• Tidak ada hasil yang ditemukan

ศึกษารูปแบบการจัดงานนมัสการพระพุทธโกศัยสิริชัยมหาศากยมุนี วัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร จังหวัดแพร่

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "ศึกษารูปแบบการจัดงานนมัสการพระพุทธโกศัยสิริชัยมหาศากยมุนี วัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร จังหวัดแพร่"

Copied!
12
0
0

Teks penuh

(1)

ศึกษารูปแบบการจัดงานนมัสการพระพุทธโกศัยสิริชัยมหาศากยมุนี

วัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร จังหวัดแพร

A Study the Model of Buddhakosaisirichai Mahasakayamuni Respective Management of Watphrabathmingmuangworravihara,

Phrae Province

พระเมธีธรรมาลังการ, พูนทรัพย เกตุวีระพงศ, นวัชโรจน อินเต็ม และ ฉวีวรรณ สุวรรณาภา PhrametheDhamalangkarn, Poonsub Ketuwerapong,

Nawatrose Intem and Chaweewan Suwannapa

บทคัดยอ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษารูปแบบการจัดงานนมัสการพระพุทธโกศัย สิริชัย มหาศากยมุนี วัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร จังหวัดแพรและเพื่อสังเคราะหผลลัพธที่ได

จากการจัดงานนมัสการพระพุทธโกศัยสิริชัยมหาศากยมุนี วัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร จังหวัดแพร ผลการวิจัยเชิงคุณภาพจากการเสวนา พบวา

๑. ดานรูปแบบการจัดงานนมัสการพระพุทธโกศัยสิริชัยมหาศากยมุนี เปนลักษณะของ การจัดงานที่สืบสานประเพณีวัฒนธรรมดั้งเดิม ไดรับความรวมมือจากองคกรในกลุมของ สื่อสารมวลชนในระดับหนึ่งและจากตนทุนที่วัดมีอยู

๒. กิจกรรมที่ประชาชนมารวมงานมีความคิดเห็นระดับมากที่สุด เรียงจากมากไปหา นอยคือ ดานรูปแบบการจัดงาน ดานงบประมาณ และดานการใหบริการ

คําสําคัญ:

รูปแบบ, การจัดงานนมัสการ, พระพุทธโกศัยสิริชัยมหาศากยมุนี

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตแพร

(2)

วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน มจร วิทยาเขตแพร ปที่ ๒ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม–ธันวาคม ๒๕๕๙)

Abstract

The objectives this research was 1) to study the model of Buddhakosai- sirichai Mahasakayamuni respective management of Watphrabathmingmuang worravihara, Phrae Province and 2) to synthesize the result of Buddhakosai- sirichai Mahasakayamuni respective management of Watphrabathmingmuang worravihara, Phrae Province. It was found that

1) the model of Buddhakosai respective management of Watphrabath mingmuangworravihara, It had coope rated from various organizations as the media and the temple.

2) The opinions of people on activity management in all overall were at much revel.

Keywords:

Model, Respective Management, Buddhakosaisirichai, Mahasakayamuni

(3)

Journal of Graduate Studies Review MCU Phrae Vol. 2 No. 2 (July–December 2016)

บทนํา

วัดพระบาทมิ่งเมือง พระอารามหลวงชั้นตรีชนิดวรวิหาร ตั้งอยูบนถนนเจริญเมือง บริเวณใจกลางเมือง ในเขตเทศบาลเมืองแพร จังหวัดแพร เปนวัดสําคัญประจําจังหวัดแพร

เปนพระอารามหลวง มีปูชนียวัตถุสําคัญ คือ พระพุทธบาทจําลอง พระเจดียมิ่งเมือง และพระ พุทธโกศัยศิริชัยมหาศากยมุนี ซึ่งถือวาเปนพระพุทธรูปคูบานคูเมืองของจังหวัดแพร นอกจากนี้

ยังเปนศูนยกลางการเผยแพรพระพุทธศาสนา การศึกษาดานปริยัติธรรมของจังหวัดแพร

การศึกษาดานสามัญคือโรงเรียนพุทธโกศัยวิทยาและโรงเรียนพระพุทธศาสนาวันอาทิตย

วัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร เปนวัดที่เกิดจากการรวมวัดโบราณ ๒ วัด คือ วัดพระบาท และวัดมิ่งเมือง ซึ่งอยูใกลกันเพียงถนนคั่น วัดทั้งสองเปนวัดขนาดใหญ และเปน

วัดประจําจังหวัดแพร วัดพระบาทเปนวัดที่อุปราชหรือเจาหอหนา เปนมรรคทายก เปนวัด ที่ตั้งอยูใจกลางเมือง และมีพระธาตุมิ่งเมืองเปนสัญลักษณ วัดทั้ง ๒ แหงนี้ สรางขึ้นเมื่อใดไมมี

หลักฐานปรากฏสันนิษฐานวา เจาผูครองนครแพรเปนผูสรางขึ้น จากการศึกษาอันดับเจาอาวาส วัดพระบาทฯ ที่มีการปกครองกันมาอยางตอเนื่อง สันนิษฐานวาวัดพระบาทนาจะสรางขึ้นกอน พ.ศ. ๒๓๘๐ ซึ่งเปนปเกิดของพระครูพุทธวงศาจารยเจาอาวาส ที่สามารถทราบประวัติได สวน วัดมิ่งเมือง ก็นาจะสรางขึ้นในสมัยเดียวกัน พ.ศ. ๒๔๙๒ และมีการรวมวัดทั้งสองแหงเปนวัด เดียวกัน โดยใชชื่อวา วัดพระบาทมิ่งเมือง เมื่อป พ.ศ. ๒๔๙๘ วัดพระบาทมิ่งเมือง ไดรับ พระบรมราชานุญาติใหเปนพระอารามหลวง ชั้นตรีชนิดวรวิหาร มีชื่อเรียกอยางเปนทางการวา วัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร

ที่มาของพระพุทธโกศัยศิริชัยมหาศากยมุนี วัดพระบาทมิ่งเมือง โดยตําราระบุไววา ถาสรางพระพุทธรูปตรงกับวันขึ้น ๑-๒-๓ ค่ํา เดือน ๗ เหนือ หรือ เดือน ๕ ใต จะได

พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์คูบานคูเมือง ซึ่งนายชุณห นกแกว ผูวาราชการจังหวัดแพร ไดปรึกษากับ ฝายสงฆ มีพระครูธรรมสารสุจิต วัดพระบาทมิ่งเมือง กําหนดที่จะสรางพระพุทธรูปและเหรียญ พระพุทธโกศัยขึ้นในวันที่ ๒๒-๒๓-๒๔ เมษายน ๒๔๙๘ ตรงกับวันขึ้น ๑-๒-๓ ค่ําพระพุทธโกศัย เปนพระพุทธรูปสมัยเชียงแสนผสมสมัยสุโขทัย ปางมารวิชัย หนาตักกวาง ๑ วา ๕ นิ้ว ความสูง ๑ วา ๑ ศอก มีสวนคลายพระพุทธชินราช สวนเหรียญพระพุทธโกศัย เปนเหรียญสามเหลี่ยม ขนาดฐานกวาง ๑.๕ ซ.ม. สูง ๒.๗ ซม. บนยอดเหรียญมีหู เจาะเปนรู แตไมมีหวงเหมือนเหรียญ ทั่วไป พระพุทธโกศัยศิริชัยมหาศากยมุนี เปนพระพุทธรูปคูบานคูเมืองของจังหวัดแพร

(4)

วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน มจร วิทยาเขตแพร ปที่ ๒ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม–ธันวาคม ๒๕๕๙) และเปนองคพระประทานของวัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร เปนที่เคารพสักการะเลื่อมใสของ พุทธศาสนิกชน ของชาวจังหวัดแพรและประชาชนทั่วไป

ดวยวัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหารเปนพระอารามหลวงชั้นตรีเปนศูนยรวมของ พุทธศาสนิกชนจังหวัดแพร โดยมีพระพุทธโกศัยสิริชัยมหาศากยมุนีเปนที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจ จากประวัติการกอสรางวัดและพระพุทธโกศัยตามคติความเชื่อของลานนาจะตองมีการเฉลิม ฉลองสักการะบูชาของพุทธศาสนิกชน ไดเริ่มจัดงานครั้งแรกเมื่อปพุทธศักราช ๒๔๙๘ ระหวาง วันที่ ๒๒-๒๔ เมษายน ๒๔๙๘ เปนเวลา ๓ วัน ในงานจะมีกิจกรรมเฉลิมฉลอง มีขบวนแห

เครื่องสักการะบูชา การฟอนพื้นเมือง ของคณะศรัทธาวัดตางๆ มีมหรสพสมโภชการละเลน ตางๆ เพื่อเปนการสงเสริมและสืบสานวัฒนธรรมประเพณีทองถิ่น วัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร ไดจัดงานนมัสการหลวงพอพุทธโกศัยศิริชัยมหาศากยมุนีมาอยางตอเนื่องตามวิถีวัฒนธรรม ประเพณี รวมทั้งมีการปรับกระบวนการจัดงานนมัสการหลวงพอพุทธโกศัยศิริชัยมหาศากยมุนี

เพื่อใหเปนไปตามการปรับเปลี่ยนของกระแสสังคมสมัยใหมตามลําดับและสอดคลองกับวัน สําคัญทางพระพุทธศาสนา จึงไดกําหนดการจัดงานเลื่อนจากเดือนเมษายนเปนเดือนพฤษภาคม เพื่อใหตรงกับวันวิสาขบูชาซึ่งอยูระหวางวันที่ ๑๘-๒๔ พ.ค. ของทุกป รวม ๗ วัน ๗ คืน โดยมี

การจัดกิจกรรมสงเสริมพระพุทธศาสนา เทศกาลวันวิสาขบูชา การสาธิตจัดโตะหมูบูชา นิทรรศการประวัติความเปนมาพุทธคุณของพระพุทธ โกศัยฯ การจําหนายสินคาราคาถูก ขบวนแหเครื่องสักการะพระพุทธโกศัยฯ ของคณะศรัทธาตางๆ มหรสพสมโภชชมฟรีตลอดงาน ซึ่งมีการปรับรูปแบบของการจัดงานใหเหมาะสมกับความเปนปจจุบันและสภาวะของเศรษฐกิจ ในการจัดงานแตละปไดรับความสนใจจากพุทธศาสนิกชนในระดับหนึ่ง การดําเนินการโครงการ ใดๆของวัด ปจจุบันนั้นมีความจําเปนมากในการติดตามและประเมินผล ของการดําเนินงาน เปนไปตามวัตถุประสงคของการจัดงานหรือไมอยางไร เพื่อนําขอมูลที่ไดจากการประเมินจาก การจัดงานไปใชในการปรับปรุงพัฒนาการดําเนินงาน ในครั้งตอไปใหมีประสิทธิภาพ

ดังนั้น คณะผูวิจัยจึงไดเล็งเห็นความสําคัญในการดําเนินงานดังกลาว จึงไดทําการวิจัย เรื่อง ศึกษารูปแบบการจัดงานนมัสการหลวงพอพระพุทธโกศัยสิริชัยมหาศากยมุนี วัดพระบาท มิ่งเมืองวรวิหาร จังหวัดแพรเพื่อศึกษาแนวคิดรูปแบบการจัดงานนมัสการหลวงพอพระพุทธ โกศัยสิริชัยมหาศากยมุนี วัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร จังหวัดแพรและเพื่อสังเคราะห

กระบวนการสรางองคความรูและผลลัพธที่ไดจากการจัดงานนมัสการหลวงพอพระพุทธโกศัย

(5)

Journal of Graduate Studies Review MCU Phrae Vol. 2 No. 2 (July–December 2016) สิริชัยมหาศากยมุนี วัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร จังหวัดแพรและขอเสนอแนะในการพัฒนา กิจกรรมการจัดงานประเพณีของวัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหารเพื่อสงเสริมการทองเที่ยว ของวัดและจังหวัดแพร ในสวนที่เกี่ยวกับการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย วิทยาเขตแพรนั้นสามารถบูรณาการในรายวิชาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา, รายวิชาการเรียนรูหนาที่พลเมือง,รายวิชาพุทธธรรมกับสังคม,รายวิชาวัฒนธรรมไทย,รายวิชา เทศกาลและพิธีกรรมและโครงการสืบสานวัฒนธรรมและประเพณีไทย,สอดคลองกับการ

ประกันคุณภาพในตัวบงชี้ที่ ๒.๖ ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน ตัวบงชี้ ที่ ๔.๓ เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคตอจํานวนอาจารยประจําและนักวิจัยประจํา

วัตถุประสงคการวิจัย

๑. เพื่อศึกษารูปแบบการจัดงานนมัสการหลวงพอพระพุทธโกศัยสิริชัยมหาศากยมุนี

วัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร จังหวัดแพร

๒. เพื่อสังเคราะหผลลัพธที่ไดจากการจัดงานนมัสการหลวงพอพระพุทธโกศัยสิริชัย มหาศากยมุนี วัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร จังหวัดแพร

ขอบเขตของการวิจัย

ขอบเขตดานเนื้อหา

การวิจัยครั้งนี้เปนการศึกษาการรูปแบบจัดงานนมัสการหลวงพอพระพุทธโกศัยสิริชัย

มหาศากยมุนี วัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร จังหวัดแพรในดานรูปแบบการจัดงาน ดานงบประมาณ ดานกิจกรรม ดานการประชาสัมพันธ ดานระยะเวลา และดานการอํานวย

ความสะดวกทั่วไป

ขอบเขตดานตัวแปร

๑. ตัวแปรตน ประชากรและกลุมตัวอยาง ไดแก หัวหนาสวนราชการในจังหวัดแพร

พระสังฆาธิการ กรรมการวัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร ชุมชนวัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร กลุมตัวอยาง ไดแก เจาอาวาส/รองเจาอาวาส/เลขานุการเจาอาวาสจํานวน ๖ รูป, ผูวาฯ/

รองผูวาฯ/นายอําเภอเมืองแพร/นายกเทศบาลเมืองแพร/นายกองคการบริหารสวนจังหวัด/

(6)

วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน มจร วิทยาเขตแพร ปที่ ๒ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม–ธันวาคม ๒๕๕๙) วัฒนธรรมจังหวัด/สํานักพุทธศาสนาจังหวัด/การทองเที่ยวจังหวัดแพร สถานีตํารวจภูธรจังหวัด แพร จํานวน ๙ คน กรรมการวัด ๓๐ คนและตัวแทนชุมชน ๑๙ คน รวมทั้งหมด ๖๔ รูป/คน ซึ่งกําหนดขนาดของกลุมตัวอยางโดยใชวิธีการสุมแบบเจาะจง (Purposive or Judgments Random Sampling)

๒. ตัวแปรตาม ไดแก ความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดงานนมัสการหลวงพอพระพุทธโกศัย สิริชัยมหาศากยมุนี วัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร จังหวัดแพร ใน ๖ ดาน คือ ดานรูปแบบการจัด งาน ดานงบประมาณ ดานกิจกรรม ดานการประชาสัมพันธ ดานระยะเวลา และดานการ ใหบริการ

วิธีดําเนินการวิจัย

วิธีดําเนินการวิจัยเปนงานวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณโดยการสังเคราะหเอกสาร, การจัดเวทีเสวนาและแบบสอบถามตามกรอบเนื้อหา ๖ ดาน คือ ดานรูปแบบการจัดงาน ดานงบประมาณ ดานกิจกรรม ดานการประชาสัมพันธ ดานระยะเวลา และดานการใหบริการ

ผลการวิจัย

๑. รูปแบบการจัดงานนมัสการหลวงพอพระพุทธโกศัยสิริชัยมหาศากยมุนี วัดพระบาท มิ่งเมืองวรวิหาร จังหวัดแพร

ผลการวิจัยพบวา วัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร และประวัติของหลวงพอพระพุทธโกศัย สิริชัยมหาศากยมุนี พบวา ในบริบทของวัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร เปนวัดเกาแกและเกิดจาก การรวมวัดโบราณ ๒ วัด คือ วัดพระบาท และวัดมิ่งเมือง ซึ่งอยูใกลกันเพียงถนนคั่น วัดทั้งสอง เปนวัดขนาดใหญ และเปนวัดประจําจังหวัดแพร วัดพระบาทเปนวัดที่อุปราชหรือเจาหอหนา เปนมรรคทายกเปนวัดที่ตั้งอยูใจกลางเมืองและมีพระธาตุมิ่งเมืองเปนสัญลักษณ วัดทั้ง ๒ แหงนี้

สรางขึ้นเมื่อใดไมมีหลักฐานปรากฏสันนิษฐานวาเจาผูครองนครแพรเปนผูสรางขึ้นจาก การศึกษาอันดับเจาอาวาสวัดพระบาทฯ ที่มีการปกครองกันมาอยางตอเนื่อง สันนิษฐานวาวัด พระบาทนาจะสรางขึ้นกอน พ.ศ. ๒๓๘๐ ซึ่งเปน ปเกิดของพระครูพุทธวงศาจารยเจาอาวาส ที่สามารถทราบประวัติได สวนวัดมิ่งเมืองก็นาจะสรางขึ้นในสมัยเดียวกันพ.ศ. ๒๔๙๒ และมี

(7)

Journal of Graduate Studies Review MCU Phrae Vol. 2 No. 2 (July–December 2016)

การรวมวัดทั้งสองแหงเปนวัดเดียวกัน โดยใชชื่อวา วัดพระบาทมิ่งเมือง เมื่อป พ.ศ. ๒๔๙๘ วัดพระบาทมิ่งเมือง ไดรับพระบรมราชานุญาติใหเปนพระอารามหลวง ชั้นตรีชนิดวรวิหาร มีชื่อ เรียกอยางเปนทางการวา "วัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร"

สวนประวัติที่มาของพระพุทธโกศัยสิริชัยมหาศากยมุนี พบวา หลังจากมีการรวมวัด เสร็จแลวไดมีการจัดสรางพระพุทธรูปสําคัญ ซึ่งตําราดั้งเดิมไดระบุไววา ถาสรางพระพุทธรูป ตรงกับวันขึ้น ๑-๒-๓ ค่ํา เดือน ๗ เหนือ หรือ เดือน ๕ ใต จะไดพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์

คูบานคูเมือง จึงกําหนดสรางพระพุทธรูปและเหรียญพระพุทธโกศัยขึ้นในวันที่ ๒๒-๒๓-๒๔ เมษายน ๒๔๙๘ ตรงกับวันขึ้น ๑-๒-๓ ค่ําพระพุทธโกศัยฯ ลักษณะเปนพระพุทธรูปสมัยเชียง แสนผสมสมัยสุโขทัย ปางมารวิชัย หนาตักกวาง ๑ วา ๕ นิ้ว ความสูง ๑ วา ๑ ศอก มีสวน คลายพระพุทธชินราช สวนเหรียญพระพุทธโกศัย เปนเหรียญสามเหลี่ยม ขนาดฐานกวาง ๑.๕ ซ.ม. สูง ๒.๗ ซ.ม. บนยอดเหรียญมีหู เจาะเปนรู แตไมมีหวงเหมือนเหรียญทั่วไป พระพุทธ โกศัยศิริชัยมหาศากยมุนี เปนพระพุทธรูปคูบานคูเมือง ของจังหวัดแพรและเปนองคพระ ประทานของวัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร เปนที่เคารพสักการะเลื่อมใสของพุทธศาสนิกของชาว จังหวัดแพรและประชาชนทั่วไปจากประวัติการกอสรางวัด และพระพุทธโกศัยตามคติความเชื่อ ของลานนาจะตองมีการเฉลิมฉลองสักการะบูชาของพุทธศาสนิกชน ไดเริ่มจัดงานครั้งแรกเมื่อป

พุทธศักราช ๒๔๙๘ ระหวางวันที่ ๒๒-๒๔ เมษายน ๒๔๙๘ เปนเวลา ๓ วัน ในงานจะมี

กิจกรรมเฉลิมฉลอง มีขบวนแหเครื่องสักการะบูชา การฟอนพื้นเมือง ของคณะศรัทธาวัดตาง ๆ มีมหรสพสมโภชการละเลนตาง ๆ มากมาย เปนที่มาของการจัดงานนมัสการหลวงพอพระพุทธ โกศัยสิริชัยมหาศากยมุนีสืบตอมาจนถึงปจจุบันและมีพัฒนาการของการจัดงานตามลําดับ

ผลวิจัยจากการเสวนาจากกลุมตัวอยางที่เกี่ยวของกับการจัดงานนมัสการหลวงพอพระ พุทธโกศัยสิริชัยมหาศากยมุนี พบวา ไดขอมูลในประเด็นของรูปแบบการจัดงานมีรายละเอียด ดังนี้

รูปแบบการจัดงานนมัสการหลวงพอพระพุทธโกศัยสิริชัยมหาศากยมุนี พระราชเขมา กร.ผศ.ดร. กลาววา วัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหารเปนวัดพระอารามหลวงประจําจังหวัดแพร โดย มีพระพุทธโกศัยสิริชัยมหาศากยมุนี เปนศูนยรวมจิตใจของพุทธศาสนิกชนชาวแพรและจังหวัด ใกลเคียง เพื่อความตอเนื่องทางวัดจึงไดมีการจัดงานนมัสการพระพุทธโกศัยสิริชัยมหาศากยมุนี

ตามคติความเชื่อลานนา ปญหาจากการจัดงานแตละปทางวัดไดปรับเปลี่ยนกระบวนการจัดมา

(8)

วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน มจร วิทยาเขตแพร ปที่ ๒ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม–ธันวาคม ๒๕๕๙) ตามลําดับ และมีการเปลี่ยนแปลงเวลาจัดงานตามสภาพบริบทของสังคมสมัยใหมและวันสําคัญ ทางศาสนาจากเดิมจัดในเดือนเมษายนเปลี่ยนมาเปนเดือนพฤษภาคมของทุกป

รูปแบบการจัดงานนมัสการหลวงพอพระพุทธโกศัยสิริชัยมหาศากยมุนี จากแนวคิด ของคณะสงฆวัดพระบาทฯ หัวหนาสวนราชการ คณะกรรมการวัด และผูแทนชุมชน วัดพระ บาทฯ ที่เขารวมเสวนา พบวา มีแนวคิดที่สอดคลองกันเกี่ยวกับรูปแบบการจัดงาน กําหนดเปน ๕ ดานดังนี้

๑. ดานรูปแบบการจัดงานนมัสการพระพุทธโกศัยสิริชัยมหาศากยมุนี เปนลักษณะของ การจัดงานที่สืบสานประเพณีวัฒนธรรมดั้งเดิม คือ รูปแบบงานวัด งานบุญ งานทั่วๆไป โดย การบูรณาการกิจกรรมกับวิถีของงานวัดดั้งเดิมกับยุคสมัยใหม คือ

- รูปแบบงานวัด รูปแบบของงานวัดมีองคประกอบสําคัญ คือ ขบวนแห การจัดรูปขบวน แหเฉลิมฉลององคพระพุทธโกศัยฯ เปนขบวนแหของอําเภอตาง ๆ ของจังหวัดแพรทั้งแปด อําเภอ ที่แตงรูปขบวนโดยยึดเอกลักษณทางวัฒนธรรมทองถิ่นของอําเภอนั้นๆ นอมนําเครื่อง สักการะเพื่อบูชาหลวงพอพระพุทธโกศัยฯ เปนกิจกรรมภาคกลางวัน สวนกิจกรรมภาคกลางคืน ของงานวัด คือการจัดแสดงศิลปะการฟอนของภาคเหนือ การแสดงดนตรี การรองเพลงและ มหรสพอื่นๆ บนเวที

- รูปแบบงานบุญ เปนกิจกรรมสําคัญที่สอดคลองกับหลักทางทางพระพุทธศาสนา คือ เนนการจัดพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา และการจัดงานเปนชวงระยะเวลาของวันสําคัญ ทางพระพุทธศาสนา คือวันวิสาขบูชา กิจกรรมประกอบดวย การทําบุญตักบาตร การเทศน

มหาชาติ การสรงน้ําพระพุทธโกศัยฯ การหมผาพระพุทธโกศัย การสวดสรภัญญะ การจัด โตะหมูบูชาเครื่องสัตพรรณ ฯลฯ

- รูปแบบงานทั่วไป กิจกรรมที่จัดเสริมงานบุญและอนุรักษประเพณีวัฒนธรรม คือ การจัดนิทรรศการวันวิสาขบูชา การประกวดพระเครื่องเมืองแพรและบูชาเหรียญ การประกวดตีกลองปูจาของแตละอําเภอ การตีกลองสะบัดไชย การฟอนกลองอึดเมืองแพร

การประกวดเอาขวัญลูกแกวและการประกวดบรรยายธรรม

๒. ดานงบประมาณการจัดงาน พบวา มีผลกระทบในการจัดงานนมัสการพระพุทธ โกศัยฯ คอนขางมากทุกปเพราะไมมีงบประมาณที่ไดรับการจัดสรรสนับสนุนจากภาครัฐโดยตรง และมีภาครัฐที่สนับสนุนงบประมาณบางสวน คือ องคการบริหารสวนจังหวัด เทศบาลเมืองแพร

(9)

Journal of Graduate Studies Review MCU Phrae Vol. 2 No. 2 (July–December 2016) และงบประมาณในการจัดงานทุกปมาจากเงินสะสมของวัดจํานวนหนึ่งและเงินบริจาคที่ไดรับ จากประชาชนทั่วไปเทานั้น สวนสํานักพระพุทธศาสนาจังหวัดแพร วัฒนธรรมจังหวัดแพรและ การทองเที่ยวจะเปนองคองคกรภาครัฐที่มีสวนรวมสนับสนุนในดานศาสนพิธีกระบวนการ ขั้นตอนของงาน การติดตอประสานงานหนังสือราชการทุกสวนงานและการประชาสัมพันธดาน การทองเที่ยว

๓. ดานกิจกรรม พบวา เปนกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะศาสนพิธีนมัสการ พระพุทธโกศัย รอยพระพุทธบาท เจดียมิ่งเมือง การจัดนิทรรศการวันวิสาขบูชา และกิจกรรม ที่เนนวัฒนธรรมทองถิ่นเมืองแพร

๔. ดานการประชาสัมพันธ พบวา ไดรับความรวมมือจากองคกรในกลุมของ สื่อสารมวลชนในระดับหนึ่งอาจจะเปนเพราะระยะเวลาทําใหการประชาสัมพันธไมเปนไปตาม เปาประสงคของงานจากการสุมสัมภาษณแบบไมเปนทางการผูมารวมงานสวนใหญมารวมงาน นมัสการพระพุทธโกศัยฯนั้นมาตามประเพณีที่ยึดถือมาชานานของการจัดงานและอีกกลุมหนึ่ง มารวมงานเพราะเกิดจากการบอกกลาวตอเนื่องกันไป

๕. ดานระยะเวลา พบวา จากการจัดงานในแตละปเริ่มจากการจัดงาน ๓ วันตอมาเพิ่ม เปน ๕ วัน เปนระยะเวลาที่ยาวนานเกินไปจึงทําใหกิจกรรมตาง ๆ ที่จัดไดรับความสนใจ ไมมากเทาที่ควร อาจเปนเพราะวาสถานที่ตั้งของวัดอยูในใจกลางเมืองและแวดลอมไปดวย หนวยภาครัฐเกือบทั้งหมดและอยูในชวงเวลาราชการ ระยะเวลาที่เหมาะสมควรจัด ๓ วัน เปนระยะเวลาที่พอดี

๖. ดานการอํานวยความสะดวกทั่วไป พบวา สถานที่ของวัดคับแคบ สถานที่จอดรถ ไมเพียงพอ จึงทําใหการจัดกิจกรรมภาคกลางคืนไมเกาะกลุมในพื้นที่ของวัดทําใหขาดการ ตอเนื่องในการชมงาน เพราะมี ๒ เวที ทั้งพื้นที่ในวัดและสวนสุขภาพ สวนองคประกอบอื่น เชน มีการจัดอํานวยความสะดวกในบริเวณงาน

ผลการวิเคราะหขอมูลภาพรวมจากมากไปหานอยของผูตอบตอบแบบสอบถาม พบวา ระดับประเด็นความคิดเห็นของแบบสอบถามตอรูปแบบการจัดงานนมัสการพระพุทธโกศัยสิริ

ชัยมหาศากยมุนีวัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร จังหวัดแพรใน ๖ ดาน ในภาพรวมทุกดานอยูใน ระดับมากมีคาเฉลี่ย (x=๓.๔๓)เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ดานรูปแบบการจัดงาน มีคาเฉลี่ยมาก (x=๓.๗๙) รองลงมาคือดานงบประมาณ มีคาเฉลี่ย (x=๓.๗๔) และดานการ

(10)

๑๐ วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน มจร วิทยาเขตแพร ปที่ ๒ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม–ธันวาคม ๒๕๕๙) ประชาสัมพันธ มีคาเฉลี่ย (x=๓.๔๗) ดานกิจกรรมมีคาเฉลี่ย (x=๓.๓๗)และ ดานระยะเวลา ดานการใหบริการมีคาเฉลี่ย (x=๓.๑๒) สรุปผลการคาเฉลี่ยและคาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นตอรูปแบบการจัดงานนมัสการพระพุทธโกศัยสิริชัยมหาศากยมุนีวัดพระบาท มิ่งเมืองวรวิหาร จังหวัดแพรใน ทั้ง ๖ ดาน คือ

๑. ดานรูปแบบการจัดงาน เมื่อพิจารณาโดยรวม พบวา มีความพึงพอใจอยูในระดับ มากคิดเปนคาเฉลี่ย (x=๓.๘๙) เมื่อพิจารณาเปนรายขอพบวา ขอที่มีความพึงพอใจมาก เปนอันดับแรก คือลักษณะขบวนแหแสดงถึงศิลปะประเพณีและวัฒนธรรมทองถิ่นเหนือ คิด เปนคาเฉลี่ย (x=๔.๑๕) รองลงมา การจัดขบวนครั้งตอไปควรยิ่งใหญกวาเดิม คิดเปนคาเฉลี่ย (x=๔.๐๙) อันดับสาม คือ รูปแบบการจัดงานและขบวนแหมีความเหมาะสม คิดเปนคาเฉลี่ย (x=๓.๙๔) อันดับสี่ ขบวนแหควรจัดประจําทุกปและจัดในเวลาชวงเย็นและการแสดง ศิลปวัฒนธรรมทองถิ่นของแตละชุมชนเหมาะสม คิดเปนคาเฉลี่ย (x=๓.๙๑)และอันดับสุดทาย คือ พิธีสรงน้ําพระพุทธโกศัย คิดเปนคาเฉลี่ย (x=๓.๘๗) ตามลําดับ

๒. ดานงบประมาณ เมื่อพิจารณาโดยรวม พบวา มีความคิดเห็นอยูในระดับมาก คิดเปนคาเฉลี่ย (x=๓.๗๔, S.D.=๐.๙๑) เมื่อพิจารณาเปนรายขอพบวา ขอที่มีความพึงพอใจ มากเปนอันดับแรกคือ งบประมาณในการจัดงานสวนใหญมาจากการบริจาคของคณะศรัทธา และประชาชนทั่วไปคิดเปนคาเฉลี่ย (x=๓.๙๖) รองลงมาคือ การดําเนินโครงการของวัด ๘๐ เปนงบประมาณของวัดที่มีอยู คิดเปนคาเฉลี่ย (x=๓.๙๔) อันดับสามคือ การดําเนินโครงการ ของวัดไดรับการสนับสนุนงบประมาณจากหนวยงานที่เกี่ยวของ เชน สํานักงานวัฒนธรรม จังหวัดแพร คิดเปนคาเฉลี่ย (x=๓.๗๗) ตามลําดับ

๓. ดานกิจกรรม เมื่อพิจารณาโดยรวม พบวา มีความคิดเห็นอยูในระดับมาก คิดเปน คาเฉลี่ย (x=๓.๓๗, S.D.=๐.๕) เมื่อพิจารณาเปนรายขอพบวา ขอที่มีความคิดเห็นมาก เปนอันดับแรก คือ ศาสนพิธีนมัสการพระพุทธโกศัยพระพุทธบาทมิ่งเมืองและพระเจดียมิ่งเมือง คิดเปนคาเฉลี่ย (x=๓.๘๑) รองลงมาคือการจัดริ้วขบวนแหของคณะศรัทธาพุทธศาสนิกชน คิดเปนคาเฉลี่ย (x=๓.๖๔) อันดับสาม คือ การจัดนิทรรศการวันวิสาขบูชาการแสดงการจัด โตะหมูบูชา(เครื่องสัตพรรณ) มีใหชมตลอดงานคิดเปนคาเฉลี่ย (x=๓.๕๘) ตามลําดับ

๔. ดานประชาสัมพันธ เมื่อพิจารณาโดยรวม พบวา มีความคิดเห็นอยูในระดับมาก คิดเปนคาเฉลี่ย (x=๓.๔๗, S.D. =๑.๐๓) เมื่อพิจารณาเปนรายขอพบวา ขอที่มีความคิดเห็น

(11)

๑๑ Journal of Graduate Studies Review MCU Phrae Vol. 2 No. 2 (July–December 2016) มากเปนอันดับแรกคือ แผนพับใบปลิว คิดเปนคาเฉลี่ย (x=๓.๘๑) รองลงมา คือ รถแห

ประชาสัมพันธ คิดเปนคาเฉลี่ย (x=๓.๗๐) อันดับสาม คือ คือ สื่อโทรทัศน/เคเบิ้ล และสื่อ หนังสือพิม คิดเปนคาเฉลี่ย (x=๓.๖๘) ตามลําดับ

๕. ดานระยะเวลา เมื่อพิจารณาโดยรวม พบวา มีความคิดเห็นอยูในระดับมาก คิดเปนคาเฉลี่ย (x=๓.๑๒, S.D.=๐.๘๔) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา ขอที่มีความคิดเห็น มากเปนอันดับแรก คือ ระยะเวลาในการจัดงาน ๗ วันเหมาะสม คิดเปนคาเฉลี่ย (x=๓.๑๗)

รองงมาคือ ระยะเวลาในการจัดงาน ๓ วันเหมาะสมคิดเปนคาเฉลี่ย ( x=๓.๑๑) และระยะเวลาในการจัดงาน ๕ วันเหมาะสม คิดเปนคาเฉลี่ย (x=๓.๐๘) ตามลําดับ

๖. ดานการใหบริการ เมื่อพิจารณาโดยรวม พบวา มีความคิดเห็นอยูในระดับมาก คิด เปนคาเฉลี่ย (x=๓.๑๒) เมื่อพิจารณาเปนรายขอพบวา ขอที่มีความคิดเห็นมากเปนอันดับแรก คือ การดูแลความสงบเรียบรอยและความปลอดภัยในงานและบริเวณรอบนอกของการจัดงาน คิดเปนคาเฉลี่ย (x=๓.๓๔) รองลงมา คือ การควบคุมดูแลการจราจรตลอดงาน คิดเปนคาเฉลี่ย (x=๓.๒๖) อันดับสาม คือ การจัดใหมีการรักษาพยาบาล คิดเปนคาเฉลี่ย (x=๓.๒๑) ตามลําดับ

(12)

๑๒ วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน มจร วิทยาเขตแพร ปที่ ๒ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม–ธันวาคม ๒๕๕๙)

เอกสารอางอิง

กิติมา ปรีดีดิลก. ทฤษฎีบริหารองคกร. กรุงเทพฯ : ภาควิชาการบริหาร คณะศึกษาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรี นครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, ๒๕๔๒.

คณะกรรมการจัดทําหนังสือ. หนังสือพระมหาโพธิวงศาจาริยานุสรณ. แพร : เมืองแพรการพิมพ

, ๒๕๕๕.

ถวัลยรัฐ วรเทพพุฒิพงษ. การกําหนดและวิเคราะหนโยบายสาธารณะ: ทฤษฎีและการ ประยุกตใช. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพเสมาธรรม, ๒๕๔๐.

เทพพนม เมืองแมนและสวิง สุวรรณ. พฤติกรรมองคการ. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๒๙.

ธงชัย สันติวงษ. การบริหารงานบุคคล. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๓๙.

บุญชม ศรีสะอาด. การวิจัยเบื้องตน. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพชมรมเด็ก, ๒๕๓๓.

สมพงษ เกษมสิน. การบริหารงานบุคคลแผนใหม. (พิมพครั้งที่ ๓) กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๒๖.

สมิต สัชฌุกร. การตอบรับและการบริการที่เปนเลิศ. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพสายธาร, ๒๕๔๖.

เสถียร เหลืองอราม. มนุษยสัมพันธในองคกร. กรุงเทพฯ : หางหุนสวน จํากัด คุณพิน อักษรกิจ, ๒๕๒๖.

เสรี ชัดแชม. แบบจําลอง. ม.ป.ท, ๒๕๓๘.

อุทัย หิรัญโต. หลักการบริหารงานบุคคล. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร, ๒๕๒๓.

Referensi

Dokumen terkait

I หัวข้อเรื่อง การศึกษาความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรกองคลัง ส านักพระราชวัง นักศึกษา สุทธกร เฟื่องกรณ์ รหัสประจ าตัว 55830032 อาจารย์ที่ปรึกษา รองศาสตราจารย์นิพัทธ์