• Tidak ada hasil yang ditemukan

การพัฒนาที่ยั่งยืนโดยฐานทางประชากรเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "การพัฒนาที่ยั่งยืนโดยฐานทางประชากรเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม"

Copied!
16
0
0

Teks penuh

(1)

การพ ัฒนาที่ย ั่งยืนโดยฐานทางประชากรเศรษฐกิจและสิ่ง แวดล้อม

อาจารย์ชมพู โกติรัมย์

บทนำา

ปัจจุบันทั่วโลกต่างให ้ความสนใจเรื่องพัฒนาที่ยั่งยืนตาม นโยบายของคณะกรรมการด ้านส ิ่งแวดล ้อมและการพัฒนาแห่ง สหประชาชาติ (UNCED) ที่ได ้ประกาศไปเมื่อ พ.ศ.2530 เพื่อให ้ ประชากรโลกได ้ตระหนักถึงมหันตภัยทางสิ่งแวดล ้อมที่เกิดจากการ เจริญพันธุ์ของประชากรที่ขาดดุลยภาพ สำาหรับประเทศไทยได ้ กำาหนดในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 8 ระหว่าง ปี พ.ศ. 2540-2544 เพื่อให ้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยให ้ความ สำาคัญคนเป็นหลักในการพัฒนา เพื่อให ้คนมีคุณภาพและสมรรถนะใน การดูแลรักษาและจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล ้อม เพราะ ประชากรกับส ิ่งแวดล ้อมเป็นส ิ่งเชื่อมโยงกันอย่างใกล ้ช ิด ตามที่

United Nation Fund for Population Activities กล่าวว่า เมื่อ ประชากรของโลกเต ิบโตถ ึงระดับท ี่ไม่เคยปรากฏมาก ่อนใน ประวัติศาสตร์ และเมื่อการมีลักษณะแบบเมืองเพิ่มขึ้นอย่างไม่หยุดยั้ง ประกอบกับมีเทคโนโลยีที่ก่อให ้สิ้นเปลืองด ้านทรัพยากร ท่วงทำานอง ช ีว ิตที่ก่อให ้เก ิดความสูญเปล่ามากเก ินไป และการปฏ ิบัต ิทาง เศรษฐกิจที่ไม่เอื้ออำานวยต่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการ พัฒนาท ี่ยั่งย ืน ส ิ่งเหล่านี้จะส ่งผลท ี่ไม่เคยปรากฏมาก่อนต่อ บรรยากาศ ที่ดิน และป่าไม ้ แร่ธาตุ และพลังงาน มหาสมุทรและ คุณภาพชีวิต1

แนวคิดเกี่ยวก ับการพ ัฒนา

กล่าวได ้ว่าการพัฒนาเป็นสิ่งที่ทุกประเทศพึงปรารถนา หลาย คนให ้ความสำาคัญต่อการพัฒนาในทางเศรษฐกิจบ ้าง เทคโนโลยีบ ้าง แต่ถ ้าพิจารณาให ้รอบคอบแล ้ว การพัฒนาไม่ใช่เรื่องทางเศรษฐกิจ อย่างเดียว หากครอบคลุมไปถึงเรื่องอื่นๆ นอกเหนือจากด ้านวัตถุหรือ ด ้านเงินทองสำาหรับการดำารงชีวิตของมนุษย์ การพัฒนาถือได ้ว่า เป็นกระบวนการหลายมิติ ในปัจจุบันได ้มีแนวความคิดเกี่ยวกับการ พัฒนาอยู่หลายประการ เช่น เน ้นความเจริญเติบโตขยายตัวทาง เศรษฐกิจ ภาวะทันสมัย การพึ่งพิง การกระจายรายได ้ การเน ้นความ ต ้องการขั้นพื้นฐานในการพัฒนา การพัฒนาว่าด ้วยระบบของโลก และแนวคิดว่าด ้วยการพัฒนาแบบยั่งยืน เห็นได ้ว่าแนวความคิดดัง กล่าวบางทฤษฎีมีส่วนสัมพันธ์กันและขัดแย ้งกันอยู่ในตัว ทั้งนี้เกิด

(2)

จากการมองต่างวาระกัน แต่ทั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเหมือนกัน คือการ พัฒนา โดยเฉพาะกลุ่มประเทศกำาลังพัฒนาที่ต ้องพึ่งพิงเทคโนโลยี

ต่างๆ ที่ทันสมัย และระบบอุตสาหกรรมนิยมจากต่างชาติเพื่อให ้เกิด การกระจายได ้ ประชาชนอยู่ดีกินดี ยิ่งในปัจจุบันด ้วยแล ้ว โลกตกอยู่

ในกระแสแห่งการพัฒนาอยู่เสมอ เลยกลายเป็นว่าประเทศ และ ภูมิภาคต่างๆ เชื่อมโยงด ้วยเครือข่ายเดียวกัน คือเครือข่าย-

1 UNFPA United Nations Fund for Population Activities.

Population,Resources and The Environment: The Critical Challenges. (U.S.A. Automated Graphic Systems,1991) P. 120.

ความเป็นเมือง (Urban Network) โดยมีประเทศที่พัฒนาแล ้วเป็น แกนและคอยตักตวงผลประโยชน์จากส่วนที่ยังด ้อยพัฒนากว่าในรูป ของระบบทุนนิยม และระบบทุนนิยมนี้ยังคงมีอยู่ต่อไปตราบเท่าที่

โครงสร ้างของสังคมไม่เท่ากัน แต่มีความพยายามให ้เกิดการพัฒนา ให ้เท่าเทียมกัน

แต่ในช่วงทศวรรษที่ 1980 เหตุการณ์ได ้แปรเปลี่ยนไป ความ ค ิดแบบถอนรากถอนโคน (Radical Environmentalism) ถูก มองว่าเป็นความคิดที่ไม่สร ้างสรรค์ ไม่มีใครนำาไปปฏิบัติได ้ หลาย ฝ่ายเชื่อว่าระบบอุตสาหกรรมนิยมจำาเป็นต ้องขยายตัวต่อไป เพราะ เป็นระบบเดียวเท่านั้นที่สามารถนำาความเจริญรุ่งเรืองมาสู่มนุษยชาติ

ได ้ ในขณะเดียวกันโลกที่ยากจนก็ต ้องการหลุดพ ้นความทุกข์ยาก ประชาชนต ้องการมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ระบบเศรษฐกิจต ้องเป็นระบบ อุตสาหกรรมนิยมตามแบบฉบับของอารยธรรมตะวันตก ในวงการ วิชาการและธุรกิจหลายฝ่ายมีความเห็นว่าถ ้าเรามีการจัดการทางส ิ่ง แวดล ้อมที่มีประสิทธิภาพ เราก็อาจมีความเจริญก ้าวหน ้าได ้พร ้อมกับ การรักษาโลกธรรมชาติในเวลาเดียวกัน ในช่วงนี้เองได ้เริ่มมีการนำา เสนอแนวคิดใหม่ที่เรียกว่า การพัฒนาแบบยั่งยืน2

แนวคิดว่าด้วยการพ ัฒนาแบบย ั่งยืน

แนวคิดว่าด ้วยการพัฒนาแบบยั่งยืน เป็นแนวความคิดที่ได ้รับ ความนิยมมากในปัจจุบัน ตามที่ UNFPA ได ้รวบรวมคำาอธิบายเกี่ยว กับการพัฒนาแบบยั่งยืนดังนี้ การพัฒนาแบบยั่งยืนเป็นการพัฒนาที่

กระจายประโยชน์ของความก ้าวหน ้าทางเศรษฐกิจได ้อย่างทั่วถึง ตลอดจนเป็นการพัฒนาที่ปกป้องสิ่งแวดล ้อมในระดับท ้องถิ่นและใน ระดับโลกโดยรวมเพื่อชนรุ่นหลัง และเป็นการพัฒนาที่ทำาให ้คุณภาพ ชีวิตดีขึ้นอย่างแท ้จริง3 แนวคิดดังกล่าวเป็นการจุดประกายแห่งการ รักษามรดกทางทรัพยากรทางธรรมชาติ การทำาให ้คุณภาพของชีวิต

(3)

มนุษย์ดีขึ้น ในลักษณะเศรษฐกิจแบบยั่งยืนเป็นเศรษฐกิจที่ไม่ก่อให ้ เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศและรักษาทรัพยากรธรรมชาติไว ้ได ้ ซ ึ่ง เป็นการเปลี่ยนแปลงในเชิงคุณภาพในระบบของเศรษฐกิจในภาวะที่มี

ดุลยภาพทางระบบนิเวศวิทยา ประเด็นนี้น่าจะพิจารณาว่า ความยั่งยืน นั้นอยู่ที่ระดับ (Level) ของการนำาเอาทรัพยากรทางธรรมชาติไปใช ้ ยิ่งในสภาวะปัจจุบันที่การเปลี่ยนแปลงด ้านเศรษฐกิจที่เน ้นในเรื่อง คุณภาพจึงเป็นปัญหาว่าเท่าที่ทรัพยากรมีอยู่ ณ ปัจจุบัน และการนำา ไปใช ้เพื่อตอบสนองความต ้องการของมนุษย์นั้นทำาอย่างไรจึงจะเกิด การเปลี่ยนแปลงน ้อยที่สุด จากประเด็นนี้น่าจะนำาไปสู่ประเด็นอื่นๆ ที่

เกี่ยวข ้องกับเศรษฐกิจสิ่งแวดล ้อม

ประชากรก ับการพ ัฒนาแบบย ั่งยืน

ประชากรของประเทศนับว่าเป็นปัจจัยหลักสำาหรับการพัฒนา ทางสังคม เศรษฐกิจและส ิ่งแวดล ้อม ซึ่งเห็นได ้จากนโยบายการ พัฒนาประเทศ มุ่งที่จะลดภาวะการเจริญพันธุ์ แต่บางครั้งเกิดความ ขัดแย ้งในตัว เพราะการลดภาวะการเจริญพันธุ์มีผลกระทบต่อการ ขยายตัวทางเศรษฐก ิจหรือไม่ ประเด็นนี้ควรศ ึกษาเช่นเดียวกัน เนื่องจากโครงสร ้างทางเศรษฐกิจและสังคมนั้นล ้วนต ้องอาศัยทุน มนุษย์ ความ

2ปรีชา เปี่ยมพงศ์สาสนต์. เศรษฐศาสตร์สีเขียวเพื่อชีวิตและธรรมชาติ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 . 221.

3 เ ก ื้อ ว ง ค ์บ ุญ ส ิน. ป ร ะ ช า ก ร ก ับ ก า ร พ ัฒ น า. (ก ร ุง เ ท พ ฯ: จ ุฬ า ล ง ก ร ณ ์ มหาวิทยาลัย,2538) หน ้า 70.

สัมพันธ์ทางการค ้า การขยายตัวทางเศรษฐกิจและความยากจนของ คนในชาติ เมื่อประชากรเพิ่มขึ้น โดย

ไม่มีการควบคุมนั้นจะนำามาซึ่งความยากจน หากรัฐไม่มีงบประมาณ เพียงพอที่จะมาจัดสรรสิ่งอำานวยความสะดวกขั้นพื้นฐานให ้ ในขณะ เดียวกันหากประชากรในประเทศได ้รับการจัดสรรทางการศึกษาจาก รัฐเป็นอย่างดี ส่งผลให ้มีรายได ้มีโอกาสที่ดีกว่าด ้านอาชีพ เหล่านี้

ล ้วนส่งให ้สุขภาพของประชาชนดีขึ้นและอัตราการตายของทารกก็อยู่

ในระดับตำ่า มีแรงงานที่มีคุณภาพ สตรีมีฐานทางการเงิน สุขภาพดี

กลายมาเป็นตัวกำาหนดให ้ระดับภาวะการเจริญพันธุ์คงสูงอยู่ ดังนั้น ความยากจนและอัตราการเจริญพันธุ์สัมพันธ์กับโครงสร ้างทาง เศรษฐกิจและสังคม อาจกล่าวได ้ว่าการพัฒนามีความเป็นไปได ้หาก มีอัตราการเจริญพันธุ์ลดลง โดยกลุ่มประเทศในโลกที่สามซ ึ่งควร ดำาเนินการไปพร ้อมๆ กับนโยบายการวางแผนครอบครัว การ สาธารณสุข การพัฒนาชนบทและการศึกษา

(4)

ผลกระทบของการพ ัฒนาต่อภาวะการตาย

การศึกษาถึงผลกระทบของปัจจัยทางเศรษฐกิจสังคมที่มีต่อ ภาวะการตายนั้น โดยพิจารณาจากปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมที่

ต่างกัน เช่น

1.ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อมารดา เช่น อายุ จำานวนบุตร ช่วง ห่างการมีบุตร

2.มลภาวะสิ่งแวดล ้อม ซึ่งมีผลต่ออากาศเป็นพิษ นำ้าเสียซึ่งมี

ส่วนสำาคัญต่อโรคทางเดินอาหาร เป็นต ้น 3.การขาดสารอาหาร เช่น โปรตีน วิตามิน

4.การได ้รับอุบัติเหตุต่างๆ หรือการทำาร ้ายตัวเอง

5.การระวังและรักษาโรคของประชากรแต่ละบุคคล โดย พิจารณาทั้งในแง่ของการระวังและการรักษาโรค

ปัจจัยดังกล่าวมีผลต่อภาวะการตาย ซึ่งนำาเสนอเป็นรูปดังนี้

1.การวิจัยเชิงสังคมศาสตร์

2.การวิจัยเชิงการแพทย์

ที่มาจาก : Morsley and Chen (1984 : Figurel)4 4 เรื่องเดียวกัน หน ้า 114-115.

จากแนวเกี่ยวกับประชากรกับการพัฒนาที่ยั่งยืน ได ้ส่งผลต่อ การพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมส่งผลให ้รายได ้ของรัฐและครัว เรือนเพิ่มขึ้น ย่อมทำาให ้มาตรฐานการครองชีพและความเป็นอยู่ของ ประชากรดีขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ ้ารายได ้เฉลี่ยของประชากรนั้น เพิ่มขึ้นสูงกว่าระดับรายได ้ที่พอยังชีพได ้ตามปกติ ย่อมมีส่วนทำาให ้ อำานาจซื้อของครอบครัวที่มีต่อบริการทางการแพทย์และอนามัยสูง ข ึ้น การท ี่รัฐม ีรายได ้เพ ิ่มข ึ้นย ่อมส ัมพันธ ์ก ับการแพทย ์และ สาธารณสุขมีเพิ่มขึ้น และจะมีส่วนสัมพันธ์กับการลดภาวะการตาย ของประชากร

ปัจจัยทาง

ภาวะการ

ภาวะสิ่ง

แวดล ้อม การเจ็บป่วย

ขาดแคลน ภาวะการ

ตาย

การควบคุมสภาวะ การระวัง เทคโนโลยีการ

(5)

โดยทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศกำาลังพัฒนา งบด ้าน สาธารณสุขมักเป็นสัดส่วนน ้อย เมื่อเปรียบเทียบกับงบของรัฐทั้งหมด (International Bank for Reconstruction and Development, 1985) และมักจัดสรรให ้แก่เขตเมืองเป็นส่วน ใหญ่ โดยเฉพาะในโรงพยาบาลซ ึ่งประกอบด ้วยเทคโนโลยีการ แพทย์ขั้นสูงที่ต ้องใช ้งบประมาณค่อนข ้างมาก และผู ้ที่ใช ้บริการส่วน ใหญ่ก็มักเป็นผู ้ที่อยู่อาศัยในเมือง มีฐานะดี สาเหตุที่สำาคัญที่งบ ประมาณด ้านสาธารณสุขได ้รับสัดส่วนค่อนข ้างตำ่า ได ้แก่ การที่นัก วางแผนมักจะมีแนวคิดว่าค่าใช ้จ่ายด ้านสุขภาพเป็นค่าใช ้จ่ายเพื่อการ บร ิโภค (Consumption Expenditure) แทนท ี่จะพ ิจารณาว่า เป็นการลงทุนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ (Productive Investment) หรือเป็นการลงทุนด ้านสังคมต่อบุคคล (ซึ่งรวมทั้งทุนมนุษย์) ซึ่ง หมายถึง การศึกษา สุขภาพ และความชำานาญของแต่ละบุคคล 5 การกระจ่ายบริการด ้านสาธารณสุขให ้ประชากรส่วนใหญ่นับว่ามีส่วน สำาคัญเป็นอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศ

ผลกระทบของการพ ัฒนาต่อการย้ายถิ่น

ตามทฤษฎีเศรษฐศาสตร์เชื่อว่าเป็นเพราะประชาชนเห็นว่าเป็น ช่องทางในการสร ้างโอกาสทางเศรษฐกิจที่ดีกว่าพื้นที่เดิมทั้งทางราย ได ้ อาชีพ การศึกษา การได ้รับสาธารณสุขที่ดีกว่า เหล่านี้เป็นสิ่งคาด หวังในการย ้ายถ ิ่น ดังนั้น ความแตกต่างกันในระดับการพัฒนา เศรษฐกิจระหว่างเมืองและชนบทจึงเป็นส ิ่งที่รัฐควรใส่ใจมากเป็น พิเศษ ถ ้าต ้องการลดการลดการย ้ายถิ่นและเห็นการย ้ายถิ่นเป็นเหตุ

ของปัญหาบางอย่างในชุมชนเมือง และเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนา ซึ่งเห็นได ้จากการย ้ายถิ่นของประชาชนส่วนใหญ่เกิดจากปัจจัยทาง เศรษฐกิจ โดยเฉพาะกรุงเทพมหานครเป็นแหล่งรวมการพัฒนาและ กลายเป็นแรงดึงดูดการย ้ายถิ่นจากชนบทกลายเป็นการพัฒนาแบบ กระจุกตัวในเมือง ผลดังกล่าวได ้ก่อให ้เกิดภาวะการว่างงานหรือการมี

งานทำาในระดับตำ่าของกลุ่มผู ้ย ้ายถิ่น6

ดังนั้นการเน ้นการพัฒนาที่ไม่พิจารณาเงื่อนไขทางเศรษฐกิจ สังคมและความเท่าเทียมกันระหว่างชนบทกับเมือง ระหว่างภาคกับ ภาค ย่อมส่งผลให ้ความไม่เท่าเทียมกันทางสังคมสูงขึ้น

5 เรื่องเดียวกัน หน ้า 116.

6 Sjaatand, Larry. The Cost and Returns of Human Migration.

Journal of Political Economy 1992 . P 80.

(6)

อีกประการหนึ่งจากแนวคิดของทฤษฎีพึ่งพามองว่า โครงสร ้าง ข บ ว น ก า ร ข อ ง ร ะ บ บ ท ุน น ิย ม ข อ ง โ ล ก (Capitalist World System) เป็นสาเหตุสำาคัญของการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของ ประเทศใน

โลกที่สาม ระดับความเป็นเมืองที่อยู่ในระดับสูงเกินไปถูกมองว่าเป็น ผลมาจากปัญหาการเพิ่มของประชากรในระดับสูง ปัญหาการย ้ายถิ่น จากชนบทสู่เมืองและปัญหาความยากลำาบากในการทำาไร่ทำานา ซ ึ่ง แท ้ที่จริงแล ้วปัญหาระดับความเป็นเมืองที่สูงดังกล่าวมีผลสำาคัญ สืบทอดมาจากขบวนการสร ้างอาณานิคมในอดีต ตลอดจนการลงทุน ข ้ามชาติของประเทศที่พัฒนาแล ้ว ในปัจจุบันซึ่งเน ้นให ้ประเทศโลก ที่สามเปลี่ยนสถานภาพการผลิตด ้านเกษตรกรรมมาเป็นผลิตส ินค ้า อุตสาหกรรมต่างๆ เพื่อการส่งออกภายใต ้การกำากับดูแลด ้านราคา ซึ่ง เป็นการผูกขาดโดยบรรษัทข ้ามชาติอีกทีหนึ่ง การเน ้นผลิตสินค ้าต่าง เพื่อการส่งออกจะอาศัยเมืองใหญ่ๆ ในประเทศโลกที่สามเป็นเครือ ข่ายของบรรษัทข ้ามชาติ เพื่อผลิตส ินค ้าและส่งรายได ้กลับไปยัง บริษัทแม่ที่อยู่ในประเทศที่พัฒนาแล ้ว เครือข่ายบริษัทในโลกที่สาม จำาเป็นต ้องอยู่ในเมืองหลักที่สำาคัญๆ เพื่อให ้ง่ายต่อการผลิต การ ติดต่อและส่งรายได ้ดังกล่าว ดังนั้นเมืองเอกในประเทศโลกที่สาม จำาเป็นต ้องจ ้างงานที่ไร ้ฝีมือมากขึ้น เพื่อมาช่วยแรงงานวิชาชีพใน เมือง ดังนั้นการพัฒนาจึงเน ้นที่เมืองมากขึ้น ซ ึ่งส่งผลให ้เกิดความ ลำาเอียงในการพัฒนาระหว่างเขตเมืองและเขตชนบทและมีผลต่อการ ย ้ายถิ่นตามลำาดับ จะเห็นได ้ว่า กระบวนการพัฒนาส่งผลกระทบต่อ การย ้ายถิ่น ไม่ว่าจะพิจารณารากฐานทฤษฎีการพัฒนาภาวะทันสมัย หรือทฤษฎีการพึ่งพา ประชากรย ้ายถิ่นเพราะมีการคาดหวังว่าพื้นที่ที่

จะย ้ายไปอยู่ใหม่นั้นจะให ้โอกาสทางเศรษฐกิจดีกว่าเมื่อเปรียบเทียบ กับพื้นที่อยู่มาแต่เดิม 7 เมื่อพิจารณาจากทฤษฎีต่างๆ ที่ได ้นำาเสนอ แล ้วนั้น ประเทศไทยย่อมหลีกเลี่ยงการย ้ายถิ่นเข ้าสู่เมืองไม่ได ้ นาน วันจะทว ีปร ิมาณมากย ิ่งข ึ้นและยากต่อการแก ้ไข ทั้งนี้เพราะ กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์รวมหมดทุกอย่างของสังคมไทยทั้งการ ศ ึกษา การปกครอง เศรษฐก ิจ เป็นต ้น ดังนั้นเม ืองใหญ่เช ่น กรุงเทพมหานครจึงเป็นทั้งโอกาสและวิกฤตในตัวสำาหรับผู ้คิดจะย ้าย ถิ่นเพื่อความเสี่ยง โดยเฉพาะความเสี่ยงทางเงื่อนไขทางเศรษฐกิจ

(7)

ประชากรก ับการพ ัฒนาม ิต ิทางทร ัพยากรและส ิ่ง แวดล้อม

หากมองอย่างผิวเผินอาจเข ้าใจว่า สาขานิเวศวิทยาและการ พัฒนาทางเศรษฐกิจและประชากร เป็นสาขาวิชาที่แยกจากกัน ใน ความเป็นจริงทั้งสองศาสตร์นับว่ามีความสัมพันธ์กันยิ่ง เพราะเมื่อ ประเทศมีความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การขยายตัวทางเศรษฐกิจ อย่างรวดเร็วนั้นได ้ก่อให ้เกิดผลกระทบทางด ้านส ิ่งแวดล ้อมและ ทรัพยากรธรรมชาติ มองย ้อนกลับ ทรัพยากรทางธรรมชาติขาดแคลน สิ่งแวดล ้อมมีปัญหาย่อมส่งผลแระทบต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจ กรณีตัวอย่างเช่นประเทศไทยมีโครงสร ้างทางเศรษฐกิจที่มุ่งเน ้นทาง ด ้านอุตสาหกรรมและภาคบริการเป็นหลัก ได ้ทำาให ้สังคมชนบทอัน เป็น

7 เกื้อ วงศ์บุญสิน. เรื่องเดิม, หน ้า 126-127.

ส่วนของภาคเกษตรกรรมกำาลังกลายเป็นสังคมเมืองอุตสาหกรรม การ ขยายตัวทางด ้านอุตสาหกรรม ดังกล่าวนำามาซ ึ่งปัญหาหลาย ประการทั้งในด ้านระบบนิเวศและเศรษฐกิจสังคม เพราะการพัฒนาดัง กล่าวมีแนวโน ้มทำาลายทรัพยากรที่สำาคัญ กล่าวได ้ว่าการพัฒนาใน เชิงอุตสาหกรรมได ้ทำาให ้ทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมลงในเชิงปริมาณ และคุณภาพ สำาหรับภาคเกษตรกรรมมีความต ้องการต่อที่ดินเพื่อ การเกษตร แต่การขยายตัวทางอุตสาหกรรมและชุมชนเมืองก็มีความ ต ้องการที่ดินเพื่อที่อยู่อาศัย และประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่

มากขึ้น ได ้ไปทำาลายนำ้าและป่าอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได ้ ซ ึ่งผลต่อเนื่อง ทำาให ้ความยากจนจะทวีความรุนแรงมากขึ้น เกิดช่องว่างของรายได ้ ระหว่างประชากรในเขตชนบทและเขตเมือง เมื่อเป็นเช่นนี้การพัฒนา แบบยั่งยืน (Sustainable Development) นับว่าเป็นอุปสรรค อย่างยิ่งสำาหรับประเทศไทย ดังนั้นประชากรสัมพันธ์กับการรักษา ทรัพยากรอย่างไร และสร ้างความเข ้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาแบบยั่งยืน (Sustainable) เป็นประเด็นที่ควรศึกษาอย่างยิ่ง

การคงสภาพของทร ัพยากรทางธรรมชาติและการผลิต ทร ัพยากรทดแทน

ทรัพยากรทางธรรมชาติ เช่น นำ้า ป่าไม ้ ดิน พืชพันธุ์ต่างๆ รวม ทั้งสัตว์ป่า เป็นต ้น เป็นทรัพยากรที่สามารถทดแทนให ้คงสภาพเดิม ได ้ต ้องใช ้เวลานาน ทรัพยากรประเภทนี้จะไม่สูญหากอัตราการ บริโภคไม่ขยายตัวเกินกว่าที่ทรัพยากรทางธรรมชาติจะปรับตัวได ้

(8)

ส่วนทรัพยากรประเภทหมดแล ้วหมดเลย เช่น แร่ต่างๆ นับวันจะหมด ไปจากโลกแน่นอน ซึ่งเกิดจากการเพิ่มประชากรโลก และอัตราการ บริโภคของประชากรอยู่ในอัตราสูง อัตราการขยายตัวของที่ดินเพื่อ การเกษตรลดลง และปัญหาเรื่องที่ดินเสื่อมคุณภาพ นับว่าการเผา ผลาญทรัพยากรธรรมชาต ิเป็นกระบวนการพัฒนาเศรษฐก ิจ อุตสาหกรรมและการเพิ่มจำานวนประชากร ในที่สุดส ่งผลต่อส ิ่ง แวดล ้อมและเสื่อมสภาพของระบบนิเวศในเขตเมือง

ผลกระทบของการเพิ่มประชากรต่อทร ัพยากรและการ พ ัฒนาแบบย ั่งยืน

กับการการขยายตัวทางเศรษฐกิจควรสัมพันธ์กับการพัฒนาที่

ยั่งยืนนั้น ควรพิจารณาประชากรรูปแบบการบริโภค (หรือการผลิต) และเทคโนโลยีในส่วนที่เกี่ยวกับผลกระทบต่อสิ่งแวดล ้อมโดยอาศัย สมการดังต่อไปนี้

I = PAT โดยที่

I คือมาตรวัดผลกระทบต่อสิ่งแวดล ้อม P คือ ดัชนีประชากร

A คือ การบริโภคต่อหัวและ

T คือ มาตรวัดการทำาลายส ิ่งแวดล ้อมซ ึ่งผลจาก เทคโนโลยีที่ใช ้เพื่อการบริโภค

ประชากรเป็นกระบวนการเกี่ยวกับการพัฒนาส ิ่งแวดล ้อมเศรษฐกิจ สังคม เช่น คุณภาพชีวิตของประชากรและคุณภาพสิ่งแวดล ้อม ผลก ระทบดังกล่าวอาจเป็นในทางลบ ทั้งในสังคมที่มีลักษณะซึ่งประกอบ ด ้วยประชากรที่มีรายได ้สูง มีอัตราเพิ่มของประชากรในระดับสูง แต่

กลับมีเทคโนโลยีในระดับตำ่า และในสังคมที่มีลักษณะซึ่งประกอบ ด ้วยการมีอัตราการเพิ่มของประชากรในระดับตำ่า มีมาตรฐานการครอง ชีพสูง แต่มีความก ้าวหน ้าทางเทคโนโลยีเพียงเล็กน ้อยหรือไม่มีเลย ดังนั้น สิ่งแวดล ้อมที่เสื่อมคุณภาพลง

และการสิ้นสูญของทรัพยากรจะส่งผลกระทบทั้งในทางตรงและทาง อ ้อมต่อกระบวนการทางประชากร

อันได ้แก่ การตาย การเกิดและการย ้ายถิ่น8

ประชากรนับว่ามีบทบาทในการกำาหนดคุณค่าทางส ิ่งแวดล ้อม กล่าวคือถ ้าในอดีตประเทศไทยมีความเจริญเติบโตด ้านประชากรน ้อย ในปัจจุบันคงมีประชากรน ้อยกว่านี้ ความหนาแน่นของประชากรใน เขตเมือง ปัญหามลพิษคงน ้อยตามไปด ้วย การเพิ่มของประชากรได ้ มาจากผลบวกของจำานวนประชากรที่เพิ่มขึ้นตามธรรมชาติ (ผลต่าง

(9)

ของจำานวนเกิดและจำานวนตายกับการโยกย ้ายถิ่นสุทธิ) ดังนั้นการ แก ้ไขปัญหาการเพิ่มขึ้นของประชากรจึงขึ้นอยู่กับการควบคุมการ เจริญพันธุ์ของประชากร

หากพิจารณาในแง่ประเทศไทย นับว่ามีอัตราการเพิ่มประชากร ลดลง ประกอบกับก่อนพุทธศักราช 2540 ประเทศไทยมีการขยาย ตัวทางเศรษฐกิจ โดยมุ่งเน ้นในภาคอุตสาหกรรมเป็นหลัก ซ ึ่งได ้นำา มาซ ึ่งการเปล ี่ยนแปลงในเช ิงโครงสร ้างและคุณภาพ ในด ้าน โครงสร ้างการผลิตนั้น ทำาให ้ตลาดแรงงานที่มาจากภาคเกษตรกรรม ค่อยๆ เปลี่ยนไปในหลายประการ เช่น ในรูปแบบวิถีชีวิตและฐานแห่ง วัฒนธรรม ซ ึ่งบัดนี้ระบบอุตสาหกรรมดังกล่าวได ้มีส ่วนทำาลาย คุณภาพชีวิตแบบสังคมจารีต ส่วนในด ้านสิ่งแวดล ้อม โครงสร ้างการ ผลิตดังกล่าวได ้เพิ่มผลผลิตอย่างรวดเร็วเพื่อตอบสนองความต ้องการ ด ้านอุปโภคและบริโภคของประชากรที่เพิ่มขึ้น ฐานการผลิตที่ต ้อง อาศัยเทคโนโลยีอันทันสมัยที่มีศักยภาพในการทำาลายสิ่งแวดล ้อม อย่างรวดเร็วเช่นกัน บวกกับประเทศไทยในระยะเวลาที่ผ่านมามี

ยุทธว ิธีพัฒนาประเทศเพียงด ้านเดียวเป็นหลักนั่นคือ ภาคธุรก ิจ อุตสาหกรรมและรูปแบบการบริโภคและวิถีชีวิตที่ไม่เอื้อต่อการพัฒนา ประเทศแบบยั่งยืน

โ ด ย ท ั่ว ไ ป แ ล ้ว เ ร า ม ัก ถ ือ ว ่า ร า ย ไ ด ้แ ล ะ GDP (Gross domestic Product) เป็นเครื่องวัดประชากรในด ้านเศรษฐกิจ คือ ถือรายได ้ของมวลรวมประชากรเป็นสำาคัญ เมื่อประชากรมีรายได ้เพิ่ม ขึ้น ก็มีกำาลังการซื้อเพิ่ม เมื่อการซื้อเพิ่มขึ้นก็ไปกระตุ ้นการผลิตให ้ เพิ่มขึ้นตามไปด ้วย รวมทั้งการจ ้างงาน ซึ่งเป็นตัววัดการขยายตัว ข ้อ นี้ปฏิเสธไม่ได ้เพราะเศรษฐกิจถือว่าเป็นเส ้นเลือดของสังคม แต่ไม่

ควรมองข ้ามความจริงเพียงด ้านเดียว คือไม่ควรจำากัดแต่เพียงรูปของ ตัวเงิน แต่มีความจริงที่เกี่ยวกับประชากรประเทศชาติอยู่อีกด ้านหนึ่ง คือ ความคงอยู่ของทรัพยากรธรรมชาติ แหล่งนำ้า ป่าไม ้ ที่มีความ เชื่อมโยงระหว่างประชากรและการเสื่อมสูญ เมื่อผลลบทางเศรษฐกิจ เกิดขึ้น นั้นหมายถึงการเร่งการย ้ายถิ่นเข ้าสู่เมือง นำามาซึ่งการบีบคั้น ทางสิ่งแวดล ้อมในเมือง ประชากรเศรษฐกิจและส ิ่งแวดล ้อมนับว่า สัมพันธ์กันยิ่ง หากแต่ว่าในปัจจุบันความสัมพันธ์ดังกล่าวมักจะส่ง ผลกระทบต่อสิ่งแวดล ้อมและทรัพยากร กรณีตัวอย่างประเทศไทย อาจกล่าวได ้ว่าความสำาเร็จทางเศรษฐกิจนั้นส่วนหนึ่งเป็นเพราะไป ทำาลายทรัพยากรธรรมชาติและส ิ่งแวดล ้อมทรัพยากรถูกทำาลาย

(10)

ท่ามกลางความเติบโตทางเศรษฐกิจ ส ิ่งแวดล ้อมเป็นพิษ นับว่า ประเทศ-

8เรื่องเดียวกัน หน ้า 196.

ไทยเดินสวนทางการพัฒนาที่ละเลยความยั่งยืนของทรัพยากร

การขยายต ัวทางเศรษฐก ิจ ต ้นทุนทางส ังคมและส ิ่ง แวดล้อม

ในขณะที่ประเทศไทยกำาลังเดินทางสวนกระแสการพัฒนาแบบ ยั่งยืน ท่ามกลางการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ในความเป็นจริงแล ้ว GNP (Gross National Product) เป็นเครื่องวัดเกี่ยวกับการขยาย ตัวทางเศรษฐกิจอย่างเดียว แต่ไม่อาจบอกอะไรแก่เรามาเกี่ยวกับ ความเป็นอยู่ของประชาชน ความอุดมสมบูรณ์ ความสุขสมบูรณ์ของ สังคมหรือคุณภาพสิ่งแวดล ้อม อาจสรุปได ้ว่า

- GNP ที่สูงขึ้นไม่ได ้ชี้ให ้เห็นถึงคุณภาพชีวิตของประชาชน แต่อย่างใด

- GNP ไม่ได ้แสดงถึงการแบ่งทรัพยากร ทรัพย์สมบัติและราย ได ้ระหว่างกลุ่มชนในสังคม

- ใ น ต ัว เ ล ข ข อ ง GNP ย ัง ไม ่ไ ด ้ม ีก า ร ห ัก ค ่า เ ส ื่อ ม ข อ ง ทรัพยากรธรรมชาติ GNP ไม่ได ้แสดงให ้เห็นเลยว่าเพื่อให ้ ได ้มาซึ่งความเจริญและการขยายตัวทางเศรษฐกิจ

เ ร า ต ้อ ง ส ูญ เ ส ีย อ ะ ไ ร ไ ป บ ้า ง ใ น ส ่ว น ท ี่เ ก ี่ย ว ก ับ ทรัพยากรธรรมชาติ9 GNP เป็นเครื่องชี้ที่มีไว ้เพื่อกระตุ ้นให ้มีการ ขยายตัวทางเศรษฐกิจ คือเป็นตัวเร่งการผลิต กระตุ ้นการบริโภคการ ลงทุนเพื่อตอบสนองการบริโภค เป็นการเน ้นในเช ิงปริมาณ เพราะ ตามความเป็นจริงแล ้ว GNP จะสูงขึ้นสัมพันธ์กับมลภาวะ ขยะของ เสียอยู่เสมอ แต่เรามักชื่นชมกับการเพิ่ม GNP (Gross National Product) ที่สูงขึ้น เพราะเป็นการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ดูเหมือนว่า เป็นการลุ่มหลงในวัตถุนิยม ดูเหมือนว่าเป็นทางตันของการพัฒนา

ท า ง อ อ ก ท า ง เ ศ ร ษ ฐ ก ิจ แ บ บ ใ ห ม ่เ พ ื่อ ค ว า ม ค ง อ ย ู่ข อ ง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล ้อม ในปัจจุบันกระแสการเรียกร ้อง ทางสิ่งแวดล ้อมเพื่อเป็นทางออกใหม่ให ้สอดคล ้องประสานกับการจัด ระบบเศรษฐกิจแบบใหม่ที่เรียกว่า เศรษฐศาสตร์สีเขียว (Green Economics) เป็นแนวคิดที่ประสานระหว่างประชากร โลกธรรมชาติ

และเศรษฐศาสตร์เข ้าด ้วยกัน แต่เศรษฐศาสตร์ส ีเขียวเน ้นเรื่อง คุณภาพของประชาชน โดยศึกษาอะไรคือความต ้องการของมนุษย์ที่

(11)

ถูกปลุกให ้เต ้นไปตามกระแสระบบทุนนิยม ซ ึ่งพอสรุปแนวคิดของ เศรษฐศาสตร์สีเขียวได ้ดังนี้

- การสนองความต ้องการทางวัตถุไม่อาจทำาให ้มนุษย์หรือ สังคมมีความสุขสมบูรณ์มากขึ้นเท่าใดนัก

- นอกจากนั้นการแสวงหาวัตถุของคนกลุ่มหนึ่ง (ซึ่งแสวงหา แบบไร ้ขอบเขต) มีส่วนจะทำาให ้คนอีกกลุ่มหนึ่ง (ซึ่งเป็นคน ส่วนใหญ่ในสังคม) ตกอยู่ในความทุกข์ยาก เพราะคนส่วน น ้อยกลุ่มนั้นจะเอาทรัพยากรส่วนใหญ่ไปครอบครองและไป ใช ้เกือบหมด

เศรษฐศาสตร์สีเขียวยึดคำาพูดคานธีที่ว่า “โลกเรานี้มีทรัพยากรเพียง พอสำาหรับสนองความต ้องการของมนุษย์ แต่มีไม่พอสำาหรับความ โลภของมนุษย์”10 ในความหมายนี้จึงเป็นเรื่องของการจัดการทาง เศรษฐ-

9 ปรีชา เปี่ยมพงศ์สานต์. ส ิ่งแวดล ้อมและการพ ัฒนา. (กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย, 2540) หน ้า 162.

10 ปรีชา เปี่ยมพงศ์สานต์. เศรษฐศาสตร์สีเขียวเพื่อชีวิตและธรรมชาติ. (กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539) หน ้า 66.

กิจสังคมให ้ไปในทิศทางที่สนองความต ้องการที่แท ้จริงของมนุษย์

คือความต ้องการบริโภควัตถุ ท ้ายที่สุดมาลงที่ทำาลายวัตถุจนเกินขีด ความสามารถของทรัพยากรของโลกจะผลิตขึ้นมาทดแทนทันท ้าย ที่สุดมาลงที่ทำาลายวัตถุจนเกินขีดความสามารถของทรัพยากรของ โลกจะผลิตขึ้นมาทดแทนทันความต ้องการ และความต ้องการให ้ ระบบนิเวศยั่งยืนและยาวนาน ซึ่งจะต ้องมาเริ่มที่จิตสำานึกสร ้างระบบ เศรษฐกิจใหม่คือ

- ต ้องลดวิธีการผลิตทางอุตสาหกรรมที่ระบายของเสียและสาร มีพิษออกมาจำานวนมากมาย

- เน ้นหลักการพึ่งตนเองและความยั่งยืนยาวนาน โดยใช ้ระบบ การกระจายกิจกรรมทางเศรษฐกิจ

- มีการใช ้ทรัพยากรธรรมชาติที่ทดแทนใหม่ได ้ในปริมาณที่

เหมาะสมและรู ้จักอนุรักษ์ทรัพยากรที่ไม่สามารถหามาใหม่

ได ้

- ส่งเสริมการโยกย ้ายรายได ้ทรัพยากรปัจจัยการผลิตจากกลุ่ม ผู ้มั่งมีไปสู่กลุ่มผู ้ยากไร ้

- มีการสร ้างระบบการทำางานที่มีลักษณะสร ้างสรรและสร ้าง ความพึงพอใจแก่ผู ้ทำางาน

(12)

- การจัดการระบบเศรษฐกิจ ตั้งอยู่บนพื้นฐานของการสร ้าง องค์กรแบบสหกรณ์และใช ้เทคโนโลยีแบบใหม่ที่สอดคล ้อง กับการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล ้อม11

จากแนวค ิดท ี่ได ้นำาเสนอมาแล ้วนั้น เป็นการจัดการทางระบบ เศรษฐกิจใหม่ต ้องตอบสนองความต ้องการที่ประสานกับความสุขของ สังคมโดยไม่ละเลยสิ่งแวดล ้อม เพื่อให ้ได ้ผลผลิตมวลรวมของชาติที่

พึงอยู่ได ้ และธรรมชาติสิ่งแวดล ้อมก็ยังคงอยู่กับสังคมโลกต่อไป เรา ไม่อาจสรุปได ้ว่า ประชากรเป็นปัจจัยหลักที่ก่อให ้เกิดวิกฤตการณ์ทาง สิ่งแวดล ้อม แต่ทางออกที่ดีกว่าคือประชากรควรมีขนาดพอเหมาะสม กับ

- ระดับการผลิตสินค ้าให ้เพียงพอกับประชากรที่เพิ่มขึ้น

- ต ้นทุนแรงงาน ควรอยู่ในระดับเพียงพอ มิฉะนั้นจะส่งผลตาม มาคือ อัตราว่างงาน

- สิ่งแวดล ้อมจะคงอยู่ได ้ถ ้าประชากรเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว

ดังนั้นขอนำาเสนอรูปแบบการพัฒนาที่สอดคล ้องประสานระหว่าง ประชากร เศรษฐกิจและสิ่งแวดล ้อม

ที่มา : สำานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ12 11 ปรีชา เปี่ยมพงศ์สานต์. เรื่องเดียวก ัน หน้า 68.

12 ทับทิม วงศ์ประยูร. เศรษฐศาสตร์การพัฒนาเบื้องต ้น. (กรุงเทพฯ : ธรรมสารการพิมพ์, 2542) หน ้า 180.

จากตารางที่นำาเสนอข ้างบนนั้น แสดงว่าในกลุ่มประเทศพัฒนา แล ้วและค่อนข ้างพัฒนา เช่น ยุโรป อเมริกาเหนือและญี่ปุ่น ซึ่งมี

ประชากรน ้อยกว่า 1 ใน 3 ของประชากรโลก แต่มีระดับการบริโภค ค่อนข ้างสูง โดยเปรียบเทียบล ้วนแล ้วแต่เป็นตัวก่ออันตรายต่อสภาวะ แวดล ้อมของโลก ใช ้ทรัพยากรของโลกมากกว่า 5 ใน 6 ส่วน และ ปล่อยของเสียในรูปแบบต่างๆ เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มประเทศกำาลัง พัฒนาที่มีความเจริญเติบโตของประชากรสูง ได ้ก่อปัญหาในด ้าน เศรษฐกิจและการพัฒนาทางการเมือง รวมทั้งคุณภาพชีวิตเท่านั้น แต่กลับไม่เป็นตัวก่อปัญหาสิ่งแวดล ้อมมากนัก

เศรษฐกิจ

คน กาย สติปัญญา สังคมศาสตร์

การเมือ ครอบครั

ทรัพยากรธรรมชาติ

(13)

ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและสว ัสดิการ

ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เป็นกลไกที่สำาคัญในอันจะไป ถ ึงสวัสด ิการของมนุษย์ที่ดีข ึ้น จากแนวความคิดดังกล่าว John Manard Keynes ได ้กล่าวไว ้ใน ปี 1930 ด ้วยความสงสัยว่า ความ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ยั่งยืนนั้นสามารถจะเกิดได ้หลังจากที่มี

การปฏิวัติอุตสาหกรรม แต่คาดหวังได ้หรือไม่ว่าความเจริญเติบโตนี้

จะยั่งยืนยาวนานตลอดไป เพราะอาจมีเหตุบางอย่างเข ้ามาขัดจังหวะ เช่น ภาวะสงครามหรือภัยธรรมชาติ เป็นต ้น ความสำาเร็จในอันที่มี

ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจแบบยั่งยืนยาวนานนั้น สามารถจะ แก ้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจที่เรียกว่า ความขาดแคลนได ้เท่านั้น ใน ทัศนะของ Keynes กล่าวว่าจะต ้องมีการประหยัดเพื่อให ้สังคมมี

ความสุขในที่สุด เมื่อใดก็ตามมนุษย์ให ้วัตถุที่พึงประสงค์ทั้งหมดแล ้ว เขาจะไม่ปฏิบัติหน ้าที่ในสังคมอีกต่อไป ดังนั้น Keynes จึงเห็นว่า ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นสิ่งที่ดี แต่ไม่ใช่ดีในตัวของมัน เอง แต่ดีในแง่ที่ว่าเป็นพื้นฐานในอันที่จะทำาให ้ชีวิตมีความเป็นอยู่ที่ดี

ขึ้น13

ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเพื่อการพ ัฒนาที่ย ั่งยืน

นักเศรษฐศาสตร์ส่วนหนึ่งมีความเห็นว่า ความเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจมิได ้เพิ่มสวัสดิการความเป็นอยู่ของประชาชน แต่กลับ ทำาให ้สวัสดิการเลวลง ประเด็นที่เป็นข ้อโต ้แย ้งของการเพิ่มขึ้นอย่าง รวดเร็วของประชากรและผลผลิตคือ จะทำาให ้สิ่งมีชีวิตอื่นๆ สูญพันธ์

ไป กล่าวได ้ว่าส ิ่งต่างๆ ในโลกนี้มีคงที่และจะเริ่มขาดแคลนเมื่อมี

ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจมากขึ้น อุปสงค์ต่ออาหารที่เพิ่มขึ้น ของประชากรกลุ่มที่มั่งคั่งรำ่ารวยเป็นเหตุให ้ชาวนาต ้องใช ้ดินทุก ตารางนิ้วอย่างมีประสิทธิภาพ แต่ความจริงมีอยู่ว่า ที่ดินมีคงที่การ เพิ่มขึ้นของประชากรและผลผลิตจะทำาให ้ราคาของผลผลิตสูงขึ้น และกระตุ ้นให ้เจ ้าของที่ดินเพิ่มผลผลิตต่อไร่ให ้สูงขึ้น Mishan ได ้ เสนอให ้เห็นควา มแ ตกต ่า งระหว ่างคำา ว ่า Modernists แล ะ Environmentalists พวก Modernists ต ้องการบร ิโภคส ินค ้า และบริการให ้ได ้มากที่สุด ฉะนั้นพวกนี้จะชอบนโยบายทุกนโยบายที่

ทำาให ้อัตราการเจริญเติบโตของผลผลิตอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น พวกเขา ไม่สนใจต่อคุณภาพชีวิต เช่น เสียงรบกวนและความสับสนวุ่นวายของ การดำารงชีวิต ส่วนพวก Environmentalists เต็มใจที่จะสละความ

(14)

สะดวกสบายที่ได ้รับจากผลผลิตของเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อให ้ได ้มา ซึ่งความสุขมากขึ้น 14

14 วัฒนา สุวรรณแสง จันเจริญ. เศรษฐศาสตร์ส ิ่งแวดล ้อมและสุภาพ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2536.197.198.199

จากทัศนะที่ให ้ไว ้ข ้างต ้นจะเห็นว่าความขัดแย ้งระหว่างนัก เศรษฐศาสตร์สมัยนิยมที่เร่งการผลิตกระตุ ้นการบริโภค การลงทุน เพื่อตอบสนองการบริโภคกับนักอนุรักษ์นิยมที่เรียกร ้องความคงอยู่

ของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล ้อม แต่มาถึงปัจจุบันการพัฒนา ได ้มาถึงจุดตีบตัน สองแนวความคิดดังกล่าวควรประสานความคิดหา ทางออกจากจุดว ิกฤตทางการพัฒนา ส ิ่งจำาเป็นค ือ การปรับ ยุทธศาสตร์การพัฒนา ซ ึ่งจะต ้องมุ่งไปยังเรื่องความมั่นคงและ เสถียรภาพทางนิเวศ แต่ในขณะเดียวกันก็ไม่ละเลยเรื่องการปรับปรุง ชีวิตของผู ้ยากไร ้ทางด ้านเศรษฐกิจสังคม ซึ่งจะต ้องมีพื้นฐานการ พัฒนายั่งยืนยาวนาน (Sustainable Development) มีอยู่สอง มิติด ้วยกันคือ

1.สนองความต ้องการของมวลชนผู ้ยากไร ้ในชนบทและใน เมือง

2.วางขีดทางนิเวศให ้แก่กระบวนการพัฒนา เพื่อพิทักษ์รักษา ฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล ้อม15

ทางออกจากวิกฤตการณ์ทางสิ่งแวดล้อม

ฐานแห่งการพัฒนายั่งย ืนยาวนานนั้น หากมองทางด ้าน เศรษฐศาสตร์ ควรแสวงหาความยั่งยืนทางสิ่งแวดล ้อมและเศรษฐกิจ เพื่อรองรับประชากรในอนาคต คือ

1.ความยั่งยืน คือเป้าหมายหลัก มีเป้าหมายหลักเน ้นอนุรักษ์

สิ่งแวดล ้อม

2.ให ้ความสำาคัญแก่ทุนธรรมชาติ มีทุนในการรักษาทรัพยากร ที่มีอยู่ทางธรรมชาติให ้คงอยู่และใช ้ทุนไปบำารุงรักษาและ ทดแทนทรัพยากรธรรมชาติที่ถูกทำาลาย

3.ปฏิรูประบบการใช ้เครื่องมือและนโยบาย มีการสร ้างจูงใจให ้ ประชาชนมีจิตสำานึกในการรักษาทุนทางธรรมชาติ เช่น ภาษี

ทางนิเวศ คือลงโทษกิจกรรมที่เป็นภัยต่อสิ่งแวดล ้อมและให ้ รางวัลหรือเพิ่มภาษีส ิ่งแวดล ้อม แต่ลดภาษีรายได ้โดยที่

ภาระภาษีทั้งหมดอยู่เท่าเดิม

Referensi

Dokumen terkait

1นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 2 ที่ปรึกษาหลัก อาจารย์ประจ าสาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 3