ของนักเรียน ที่ได้จากการสังเคราะห์มาสร้างเป็นแบบประเมิน เพื่อให้ผู้ทรงคุณวุฒิประเมิน จ านวน 5 คน

3.2.4 ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิ และน าไปใช้เป็นข้อมูลใน การด าเนินการวิจัยในระยะที่ 2 ต่อไป

4. การเก็บรวบรวมข้อมูล

ผู้วิจัยได้ด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลในระยะที่ 1 ตามขั้นตอน ดังต่อไปนี้

4.1 ศึกษาจากเอกสาร ต ารา หนังสือ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับแนวความคิด หลักการและทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ภาษาเพื่อการสื่อสาร

4.2 บันทึกข้อมูลที่ได้จากการศึกษาในแบบบันทึก

4.3 ท าการวิเคราะห์และสรุปสาระส าคัญของข้อมูลที่ได้จากการศึกษา

4.4 น าสาระส าคัญที่สรุปได้มาท าการสังเคราะห์เพื่อให้ได้องค์ประกอบและตัวชี้วัด ของการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

105 4.5 น าแบบประเมินองค์ประกอบและตัวชี้วัดของการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อ การสื่อสาร ให้ผู้ทรงคุณวุฒิประเมิน

4.6 น าผลการประเมินของผู้ทรงคุณวุฒิไปจัดกระท าและการวิเคราะห์ข้อมูลต่อไป 5. การจัดกระท าและการวิเคราะห์ข้อมูล

5.1 น าผลที่ได้จากการเก็บรวบรวมข้อมูลมาจัดกระท าโดยการตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วนของแบบประเมิน ตรวจให้คะแนนเป็นรายข้อและน ามาแจกแจงคะแนนตามเกณฑ์การให้

คะแนน ดังนี้

ความเหมาะสม คะแนน มากที่สุด 5 มาก 4 ปานกลาง 3 น้อย 2 น้อยที่สุด 1

5.2 วิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation

; S.D.) รายข้อ รายด้าน และโดยรวม โดยวิเคราะห์ข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์โปรแกรมส าเร็จรูป แล้ว แปลความหมายของค่าเฉลี่ยโดยก าหนดเกณฑ์ ดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด, 2545)

ค่าเฉลี่ย ความหมาย

4.51 – 5.00 เหมาะสมในระดับ มากที่สุด 3.51 – 4.50 เหมาะสมในระดับ มาก 2.51 – 3.50 เหมาะสมในระดับ ปานกลาง 1.51 – 2.50 เหมาะสมในระดับ น้อย 1.00 – 1.50 เหมาะสมในระดับ น้อยที่สุด

ระยะที่ 2 การศึกษาสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ของการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารส าหรับสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27

1. ขั้นตอนด าเนินการ

1.1 น าผลการวิจัยจากระยะที่ 1 (องค์ประกอบและตัวชี้วัดของการจัดการเรียนรู้ภาษา เพื่อการสื่อสาร) มาใช้เพื่อการสร้างแบบสอบถาม เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์

106 ของการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารส าหรับสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่

การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27

1.2 เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง

1.3 วิเคราะห์ข้อมูลสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ของการจัดการเรียนรู้

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารส าหรับสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27

2. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

2.1 ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้บริหารและครู สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 27 จ านวน 60 โรงเรียน จ าแนกเป็น

2.1.1 ผู้อ านวยการสถานศึกษา จ านวน 65 คน 2.1.2 รองผู้อ านวยการสถานศึกษา จ านวน 102 คน

2.1.3 ข้าราชการครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) จ านวน 320 คน

รวมประชากร จ านวน 487 คน

2.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วยผู้บริหารและครูผู้สอน ภาษาอังกฤษ ได้มาโดยวิธีการใช้ตารางส าเร็จรูปของ Krejcie และ Morgan (บุญชม ศรีสะอาด, 2545) จากจ านวนผู้บริหารและครูทั้งหมด เทียบสัดส่วนของแต่ละขนาดและแต่ละโรงเรียนแล้วสุ่ม อย่างง่าย (Simple Random Sampling) ได้กลุ่มตัวอย่าง ดังนี้

2.2.1 ผู้อ านวยการสถานศึกษา จ านวน 52 คน 2.2.2 รองผู้อ านวยการสถานศึกษา จ านวน 81 คน

2.2.3 ข้าราชการครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) จ านวน 175 คน

รวมกลุ่มตัวอย่าง จ านวน 217 คน

3. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 3.1 ลักษณะของเครื่องมือ

เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในระยะที่ 2 นี้ เป็นแบบสอบถาม (Questionnaire) เพื่อใช้ในการสอถามสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ของการจัดการเรียนรู้

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารส าหรับสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 แบ่งเป็น 3 ตอน ดังนี้