• Tidak ada hasil yang ditemukan

การบรรยายมีเนื้อหาที่ไม่มากเกินไป 4.88 0.33 มากที่สุด 3

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "การบรรยายมีเนื้อหาที่ไม่มากเกินไป 4.88 0.33 มากที่สุด 3"

Copied!
6
0
0

Teks penuh

(1)

บทที่ 4 ผลการวิจัย

โครงการวิจัยเรื่อง การตลาดดิจิทัลเพื่อส่งเสริมและยกระดับผลิตภัณฑ์เซรามิกจากเตา อินทขิล ชุมชนหมู่บ้านอินทขิล อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ ฉบับนี้ วัตถุประสงค์หลักมี

วัตถุประสงค์หลักเพื่อพัฒนาผู้ผลิตสินค้าในชุมชนเรียนรู้และลงมือปฏิบัติ ตามกระบวนการทางการ ตลาดิจิทัลเพื่อโอกาสทางการขายสินค้าผลิตภัณฑ์เซรามิกจากเตาอินทขิลและศึกษาความพึงพอใจของ ผู้ผลิตสินค้าในชุมชนภายหลังจากได้ใช้กระบวนการทางการตลาดิจิทัลเพื่อโอกาสทางการขายสินค้า ผลิตภัณฑ์เซรามิกจากเตาอินทขิลชุมชนหมู่บ้านอินทขิล อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ โดย กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชนอินทขิล เป็นต้นแบบในการดำเนินการวิจัย โดยใช้การ วิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเป็นเทคนิคหลักในการดำเนินการวิจัย ในส่วนบทที่ 4 จะกล่าวถึงผล การดำเนินโครงการวิจัย ประกอบด้วย บริบทของพื้นที่ศึกษา การดำเนินการด้านการตลาดดิจิทัล และการประเมินผลการใช้งานระบบ

4.1 การดำเนินการด้านการตลาดดิจิทัล

วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาผู้ผลิตสินค้าในชุมชนเรียนรู้และลงมือปฏิบัติ ตามกระบวนการ ทางการตลาดิจิตอลเพื่อโอกาสทางการขายสินค้าผลิตภัณฑ์เซรามิกจากเตาอินทขิล

จาการดำเนินงาน ได้พัฒนาผู้ผลิตสินค้าในชุมชน ให้เข้าใจและลงมือปฏิบัติ ในการสร้างช่อง ทางการขายสินค้าบนโทรศัพท์มือถือ โดยเป็นอุปกรณ์ที่ผู้เข้าร่วมทุกคนสามารถใช้งานได้และสามารถ ลงขายสินค้า ซึ่งทำให้สามารถเพิ่มช่องทางการจัดจำหน่ายสินค้าได้

ภาพที่ 4.1 แสดงหน้าจอการบรรยายการขายบน Marketplace

(2)

54

ภาพที่ 4.2 การลงมือปฏิบัติ ในการสร้างช่องทางการขายสินค้า

นอกจากนั้นทีมวิจัยได้สร้างเพจ อินทขิลแลนด์ ซึ่งจะเป็นช่องทางในการประชาสัมพันธ์ ให้

บุคคลทั่วไปสามารถรับรู้ข้อมูลเตาอินทขิล และสร้างชุมชนสื่อสังคมออนไลน์ ต่อยอดไปสู่การขาย สินค้าผ่านเพจ อินทขิลแลนด์ โดยปัจจุบันมียอดกดไลค์เพจ ประมาณ 3800 คน

โดยภายในเพจอนทขิลแลนด์ นั้นมีการสร้างคลิปวีดีโอ และภาพเนื้อหาเกี่ยวกับเตาอินทขิล และได้ทำการซื้อโฆษณาเพื่อแสดงให้เป็นตัวอย่างในการ โปรโมททำให้ประชาชนกลุ่มตัวอย่างได้เห็น กระบวนการและขั้นตอนของการทำการตลาดออนไลน์ ด้วยเพจอินทขิลแลนด์ โดยเมื่อเสร็จสิ้น โครงการก็จะมอบให้ตัวแทนชุมชนอินทขิลเพื่อใช้ประโยชน์ต่อไป

(3)

55

ภาพที่ 4.3 หน้าจอแสดงผู้กดไลค์เพจอินทขิลแลนด์

ภาพที่ 4.4 แสดงการซื้อโฆษณา เป็นตัวอย่างของการทำการตลาดออนไลน์

4.2 ผลการประเมินผล

วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ผลิตสินค้าในชุมชนภายหลังจากได้ใช้

กระบวนการทางการตลาดิจิตอลเพื่อโอกาสทางการขายสินค้าผลิตภัณฑ์เซรามิกจากเตาอินทขิล จากการอบรมกระบวนการทำการตลาดดิจิทัล ให้กับประชาชนกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 50 ท่าน และประเมินความพึงพอใจผู้ผลิตสินค้าในชุมชนภายหลังจากได้ใช้กระบวนการทางการตลาด ดิจิทัลเพื่อโอกาสทางการขายสินค้าผลิตภัณฑ์เซรามิกจากเตาอินทขิล โดยใช้แบบประเมินแบบ

(4)

56

ออนไลน์ ผลการศึกษาความพึงพอใจนี้ ได้วิเคราะห์จากแบบสอบถาม เพื่อศึกษาความพึงพอใจของ กลุ่มเป้าหมาย ซึ่งผู้วิจัยได้ดำเนินการสำรวจความพึงพอใจโดยแบ่งคะแนนระดับความพึงพอใจ ออกเป็น 5 ระดับ ดังนี้

5 หมายถึง มากที่สุด 4 หมายถึง มาก

3 หมายถึง ปานกลาง 2 หมายถึง น้อย 1 หมายถึง น้อยที่สุด

กำหนดค่าเฉลี่ยของความพึงพอใจเป็น 5 ระดับ ดังนี้

- ระดับคะแนนเฉลี่ย 4.51 – 5.00 ความพึงพอใจระดับมากที่สุด - ระดับคะแนนเฉลี่ย 3.51 – 4.50 ความพึงพอใจระดับมาก - ระดับคะแนนเฉลี่ย 2.51 – 3.50 ความพึงพอใจระดับปานกลาง - ระดับคะแนนเฉลี่ย 1.51 – 2.50 ความพึงพอใจระดับน้อย - ระดับคะแนนเฉลี่ย 0.00 – 1.50 ความพึงพอใจระดับน้อยที่สุด

ภาพที่ 4.5 การสำรวจประเมินความพึงพอใจผู้ผลิตสินค้าในชุมชนภายหลังจากได้ใช้กระบวนการทาง การตลาดดิจิทัลเพื่อโอกาสทางการขายสินค้าผลิตภัณฑ์เซรามิกจากเตาอินทขิล

ผลจากการศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายที่ใช้ โดยมีการสำรวจจากประชากรจำนวน 50 คน ได้ผลลัพธ์ แสดงดังตารางดังต่อไปนี้

(5)

57 ตารางที่ 4.1แสดงคะแนนความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่าง

จากตารางพบว่าค่าเฉลี่ย 𝑥̅ ในการประเมินความพึงพอใจผู้ผลิตสินค้าในชุมชนภายหลังจาก ได้ใช้กระบวนการทางการตลาดดิจิทัลเพื่อโอกาสทางการขายสินค้าผลิตภัณฑ์เซรามิกจากเตาอินทขิล พบว่ากลุ่มผู้ใช้งานจำนวน 50 คน มีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับ มากที่สุด(𝑥̅ = 4.83) และได้ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐานที่ (S.D.= 0.40)

รายการที่ประเมิน 𝑥̅ S.D. ระดับความพึงพอใจ ความพึงพอใจด้านเนื้อหา

1. การบรรยายเนื้อหาที่เข้าใจได้ง่าย 4.78 0.46 มากที่สุด

2. การบรรยายมีเนื้อหาที่ไม่มากเกินไป 4.88 0.33 มากที่สุด 3. การบรรยายเนื้อหามีการเข้าถึงได้ง่ายไม่ซับซ้อน 4.80 0.45 มากที่สุด ความพึงพอใจด้านวิทยากร

4. ความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ของ

วิทยากร 4.86 0.35 มากที่สุด

5. ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ 4.88 0.33 มากที่สุด 6. การจัดลำดับเนื้อหาวิชาเชื่อมโยงกันเหมาะสม และ

เป็นปัจจุบัน 4.88 0.33 มากที่สุด

7. เทคนิคการนำเสนอ และสื่อการสอนน่าสนใจ 4.86 0.35 มากที่สุด ความพอใจด้านการใช้งาน

8. หลังจากอบรมท่านสามารถขายบนโซเชียลมีเดียได้ 4.82 0.44 มากที่สุด 9. หลังจากอบรมท่านสามารถโปรโมทสินค้าได้ 4.66 0.52 มากที่สุด 10. หลังจากอบรมท่านสามารถเพิ่มช่องทางการตลาด 4.88 0.39 มากที่สุด 11. ท่านสามารถให้คำแนะนำกับผู้สนใจต่อ 4.66 0.52 มากที่สุด 12. ท่านได้นำองค์ความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 4.78 0.55 มากที่สุด ด้านความพึงพอใจโดยรวม

13. เอกสารประกอบคำบรรยาย 4.84 0.37 มากที่สุด

14. สถานที่การอบรม 4.88 0.33 มากที่สุด

15. กิจกรรมของการอบรม 4.84 0.37 มากที่สุด

รวม 4.83 0.40 มากที่สุด

(6)

58

4.3 การใช้ประโยชน์จากงานวิจัย

ในการใช้ประโยชน์ผู้วิจัยได้ จัดการอบรมการขายสินค้าผ่าน Marketplace ตลอดจนได้

แนะนำกระบวนการทางการตลาด เพื่อให้ประชาชนกลุ่มตัวอย่างสามารถเพิ่มช่องทางในการจัด จำหน่ายสินค้าและบริการต่างๆ ได้

ภาพที่ 4.6 ภาพกิจกรรมระหว่างการจัดอบรม

Referensi

Dokumen terkait

ผู้วิจัยและกลุ่มเป้าหมายจะน ามาหาบทสรุปร่วมกันเพื่อให้ทราบถึงบริบทการผลิตเมี่ยงของกลุ่ม เกษตรกรผู้ปลูกชาเมี่ยง บ้านปางมะกล้วย เพื่อให้เห็นถึงปัจจัยที่ท าให้เกิดความสูญเปล่าต่าง ๆ ใน