• Tidak ada hasil yang ditemukan

การศึกษาความต องการการนิเทศการสอนของครูผู สอนที่ ... - O J E D

N/A
N/A
Nguyễn Gia Hào

Academic year: 2023

Membagikan "การศึกษาความต องการการนิเทศการสอนของครูผู สอนที่ ... - O J E D"

Copied!
13
0
0

Teks penuh

(1)

An Online Journal of Education http://www.edu.chula.ac.th/ojed

O J E D

OJED, Vol. 11, No. 4, 2016, pp. 93 - 105

การศึกษาความตองการการนิเทศการสอนของครูผูสอนที่จัดการเรียนการสอนแบบ STEM ในโครงการของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

A STUDY OF INSTRUCTIONAL SUPERVISION NEEDS OF TEACHERS TEACHING STEM IN THEPROJECT OF KING MONGKUT'S UNIVERSITY OF TECHNOLOGY THONBURI

นางสาวสุพรรณี หมุนรอด * Supannee Munrod ผศ.ดร.จุไรรัตน สุดรุง **

Asst. Prof. Jurairat Sudrung , Ph.D.

บทคัดยอ

การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความตองการการนิเทศการสอนของครูผูสอนที่จัดการเรียนการสอน แบบ STEM ในโครงการของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ประชากรที่ตอบแบบสอบถาม ไดแก ครูผูสอนที่

จัดการเรียนการสอนแบบ STEM ในโครงการของมหาวิทยาลัยพระจอมเกลาธนบุรี ปการศึกษา 2558 จากโรงเรียน 6 โรงเรียน ไดแก โรงเรียนวัดพุทธบูชา โรงเรียนบางปะกอกวิทยาคม โรงเรียนแจงรอนวิทยา โรงเรียนนาหลวง โรงเรียนวัด ราชโอรส และโรงเรียนราชประชาสมาสัย ฝายมัธยม รัชดาภิเษก ในพระบรมราชูปถัมภ จํานวน 45 คน เครื่องมือที่ใชใน การเก็บรวบรวมขอมูล คือ แบบสอบถามแบบมาตรประมาณคา 1 ฉบับการวิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติวิเคราะหขอมูลโดย การแจกแจงความถี่ คารอยละ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะหเนื้อหา

ผลการวิจัยพบวา ครูผูสอนที่จัดการเรียนการสอนแบบ STEM ในโครงการของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม เกลาธนบุรีมีความตองการการนิเทศการสอน โดยภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ดานที่มีความ ตองการที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ ดานการวัดผลและประเมินผล เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา ความตองการเปนอันดับแรก คือ การออกแบบเครื่องมือการวัดที่ถูกตองและเหมาะสมกับการจัดการเรียนการสอนแบบ STEM เชน การออกแบบ ทดสอบที่สรางสถานการณใหนักเรียนตอบ รองลงมาคือ ดานสื่อการเรียนการสอน เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา ความ ตองการเปนอันดับแรกคือ การวางแผนเพื่อใชสื่อใหเหมาะสมกับการจัดการเรียนการสอนแบบ STEM และความตองการที่

มีคาเฉลี่ยนอยที่สุดคือ ดานการเตรียมการสอน เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา ความตองการเปนอันดับแรกคือ การจัดทํา แผนการจัดการเรียนรูของ STEM

* นิสิตมหาบัณฑิตสาขาวิชานิเทศการศึกษาและพัฒนาหลักสูตร ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเป็นผู้นําทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย E-mail Address: mew_orgy@hotmail.com

** อาจารยประจําสาขาวิชาสาขาวิชานิเทศการศึกษาและพัฒนาหลักสูตร ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเป็นผู้นําทางการศึกษา คณะ ครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย E-mail Address: jurairat.su@chula.ac.th

ISSN1905-4491 วารสารอิเล็กทรอนิกส

ทางการศึกษา

(2)

Abstract

The purpose of this research was to study the instructional supervision needs of teachers teaching STEM in the project of King Mongkut's University of Technology Thonburi. The population were 45 of the teachers teaching STEM in the project of King Mongkut's University of Technology Thonburi 6 schools of Wat Phutthabucha School, Bangpakokwitthayakom School, Chaengronwitthaya School, Naluang School, Watrajaoros School, and RajPracha Samasai School Under The Royal Patroange Of His Majesty The King. Data was collected via questionnaire; the first edition analyzes the data using statistical analysis of the data by frequency, percentage, mean, standard deviation and content analysis.

The results showed that STEM teachers in the project of King Mongkut's University of Technology Thonburi have instructional supervision needs. The overall high level. Considering each side Found that the demand side is the first that measurement and evaluation. It was found that the first demand is met, which is the need for instruments designed for correctly and appropriately measuring for learning and teaching for in the STEM Program. For example, simulation tests are designed for students to answer. The second demand is instruction media. In conclusion, when considered by the priority, the most important is planning to use instruction media that is suitable for STEM program, and the final ranking is teaching preparation of lesson plans of STEM program.

คําสําคัญ: ความตองการ/ การนิเทศการสอน/ ครูผูสอนที่จัดการเรียนการสอนแบบ STEM KEYWORDS: NEEDS/ INSTRUCTIONAL/TEACHERS TEACHING STEM

บทนํา

ในประเทศไทยการจัดการเรียนรูวิทยาศาสตรยังประสบปญหาสําคัญที่นักการศึกษาใหความสําคัญ และเรงหาแนวทางแกไขและปรับปรุง คือ นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตรอยูในระดับต่ํา จาก การประเมินระดับนานาชาติ PISA เมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ ที่เขารวมการประเมิน นอกจากนั้นการจัด การ เรียนรูในโรงเรียนสวนใหญก็ยังไมเนนการเชื่อมโยงความรูที่ทําใหตระหนักถึงความสําคัญของเนื้อหาที่เรียนวา สามารถนําไปใชใหเกิดประโยชนในการดําเนินชีวิตได รวมทั้งการจัดการเรียนรูในแตละกลุมสาระการเรียนรูยัง เปนแบบแยกสวน ทําใหนักเรียนไมสามารถบูรณาการความรูไปใชในการสรางนวัตกรรมได (สถาบันสงเสริม การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.), 2556) ในอดีตการเรียนวิทยาศาสตร (Science) คณิตศาสตร

(Mathematics) และเทคโนโลยี (Technology) ในโรงเรียนเปนการเรียนรูที่แยกออกจากกันอยางอิสระ การเรียนรูดวยแนวทางดังกลาว ทําใหผูเรียนไมเห็นวาวิทยาศาสตรหรือคณิตศาสตรมีความเกี่ยวของกับ ชีวิตประจําวัน เกิดความเบื่อหนายในการเรียนและขาดทักษะในการนําสิ่งที่ไดเรียนไปประยุกตใชในชีวิตจริง อยางไรก็ดี เมื่อไมกี่ปที่ผานมานี้ไดมีกลุมของนักการศึกษาและนักวิชาการในประเทศสหรัฐอเมริกาพยายาม ผลักดันใหการเรียนรูวิชาวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี ซึ่งเปนวิชาที่มีความสําคัญอยางยิ่งตอการ พัฒนาประเทศไดเปนการเรียนรูแบบบูรณาการมากขึ้นพรอมทั้งใหมีการเนนวิชาวิศวกรรมศาสตร

(Engineering ซึ่งเปนตัวอักษร “E” ใน STEM) โดยเสนอใหใชวิชาวิศวกรรมศาสตรเปนตัวประสานให ดังนั้น

(3)

จึงอาจกลาวไดวา แนวทาง STEM Education แบบบูรณาการเปนอีกแนวทางหนึ่งที่จะชวยแกปญหา ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนไทยทางดานการเรียนวิทยาศาสตร คณิตศาสตร ที่มีแนวโนมลดต่ําลงเรื่อยๆ และชวย แกปญหาการขาดแคลนทรัพยากรบุคคลในดาน STEM ที่ประเทศชาติตองการอยางมากในการพัฒนา เศรษฐกิจ สังคม ความมั่นคงในโลกศตวรรษที่ 21 (รักษพล ธนานุวงศ, 2556)

การจัดการเรียนรูแบบ STEM เปนการบูรณาการระหวางศาสตรสาขาตาง ๆ ไดแก วิทยาศาสตร

(Science) เทคโนโลยี (Technology) วิศวกรรมศาสตร (Engineering) และคณิตศาสตร (Mathematics) เพื่อใหนักเรียนนําความรูทุกแขนงมาใชในการแกปญหา การคนควาสิ่งตาง ๆ การสรางหรือพัฒนาสิ่งตาง ๆ ในสถานการณโลกปจจุบัน และการกระตุนใหนักเรียนเกิดความสนใจในวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร เห็น แนวทางการนําเนื้อหาไปประยุกตใชในเทคโนโลยีสําคัญ ชวยใหนักเรียนมองเห็นเสนทางอาชีพทางดาน วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีได (กลุมงานวิจัย คณะครุศาสตรอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี, 2557)

สํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหงชาติ (สวทน.) จึงไดริเริ่ม กิจกรรมพัฒนาหลักสูตรดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมใหสอดคลองกับการเพิ่มขีดความสามารถ ในการแขงขันของประเทศ มีความมุงหมายเพื่อที่จะพัฒนาชุดตนแบบการเรียนรูที่สามารถพัฒนาผูเรียนใหมี

ความสามารถในการบูรณาการความรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเขากับประเด็นปญหาในสถานการณจริง โดย ใชหัวขอ “เทคโนโลยีรถไฟฟา และโลจิสติกส” เปนสื่อและประเด็นตั้งตนของการเรียนรู เพื่อเกิดการพัฒนา ทักษะที่สอดคลองกับการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 กระตุนผูเรียนใหเกิดความสนใจและทัศนคติที่ดีตอ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี นําไปสูการเพิ่มสัดสวนผูศึกษาตอระดับอุดมศึกษาในสายวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี เกิดการสรางบัณฑิตดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่มีคุณภาพสูงและมีจํานวนเพียงพอเพื่อรองรับ การพัฒนาประเทศ และนําไปสูการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศในอนาคต

ในการนี้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี (มจธ.) โดยคณะครุศาสตรอุตสาหกรรมและ เทคโนโลยีและคณะวิทยาศาสตร ซึ่งมีความเชี่ยวชาญทั้งในองคความรูดานเทคโนโลยีรถไฟฟา และโลจิสติกส

รวมถึงทั้งมีประสบการณในการพัฒนาการเรียนการสอนดานวิทยาศาสตรและคณิตศาสตรในระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ไดพัฒนาและจัดทํากระบวนการหรือกิจกรรมการเรียนการสอนตนแบบเพื่อตอบโจทยการเรียนรู

ในศตวรรษที่ 21 ซึ่งประกอบดวยเนื้อหา เอกสารประกอบการเรียนการสอน สื่อการสอนเบื้องตนสําหรับ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รวมถึงคูมือการเรียนการสอนและคูมือเนื้อหาสําหรับโมดูล การเรียนรู

สําหรับครูผูสอน จํานวนทั้งสิ้น 16 โมดูล โดยมีการบูรณาการเขากับเนื้อหาวิชาวิทยาศาสตร เทคโนโลยี

คณิตศาสตรในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และเชื่อมโยงเขากับทักษะดานวิศวกรรมศาสตร โดยมีวิชา เทคโนโลยีรถไฟฟา และโลจิสติกส เปนวิชานํารองรวมวางแนวทางการพัฒนาครูผูสอนวิชาวิทยาศาสตร

คณิตศาสตร เทคโนโลยีหรือวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวของในโรงเรียนนํารองทั้งหมด 6 โรงเรียน ไดแก โรงเรียนวัดพุทธ บูชา โรงเรียนบางปะกอกวิทยาคม โรงเรียนแจงรอนวิทยา โรงเรียนนาหลวง โรงเรียนวัดราชโอรสและโรงเรียน ราชประชาสมาสัย ฝายมัธยม รัชดาภิเษก ในพระบรมราชูปถัมภ และไดนําโครงการไปใชในโรงเรียนนํารอง

(4)

ทั้ง 6 โรงเรียน ในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2557 (สํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยี

และนวัตกรรมแหงชาติ (สวทน.), 2557)

วัตถุประสงคของการจัดการศึกษา STEM คือ ครูผูสอนที่ทําหนาที่เปน facilitator อยางแทจริง คือ ทําหนาที่กระตุนการเรียนรู และครูเปนผูอํานวยความสะดวกในกระบวนการเรียนรู (Learning Facilitator) ซึ่งมีลักษณะแตกตางจากการเรียนการสอนที่มีครูเปนศูนยกลาง (Teacher’s Center) และการเรียนการสอน ดําเนินไปไดอยางมีประสิทธิภาพ ครูจะตองมีการเตรียมแผนการสอนอยางถูกตอง มีการเลือกจัดกระบวนการ เรียนการสอนที่เหมาะสมกับเนื้อหาและทักษะที่ตองการพัฒนา (กลุมงานวิจัย คณะครุศาสตรอุตสาหกรรมและ เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี, 2557)

การจัดการเรียนการสอนแบบ STEM นั้นเปนรูปแบบการสอนที่ใหมสําหรับประเทศไทย ครูผูสอนยัง ไมมีแนวทางการปฏิบัติที่แนนอนและไมมีการนิเทศการสอนที่ชัดเจน และจากการดําเนินการจัดการเรียนการ สอนแบบ STEM ของแตละโรงเรียนนั้น มีบางโรงเรียนที่ประสบความสําเร็จเนื่องจากครูผูสอนคอนขาง จะเล็งเห็นความสําคัญของการจัดการเรียนรู เขาใจรูปแบบของการเรียนรู และพรอมที่จัดการเรียนรูใหกับทาง โครงการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี แตก็ยังมีบางโรงเรียนที่ครูผูสอนเกิด ปญหาในการจัดการเรียนการสอนแบบ STEM คือ มีความเขาใจคลาดเคลื่อนในดานของวัตถุประสงคของ โครงการ ทําใหความสนใจในตัวรูปแบบการเรียนรูยังไมดีนัก ประกอบกับรูปแบบแนวทางการปฏิบัติงานของ ครูตามบริบทของโรงเรียนทําใหครูสวนมากมักปฏิบัติตามแนวทางและนโยบายของผูบริหาร จึงอาจจะทําให

เกิดการมองขามในดานความสําคัญและที่มาของการจัดทํา อีกทั้งในเรื่องกระบวนการเรียนรูที่ครูสวนมากยัง มองวาเปนเรื่อง เทคโนโลยีระดับสูงและมีความยาก ประกอบกับภาระหนาที่ตาง ๆ ภายในโรงเรียน ทําใหครู

บางสวนเกิดความรูสึกเหนื่อยและลา และครูยังคงมีความกังวลเกี่ยวกับประสิทธิภาพเกี่ยวกับการจัด กระบวนการเรียนรูของตน อันเนื่องมาจากจํานวนภาระงาน และความถนัดที่ครูในโรงเรียนนํารองสวนมากจะ เปนผูที่มีความเชี่ยวชาญทางดานการสอนดวยวิธีบรรยาย ประกอบกับวัสดุ อุปกรณ และความเหมาะสมของ อัตราสวนของนักเรียนตอหองเรียน ที่โรงเรียนสวนมากยังไมพรอม (ณัฐวุฒิ คุมทอง, 2557)

ดังนั้น จากสภาพปญหาดังกลาวผูวิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาความตองการการนิเทศการสอนของ ครูผูสอนที่จัดการเรียนการสอนแบบ STEM ในโครงการของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

ซึ่งผลการวิจัยที่ไดจะเกิดประโยชนตอการดําเนินการนิเทศการสอนของการจัดการเรียนการสอนแบบ STEM ครูผูสอนนําไปใชในการปฏิบัติงานในวิชาชีพ เพื่อจะทําใหครูสามารถพัฒนางานสอนใหมีคุณภาพ ซึ่งจะเกิด ประโยชนตอการพัฒนานักเรียนใหมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและมีทักษะในการดํารงชีวิตที่ดีขึ้น

วัตถุประสงค

เพื่อศึกษาความตองการการนิเทศการสอนของครูผูสอนที่จัดการเรียนการสอนแบบ STEM ในโครงการของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

(5)

ขอบเขตของการวิจัย

ในการศึกษาครั้งนี้ ผูวิจัยศึกษาความตองการการนิเทศการสอนของครูผูสอนที่จัดการเรียนการสอน แบบ STEM ในโครงการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ซึ่งมีขอบเขตการวิจัยดังนี้

1. ขอบเขตดานประชากร คือ ครูผูสอนที่จัดการเรียนการสอนแบบ STEM ในโครงการของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ปการศึกษา 2558 จากโรงเรียน 6 โรงเรียน ไดแก โรงเรียนวัด พุทธบูชา โรงเรียนบางปะกอกวิทยาคม โรงเรียนแจงรอนวิทยา โรงเรียนนาหลวง โรงเรียนวัดราชโอรส และ โรงเรียนราชประชาสมาสัย ฝายมัธยม รัชดาภิเษก ในพระบรมราชูปถัมภ จํานวน 45 คน

2. ขอบเขตดานเนื้อหา การศึกษาความตองการการนิเทศการสอนของครูผูสอนที่จัดการเรียน การสอนแบบ STEM ในโครงการของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี 5 ดาน ผูวิจัยใชกรอบเนื้อหา ที่เปนองคประกอบของการจัดการเรียนการสอนของ จําเนียร ศิลปวานิช 5 ดาน คือ (จําเนียร ศิลปวานิช, 2538)

1. ดานหลักสูตร

2. ดานการเตรียมการสอน

3. ดานกิจกรรมการเรียนการสอนและเทคนิควิธีสอน 4. ดานสื่อการเรียนการสอน

5. ดานการวัดผลและประเมินผล วิธีดําเนินการวิจัย

ประชากร

ครูผูสอนที่จัดการเรียนการสอนแบบ STEM ในโครงการของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา ธนบุรี ปการศึกษา 2558 จากโรงเรียน 6 โรงเรียน ไดแก โรงเรียนวัดพุทธบูชา โรงเรียนบางปะกอกวิทยาคม โรงเรียนแจงรอนวิทยา โรงเรียนนาหลวง โรงเรียนวัดราชโอรส และโรงเรียนราชประชาสมาสัย ฝายมัธยม รัชดาภิเษก ในพระบรมราชูปถัมภ จํานวน 45 คน

เครื่องมือที่ใชในการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้ใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูลโดยเปนแบบสอบถามที่ผูวิจัย สรางขึ้น แบงออกเปน 3 ตอน

ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม ไดแก เพศ อายุ วุฒิทางการศึกษา ตําแหนง ระยะเวลาในการปฏิบัติงานหนาที่ในโรงเรียน เปนแบบตรวจสอบรายการ (Check list)

ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับความตองการการนิเทศการสอน 5 ดาน เปนแบบมาตรประมาณคา (Rating Scale) มี 5 ระดับ

ตอนที่ 3 ขอมูลความคิดเห็นและขอเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับความตองการการนิเทศการสอนของ ครูผูสอนที่จัดการเรียนการสอนแบบ STEM เปนแบบสอบถามปลายเปด

(6)

การสรางและหาคุณภาพของเครื่องมือ

เครื่องมือที่ใชในการวิจัย เปนแบบสอบถามที่ผูวิจัยสรางขึ้นเอง โดยมีขั้นตอนในการสรางดังนี้

1. ศึกษาเอกสาร ตํารา บทความและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับความตองการการนิเทศการสอนและ การจัดการเรียนการสอนแบบ STEM เพื่อกําหนดเปนกรอบแนวคิดในการสรางแบบสอบถาม

2. ผูวิจัยสรางแบบสอบถามแลวนําเสนออาจารยที่ปรึกษา เพื่อรวมกันพิจารณาความถูกตองครบถวน ตามกรอบแนวคิดและตรวจแกไขภาษาใหชัดเจนและเขาใจ

3. ผูวิจัยนําแบบสอบถามมาปรับปรุงแกไขตามคําแนะนําและนําเสนออาจารยที่ปรึกษาอีกครั้ง 4. นําแบบสอบถามไปใชกับประชากร

การวิเคราะหขอมูล

ผูวิจัยดําเนินการวิเคราะหขอมูล มีรายละเอียดดังนี้

ตอนที่ 1 ขอมูลดานสถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม วิเคราะหโดยการแจกแจงความถี่ คารอยละ แลวนําเสนอในรูปตารางประกอบการบรรยาย

ตอนที่ 2 ขอมูลระดับความตองการการนิเทศการสอนของครูผูสอนที่จัดการเรียนการสอนแบบ STEM มีลักษณะเปนแบบมาตรประมาณคา (Rating Scale) วิเคราะหขอมูลดวยการหาคาเฉลี่ย (Mean) และสวน เบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) แลวนําเสนอในรูปตารางประกอบการบรรยาย

ตอนที่ 3 ขอมูลความคิดเห็นและขอเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับความตองการการนิเทศการสอนของ ครูผูสอนที่จัดการเรียนการสอนแบบ STEM เปนแบบสอบถามปลายเปด วิเคราะหขอมูลโดยการวิเคราะห

เนื้อหา นําเสนอในรูปการบรรยาย ผลการวิจัย

ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับสถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม

ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนเพศหญิง คิดเปนรอยละ 66.67 มีอายุระหวาง 31-40 ป คิดเปน รอยละ 35.56 มีวุฒิทางการศึกษาระดับปริญญาตรี คิดเปนรอยละ 71.11 ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญ

มีตําแหนง ครู คศ. 1 คิดเปนรอยละ 33.33 สวนใหญมีระยะเวลาในการปฏิบัติหนาที่ในโรงเรียน ไมเกิน 10 ป

คิดเปนรอยละ 46.67

ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะหความตองการการนิเทศการสอนของครูผูสอนที่จัดการเรียนการสอนแบบ STEM ในโครงการของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

ผลการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับระดับความตองการการนิเทศการสอนของครูผูสอนที่จัดการเรียน การสอนแบบ STEM ในโครงการของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ในภาพรวม พบวา ครูผูสอน มีความตองการการนิเทศการสอน อยูในระดับมาก มีคาเฉลี่ย 4.26 เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ทุกดานมี

ความตองการอยูในระดับมาก โดยดานที่มีความตองการเปนอันดับแรกคือ ดานการวัดผลและประเมินผล

(7)

มีคาเฉลี่ย 4.36 รองลงมาคือ ดานสื่อการเรียนการสอน มีคาเฉลี่ย 4.31 และอันดับสุดทายคือดานการ เตรียมการสอน มีคาเฉลี่ย 4.14

ดานหลักสูตร พบวา ครูผูสอนมีความตองการการนิเทศการสอน ดานหลักสูตรในภาพรวมอยูในระดับ มาก โดยมีคาเฉลี่ย 4.20 เมื่อพิจารณาความตองการเปนรายขอ พบวา ความตองการเปนอันดับแรกคือ การจัด กิจกรรมในหลักสูตรเพื่อพัฒนาทักษะดานตางๆ ของนักเรียนที่เรียน STEM มีคาเฉลี่ย 4.38 รองลงมาคือ ความรูเกี่ยวกับหลักสูตรและการวิเคราะหหลักสูตรเพื่อใชในการจัดการเรียนการสอน STEM มีคาเฉลี่ย 4.22 และอันดับสุดทายคือ การประเมินเพื่อตรวจสอบจุดมุงหมายที่กําหนดไวในหลักสูตร มีคาเฉลี่ย 4.07 อยูใน ระดับมาก

ดานการเตรียมการสอน พบวา ครูผูสอนมีความตองการการนิเทศการสอน ดานการเตรียมการสอนใน ภาพรวมอยูในระดับมาก โดยมีคาเฉลี่ย 4.14 เมื่อพิจารณาความตองการเปนรายขอ พบวา ความตองการเปน อันดับแรกคือ การจัดทําแผนการจัดการเรียนรูของ STEM มีคาเฉลี่ย 4.29 รองลงมาคือ บทบาทหนาที่ของครู

ในฐานะผูอํานวยความสะดวกในกระบวนการเรียนรู (Learning Facilitator) ของการจัดการเรียนการสอน แบบ STEM มีคาเฉลี่ย 4.20 และอันดับสุดทายคือ การจัดบรรยากาศในหองเรียนใหเหมาะสมกับนักเรียน ที่เรียน STEM มีคาเฉลี่ย 3.96 อยูในระดับปานกลาง

ดานกิจกรรมการเรียนการสอนและเทคนิควิธีสอน พบวา ครูผูสอนมีความตองการการนิเทศการสอน ดานกิจกรรมการเรียนการสอนและเทคนิควิธีสอนในภาพรวมอยูในระดับมาก โดยมีคาเฉลี่ย 4.30 เมื่อ พิจารณาความตองการเปนรายขอ พบวา ความตองการเปนอันดับแรกคือ การออกแบบการทดลองที่มีความ สอดคลองกับเนื้อหาใหเหมาะกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ STEM มีคาเฉลี่ย 4.42 รองลงมาคือ เทคนิคในการตั้งคําถามเพื่อกระตุนการเรียนรูของนักเรียน มีคาเฉลี่ย 4.31 และอันดับสุดทายคือ การจัด กิจกรรมการเรียนการสอนแบบบูรณาการขามกลุมสาระวิชาระหวางศาสตรสาขาตาง ๆ ไดแก วิทยาศาสตร

(Science: S) เทคโนโลยี (Technology: T) วิศวกรรมศาสตร (Engineer: E) และคณิตศาสตร

(Mathematics: M) มีคาเฉลี่ย 4.22 อยูในระดับมาก

ดานสื่อการเรียนการสอน พบวา ครูผูสอนมีความตองการการนิเทศการสอน ดานสื่อการเรียนการ สอนในภาพรวมอยูในระดับมาก โดยมีคาเฉลี่ย 4.31 เมื่อพิจารณาความตองการเปนรายขอ พบวา ความ ตองการเปนอันดับแรกคือ การวางแผนเพื่อใชสื่อใหเหมาะสมกับการจัดการเรียนการสอนแบบ STEM มีคาเฉลี่ย 4.58 อยูในระดับมากที่สุด รองลงมาคือ การนํานักเรียนไปศึกษาตามแหลงเรียนรูตาง ๆ ที่สอดคลอง และเหมาะสมกับเนื้อหา มีคาเฉลี่ย 4.36 อยูในระดับมาก และอันดับสุดทายคือ การประเมินผลการใชสื่อ การเรียนการสอน มีคาเฉลี่ย 4.09 อยูในระดับมาก

ดานการวัดผลและประเมินผล พบวา ครูผูสอนมีความตองการการนิเทศการสอน ดานการวัดผลและ ประเมินผลในภาพรวมอยูในระดับมาก โดยมีคาเฉลี่ย 4.36 เมื่อพิจารณาความตองการเปนรายขอ พบวา ความตองการเปนอันดับแรกคือ การออกแบบเครื่องมือการวัดที่ถูกตองและเหมาะสมกับการจัดการเรียน การสอนแบบ STEM เชน การออกแบบทดสอบที่สรางสถานการณใหนักเรียนตอบ มีคาเฉลี่ย 4.44 รองลงมา

(8)

คือ การวัดผลและประเมินผลใหสอดคลองกับเนื้อหาและจุดประสงคการเรียนรูแบบ STEM มีคาเฉลี่ย 4.42 และอันดับสุดทายคือ การประเมินผลตามสภาพจริง (authentic assessment) มีคาเฉลี่ย 4.24 อยูในระดับ มาก

ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะหขอมูลความคิดเห็นและขอเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับความตองการ การนิเทศการสอนของครูผูสอนที่จัดการเรียนการสอนแบบ STEM โดยการวิเคราะหเนื้อหา มีประเด็นเกี่ยวกับ ความตองการการนิเทศการสอนเพิ่มเติมจําแนกตามรายดานดังนี้

1. ดานหลักสูตร

1) การวิเคราะหและออกแบบหลักสูตรที่บูรณาการตามกระบวนการเรียนรูแบบ STEM ที่

สอดคลองกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551

2) การกําหนดตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรูที่คาดหวังใหชัดเจน เพื่อเปนแนวทางในการจัดการเรียน การสอน

3) การปรับเนื้อหาในหลักสูตรใหเหมาะสมกับบริบทแตละโรงเรียนและการจัดทําหลักสูตร STEM ในหลักสูตรสถานศึกษา

2. ดานการเตรียมการสอน

1) การจัดกิจกรรมเพื่อเพิ่มความสนใจในการเรียนรูของผูเรียน

2) การแลกเปลี่ยนเรียนรูกับโรงเรียนอื่น เพื่อความเขาใจในเรื่องเนื้อหามากขึ้น 3) การเตรียมการสอนรวมกับมหาวิทยาลัยและการจัดทําแผนการสอนที่หลากหลาย

4) การอบรมเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนแบบ STEM หลังจากสอนไปแลวเพื่อเพิ่มความรู

และหาวิธีการที่เหมาะสมในการเตรียมการสอน

3. ดานกิจกรรมการเรียนการสอนและเทคนิควิธีสอน

1) การออกแบบการเรียนรูที่สอดคลองกับ Project-based Learning และ Kolb’s Learning Cycle

2) การเลือกกิจกรรมที่สามารถใหนักเรียนไดฝกปฏิบัติจริง เพราะนักเรียนสวนมากรูแตทฤษฎี แต

ไมสามารถทําไดจริง บางครั้งทําแลวไมมีการตรวจสอบผลงาน

3) การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลายและเหมาะกับนักเรียนที่เรียน STEM 4. ดานสื่อการเรียนการสอน

1) การจัดเตรียมสื่อการเรียนการสอนที่หลากหลาย โดยใหนักเรียนเรียนรูดวยตนเอง 2) การนําสื่อมาใชใหสอดคลองกับเนื้อหาและกิจกรรม

3) การวางแผน และเตรียมสื่อที่มีความเหมาะสม 5. ดานการวัดผลและประเมินผล

1) การประเมินตามสภาพจริงและการประเมินจากพฤติกรรมของนักเรียน

(9)

2) การกําหนดแนวทางการวัดและประเมินผลอยางชัดเจน เพื่อที่จะไดวัดไดตรงตามผลการเรียนรู

ที่คาดหวัง

3) การกําหนดเกณฑการประเมินจากชิ้นงาน สิ่งประดิษฐ ใหมีความชัดเจน อภิปรายผล

ผลการวิจัยเกี่ยวกับการศึกษาความตองการการนิเทศการสอนของครูผูสอนที่จัดการเรียนการสอน แบบ STEM ในโครงการของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ผูวิจัยขออภิปรายโดยแบงเปน ประเด็นตางๆ ดังตอไปนี้

1. ดานหลักสูตร

จากการวิจัยพบวา ครูผูสอนที่จัดการเรียนการสอนแบบ STEM ในโครงการของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรีมีความตองการการนิเทศการสอน ดานหลักสูตรในภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อ พิจารณาความตองการเปนรายขอ พบวา ความตองการเปนอันดับแรกคือ การจัดกิจกรรมในหลักสูตรเพื่อ พัฒนาทักษะดานตาง ๆ ของนักเรียนที่เรียน STEM ซึ่งผูวิจัยเห็นวา การจัดกิจกรรมในหลักสูตรนั้นเปนเรื่องที่มี

ความจําเปนและสําคัญมากเพื่อที่จะทําใหผูเรียนบรรลุผลตามจุดมุงหมายของหลักสูตรที่กําหนดไวและ การจัดการเรียนการสอนแบบ STEM เนนในการพัฒนาทักษะดานตาง ๆ ของผูเรียน ซึ่งลักษณะการจัด การ เรียนการสอนแบบ STEM คือ การจัดการเรียนการสอนโดยใชโมดูลรวมกับการใชโครงงานเปนฐานใน การ เรียนรู (Module-and Project-based Learning) เปนเรื่องที่ใหมและคอนขางยากสําหรับครูผูสอนที่จะจัด กิจกรรมในหลักสูตรเพื่อพัฒนาทักษะดานตาง ๆ ของนักเรียนที่เรียน STEM และครูผูสอนตองมีสวนรวมในการ ออกแบบกิจกรรมในหลักสูตร จึงทําใหครูมีความตองการการนิเทศการสอนเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมในหลักสูตร เพื่อพัฒนาทักษะดานตาง ๆ สอดคลองกับ ดวงกมล บุญวาสนะนันท (2558) กลาววา การจัดทําหลักสูตร โดย ใหครูผูสอนมีสวนรวมในการออกแบบกิจกรรมรวมกัน จะนําไปสูการวางแผนการจัดการเรียนรูและการ เตรียมการสอนที่มีประสิทธิภาพสามารถบรรลุตามความมุงหมายที่วางไวในทุก ๆ ดาน และสอดคลองกับ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) (2557) ไดกลาวไววาการจัดกิจกรรม STEM เปน แบบบูรณาการมุงหวังใหผูเรียนเกิดผลสัมฤทธิ์ทางดานการเรียนผานการใชทักษะตาง ๆ ที่เกี่ยวของใน การศึกษาคนควา คิดคน และแกปญหาดวยตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูใหคําปรึกษา

2. ดานการเตรียมการสอน

จากการวิจัยพบวา ครูผูสอนที่จัดการเรียนการสอนแบบ STEM ในโครงการของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรีมีความตองการการนิเทศการสอน ดานการเตรียมการสอนในภาพรวมอยูใน ระดับมาก เมื่อพิจารณาความตองการเปนรายขอ พบวา ความตองการเปนอันดับแรกคือ การจัดทําแผน การจัดการเรียนรูของ STEM ซึ่งผูวิจัยเห็นวา การจัดทําแผนการจัดการเรียนรูของ STEM นั้นเปนเรื่องที่ใหม

สําหรับครูผูสอน และครูผูสอนจะตองจัดทําแผนการจัดการเรียนรูอยางตอเนื่อง แตครูยังขาดความรูความ เขาใจเกี่ยวกับการจัดทําแผนการจัดการเรียนรูของ STEM เนื่องจากองคประกอบที่ใชในการเขียนแผนการ

(10)

จัดการเรียนรูเปนเรื่องที่ครูยังไมเขาใจและนําไปเขียนแผนการจัดการเรียนการสอนไดคอนขางยาก เนื้อหา สาระเปนแบบบูรณาการระหวาง 4 สาขาวิชา ไดแก วิทยาศาสตร (Science) เทคโนโลยี (Technology) วิศวกรรมศาสตร (Engineering) และคณิตศาสตร (Mathematics) มาบูรณาการศาสตรทั้งสี่สาขาวิชาเขา ดวยกัน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเปนกิจกรรมที่หลากหลาย เนนการเรียนโดยใชปญหาเปนฐาน (Problem-based Learning) และการใชโครงงานเปนฐาน (Project-based Learning) ซึ่งการวัดผลและ ประเมินผลของแผนการจัดการเรียนรูของ STEM ก็เปนการประเมินนวัตกรรม ชิ้นงาน สิ่งประดิษฐและการ สังเกตพฤติกรรมของผูเรียน ครูผูสอนจะตองจัดทําแผนการจัดการเรียนรู จึงทําใหครูมีความตองการการนิเทศ การสอนเกี่ยวกับการจัดทําแผนการจัดการเรียนรูของ STEM ในระดับมาก สอดคลองกับสุรัชน อินทสังข

(2559) ไดกลาวไววา การจัดการเรียนรูแบบ STEM เปนการจัดการเรียนรูเชิงบูรณาการเนื้อหา โดยเนนเนื้อหา สาระวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร และจะเรียนรูผานกระบวนการและเครื่องมือทางเทคโนโลยีและวิศวกรรม การออกแบบแผนการจัดการเรียนรูบูรณาการแบบนี้ เปนเรื่องที่คอนขางยาก ตองเนนใหผูเรียนมีสวนรวมลง มือปฏิบัติเอง ทั้งคิดและจัดการกับปญหารวมกัน จึงตองเกิดจากความรวมมือของครูหลายสาขารวมกัน ครูวิทยาศาสตรและครูคณิตศาสตรควรคิดและเขียนแผนรวมกันตั้งแตเริ่มตน เพื่อใหไดแผนการจัดการเรียนรู

แบบ STEM อยางเหมาะสม

3. ดานกิจกรรมการเรียนการสอนและเทคนิควิธีสอน

จากการวิจัยพบวา ครูผูสอนที่จัดการเรียนการสอนแบบ STEM ในโครงการของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรีมีความตองการการนิเทศการสอน ดานกิจกรรมการเรียนการสอนและเทคนิค วิธีสอนในภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาความตองการเปนรายขอ พบวา ความตองการเปนอันดับแรก คือ การออกแบบการทดลองที่มีความสอดคลองกับเนื้อหาใหเหมาะกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ STEM ซึ่งผูวิจัยเห็นวา การออกแบบการทดลองเปนการนําการทดลองมาแทรกในการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนในแตละครั้ง ซึ่งครูผูสอนเองตองมีความรู ความเขาใจในเนื้อหาที่สอนเปนอยางดีเพื่อที่จะสามารถ ออกแบบการทดลองที่มีความสอดคลองกับเนื้อหาใหเหมาะกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ STEM แตเนื่องจากเนื้อหาคอนขางยาก มีการนําวิศวกรรมศาสตรเขามาบูรณาการในเนื้อหาวิชา ซึ่งเปนเรื่องยาก สําหรับครูผูสอน ซึ่งครูควรไดรับการพัฒนาการออกแบบการทดลองที่มีความสอดคลองกับเนื้อหาใหเหมาะกับ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ STEM สอดคลองกับพงชัย หาญยุทธนากร (ม...) กลาวถึง ความสําคัญของการออกแบบการทดลองวาชวยใหเราเห็นภาพรวมของการทดลองกอนลงมือปฏิบัติและใชใน การประเมินวา สามารถทําการทดลองใหสําเร็จไดหรือไมเมื่อพิจารณาจากเงื่อนไขตาง ๆ และในบางครั้งอาจ นําไปสูการตั้งสมมติฐานใหม เพื่อออกแบบการทดลองในอีกรูปแบบหนึ่งที่สามารถตอบปญหาไดดีกวา หรือมี

ความเปนไปไดที่จะประสบความสําเร็จมากกวา การทดลองที่ออกแบบไว ตองสามารถทําไดจริง 4. ดานสื่อการเรียนการสอน

จากการวิจัยพบวา ครูผูสอนที่จัดการเรียนการสอนแบบ STEM ในโครงการของมหาวิทยาลัย

(11)

มาก เมื่อพิจารณาความตองการเปนรายขอ พบวา ความตองการเปนอันดับแรกคือ การวางแผนเพื่อใชสื่อให

เหมาะสมกับการจัดการเรียนการสอนแบบ STEM ซึ่งผูวิจัยเห็นวา เนื้อหาโมดูลเปนเรื่องคอนขางยากในการ จัดการเรียนการสอนของครู ครูยังเชื่อมโยงการใชสื่อกับเนื้อหาโมดูลและการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แบบ STEM ไดนอย ซึ่งการวางแผนการใชสื่อนั้นครูผูสอนที่จัดการเรียนการสอนแบบ STEM จําเปนตองมีการ วางแผนรวมกันเปนทีมของครูที่จัดการเรียนการสอนแบบ STEM สอดคลองกับนิพนธ สุขปรีดี (อางถึงใน มาหามะ สะมาอุง, 2554) กลาวถึงความสําคัญของสื่อการสอนไววา เปนสื่อถายทอดความรูและความคิด ระหวางครูกับนักเรียนเปนเครื่องชวยใหบทเรียนงายขึ้นเพราะสื่อการสอนจะชวยใหครูสามารถถายทอด ขอเท็จจริง ทักษะ ทัศนคติ ความรู ความเขาใจ และความซาบซึ้งเห็นคุณคาในเรื่องราวที่สอน ซึ่งจะเปน รากฐานใหเกิดความเขาใจและความจําอยางถาวร นักการศึกษาที่มีชื่อเสียงของโลกตางยอมรับและเห็นพองกัน วา สื่อการสอนนั้นเปนอุปกรณการสอนที่ชวยใหการสอนไดผลดีขึ้นในดานคุณคาบางประการจากการใชสื่อการ สอน

5. ดานการวัดผลและประเมินผล

จากการวิจัยพบวา ครูผูสอนที่จัดการเรียนการสอนแบบ STEM ในโครงการของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรีมีความตองการการนิเทศการสอน ดานการวัดผลและประเมินผลในภาพรวมอยู

ในระดับมาก เมื่อพิจารณาความตองการเปนรายขอ พบวา ความตองการเปนอันดับแรกคือ การออกแบบ เครื่องมือการวัดที่ถูกตองและเหมาะสมกับการจัดการเรียนการสอนแบบ STEM ซึ่งผูวิจัยเห็นวา การออกแบบ เครื่องมือการวัดที่ถูกตองและเหมาะสมกับการจัดการเรียนการสอนแบบ STEM เปนเรื่องที่ยาก เนื่องจาก การจัดการเรียนการสอนแบบ STEM เปนการจัดการเรียนการสอนรูปแบบใหม และแบบทดสอบที่ครูตอง ออกแบบและสรางขึ้นนั้นเปนแบบทดสอบที่มีความแตกตางจากวิชาที่สอนแบบปกติ เนื่องจากมีการบูรณาการ ระหวาง 4 สาขาวิชา ไดแก วิทยาศาสตร (Science) เทคโนโลยี (Technology) วิศวกรรมศาสตร

(Engineering) และคณิตศาสตร (Mathematics) ครูยังขาดความรูความเขาใจจึงมีความตองการที่จะไดรับ การพัฒนาเกี่ยวกับการออกแบบเครื่องมือการวัดที่ถูกตองและเหมาะสมกับการจัดการเรียนการสอนแบบ STEM สอดคลองกับยืนยง ราชวงษ (ม.ป.ป.) กลาวไววา ครูตองออกแบบการวัดใหตรงกับจุดประสงค

การเรียนรู ตัวชี้วัดและมาตรฐานการเรียนรูของหลักสูตรที่กําหนดเปนหลัก เลือกใชเครื่องมือวัดที่ดีมีคุณภาพ และเหมาะสม ใชเครื่องมือวัดผลหลาย ๆ อยาง เพื่อชวยใหการวัดผลมีความถูกตองสมบูรณ และครูจะตอง สรางเครื่องมือวัดผลใหมีคุณภาพ ไมเชนนั้น การวัดผลที่ไดก็จะไมสามารถสะทอนความสามารถหรือพฤติกรรม การเรียนรูที่แทจริงของนักเรียน เครื่องมือวัดผลที่มีคุณภาพนั้น ตองสอดคลองกับพฤติกรรมการเรียนรูของ นักเรียน

ขอเสนอแนะ

ขอเสนอแนะจากผลการวิจัย

1. ควรจัดการนิเทศในดานการวัดผลและประเมินผล โดยเฉพาะในเรื่อง การออกแบบเครื่องมือการ

Referensi

Dokumen terkait

หนวยงานมีสถานะเปนอยางไร ซึ่งจากการเก็บขอมูล พบวา ระดับของ การประเมินผล ตอการพัฒนาคุณภาพ มาตรฐานสากลของสำนักงานสาธารณสุขอำเภออยูใน ระดับมาก คือมีคาเฉลี่ย 3.00 S.D.= 0.52 และพบวา