• Tidak ada hasil yang ditemukan

สังคมไทย รับได้จริงหรือ ทำผิด ไม่ต้องติดคุก แต่ใช้โทษปรับแทน

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "สังคมไทย รับได้จริงหรือ ทำผิด ไม่ต้องติดคุก แต่ใช้โทษปรับแทน"

Copied!
3
0
0

Teks penuh

(1)

สังคมไทย รับไดหรือจริง ทําผิด ไมตองติดคุก แตใชโทษปรับแทน

ผศ.นพดล ปกรณนิมิตดี

อาจารยประจําคณะนิติศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม Noppadon.pa@spu.ac.th

ลงพิมพในหนังสือพิมพไทยโพสต 25 กันยายน 2553

เมื่อไมนานนี้ ผูเขียนไดรับชมรายการในสื่อโทรทัศน โดยมีนักวิชาการทานหนึ่ง ที่

ออกมากลาวถึงเรื่องงานวิจัยที่เกี่ยวของกับปญหากระบวนการยุติธรรมทางอาญาของไทย โดยมี

ขอเสนอใหปลดล็อค ปฏิรูประบบยุติธรรมทางอาญา แกปญหาคดีลน-นักโทษลนคุก โดยชี้วา ถึง เวลาแกไขโทษปรับสูงสุดตามกฎหมาย ใหขึ้นตามเงินเฟอ โดยเชื่อจะปองปรามการทําผิด-ฝาฝน กฎหมายไดนั้น

จากการรับฟงความคิดความเห็นและทัศนคติดังที่ปรากฎในรายการที่มีการเผยแพรทางสื่อ ไปแลวนั้น ในฐานะนักกฎหมายและนักวิชาการ อันมีความเคารพตอความคิดความเห็นของทาน และดวยความเคารพอยางแทจริงตอความคิดเห็นในทางวิชาการ ที่อาจเห็นแตกตางกัน ก็อดไมไดที่

จะขอรวมดวยชวยคิดทั้งเห็นดวยและไมสบายใจในประเด็นนี้ เทาที่พอจะใหความเห็นได และขอ อนุญาตมองตางมุม ซึ่งจะอาจจะถูกหรือผิดก็ได

เมื่อกลาวถึงโทษจําคุก หรือโทษปรับนั้น กอนอื่น ตองทําความเขาใจกอนวา โทษจําคุก หรือปรับนั้น เปนโทษทางอาญา ที่ปรากฎเฉพาะในประมวลกฎหมายอาญา หรือกฎหมายที่มีโทษ ทางอาญาเทานั้น

โดยมาตรา 18 แหงประมวลกฎหมายอาญา บัญญัติวา โทษสําหรับลงแกผูกระทํา ความผิดมีดังนี้ 1. ประหารชีวิต 2. จําคุก 3. กักขัง 4. ปรับ 5.ริบทรัพยสิน

จุดประสงคในการลงโทษทางอาญา นั้น มีทฤษฎีที่เกี่ยวของอยู 2 ทฤษฎีดวยกัน กลาวคือ 1. ทฤษฎีเด็ดขาด (absolute theory)

2. ทฤษฎีสัมผัส (relative theory)

ทฤษฎีเด็ดขาด ถือวา การที่กฎหมายอาญาบัญญัติใหลงโทษผูกระทําผิดนั้น ก็เพราะเหตุที่

ไดมีการกระทําความผิดเกิดขึ้นอยางเดียว กลาวคือจะตองมีการลงโทษเพื่อใหมีการตอบแทนแก

แคนที่ถูกตองตอผูกระทําความผิด (หยุด แสงอุทัย,2540:249) ทฤษฎีสัมผัส

ในสวนที่เกี่ยวแกจุดประสงคของการลงโทษ ทฤษฎีสัมผัสไมไดพิจารณาในแงการกระทํา ความผิด แตไดพิจารณาในแงที่วาควรจะลงโทษอยางใดจึงจะเกิดประโยชนและโดยเหตุนั้นการ

(2)

ลงโทษ จึงตองคํานึงถึงตัวผูกระทําความผิดกับเพื่อนมนุษยอื่นๆ โทษนั้นควรจะมีผลเปนการ กระทําใหผูกระทําความผิดหวาดกลัว ทําใหผูกระทําความผิดกลับตนเปนคนดี หรือทําใหสังคม ปลอดภัยจากการกระทําความผิด ทั้งนี้เพื่อเปนการปองกันขัดขวางมิใหมีการกระทําความผิด เกิดขึ้นอีก (หยุด แสงอุทัย,2540:251)

ฉะนั้น จึงอาจกลาวไดวา การลงโทษทางอาญา ตามกฎหมายนั้นมีวัตถุประสงคหลัก ในการลงโทษ ผูกระทําความผิด ใหเกรงกลัวตอการกระทําความผิดตามกฎหมาย ซึ่งหากวันใด เมื่อใดตนไดกระทําผิด ตนอาจจะตองไดรับโทษตามที่กฎหมายกําหนด

วัตถุประสงคในการลงโทษ กับเรื่องของการใชเงินเพื่อการรักษาความเปนกฎหมาย ใน การลงโทษผูกระทําความผิด จึงควรนาจะเปนสิ่งที่ตองพิจารณาแยกออกจากกัน

การลงทุนดานงบประมาณของประเทศ ในการรักษาความสงบเรียบรอย ในการ ลงโทษผูกระทําความผิดนั้น แนนอน ถามีผูกระทําความผิดจํานวนมาก ตัวเลขของจําเลยที่อาจถูก ลงโทษจําคุก ก็อาจมีตัวเลขที่สูงขึ้นดวยในทางเดียวกัน อันสงผลตอ ระบบราชทัณฑ เรือน จําตองรองรับจํานวนนักโทษมากขึ้น ตองใชเงินงบประมาณของประเทศจํานวนมากตอเรื่อง เหลานี้

ปญหาคนลนคุก จึงควรแกดวยวิธีการมิใหคนทําผิดกฎหมาย มากกวาที่จะคิดเสียดาย เงินทองในการลงโทษผูกระทําความผิด การที่มองวามีนักโทษลนคุก สงผลเสียตอการใชจาย งบประมาณแผนดินนั้น

ในทางกลับกัน เราจะมองอีกดานหนึ่งไดไหมวา การใชจายเงินงบประมาณแผนดิน เปน การใชเพื่อเยียวยารักษา ฟนฟู และปรับสภาพจิตใจของนักโทษ ใหสามารถกลับตนเปนคนดี

หลังจากกลับคืนสูสังคมแลว สามารถประกอบอาชีพเลี้ยงตนเองได ไมเปนภาระตอสังคม การลงทุน เพื่อสรางคน การลงทุนเพื่อสรางอนาคตใหมใหกับคนที่หลงผิด การลงทุน เพื่อใหคนเกรงกลัวตอกฎหมายบานเมือง การลงทุนเพื่อสรางบรรทัดฐานที่ดีในการอยูรวมกันของ คนในสังคม สังคมควรรูสึก เสียดายเงินทองที่ตองสูญเสียไปกับสิ่งตางๆเหลานี้ หรือ...?

ในฐานะนักกฎหมายรูสึกตกใจ กับความคิดที่วา ถาสมมตินักโทษที่ถูกจําคุกมีอยู

100,000 คน คนเหลานี้ถาไมตองถูกติดคุก ก็จะสามารถไปหาเงินไดคิดเทากับคาจางแรงงาน ถาสมมติ วันหนึ่ง140 บาท คนเหลานี้ สามารถสรางรายไดตอวัน 14,000,000 บาท เปนตน เพราะถาคิด อยางนี้ คิดโดยใชเงินเปนตัวตั้ง มองความสูญเสียทางเศรษฐกิจ ซึ่งไมรูวา จะไดจริงหรือเปลา เปนตัวตั้ง โดยละเลยตอความสูญเสียบรรทัดฐานแหงการเปนคนดีของสังคม จะเปนความคิดที่ถูกตองหรือไมถูก ก็ยังนาสงสัย

เงินทองเสียไป ก็หาใหมได แตนิสัยคนถาเสียไป หรือจิตใตสํานึกของคนที่เสียไป ถา เสียไปแลว ก็อาจเสียไปเลยก็วาได ติดนิสัยขี้โกงอันมาจากความทะเยอทะยาน ก็อาจเสพติดไปทั้ง ตลอดชีวิต

(3)

คนที่ทําผิดกฎหมายบานเมือง หากไมยอมติดคุก ก็ตองหนีไปตลอดชีวิต แตหากติด คุก วันหนึ่งเมื่อกลับมาสูสังคม ถาเขาสามารถกลับตนเปนคนดีไดแลว ผูคนในสังคมบางสวนที่

ไมยอมรับเขาตางหากที่มีปญหา มิใชเพราะการลงโทษโดยการจําคุก ที่ไปสรางปญหาใหเกิดกับ คนที่เคยติดคุกเหลานี้

คนที่ทําผิด สวนใหญยอมรูอยูในใจแลววา สิ่งที่ตนทํานั้นผิด ไมวาจะเปนการทุจริตเชิง นโยบาย หรือไมนโยบาย ฆาคนตาย ลักทรัพย และอื่นๆ แตจะดวยความขาดสติ หรือความมั่นใจ ที่ผิดๆของตน เมื่อถูกจับ ถูกลงโทษ และตองลําบากจากการถูกจองจํา ก็ตองเปนสิ่งที่จําตอง ยอมรับ

โทษทางอาญา ตามกฎหมายนั้น ลดหลั่นตามกันลงมา ตั้งแตโทษประหารชีวิต จนถึงริบ ทรัพยสิน ซึ่งโทษประหารชีวิตถือวาหนักที่สุด รองลงมาคือจําคุก และรองลงมาคือ การปรับ ความหนักเบาของโทษขึ้นอยูกับความผิดที่กอ ถาความผิดรายแรง เชน ฆาผูอื่น ตามมาตรา 288 ของประมวลกฎหมายอาญา โทษก็ประหารชีวิต จําคุกตลอดชีวิต หรือจําคุกตั้งแตสิบหาปถึงยี่สิบป

ความผิดที่ไมหนักหนาอะไรแกสังคมมากนัก เชนความผิดลหุโทษ สวนใหญจะเปนโทษ ปรับอยางเดียวอยูแลว ฉะนั้นการรางกฎหมายที่ผานมา เขาใจวานาจะไดเห็นถึงความจําเปนที่

ตองมีบทลงโทษทางอาญา กรณีจําคุก หรือระดับของการวางโทษที่ควรจะเปนอยูแลว

แตแนนอนสวนหนึ่งก็เห็นดวยกับปรับเปลี่ยนอัตราโทษปรับในกฎหมาย ที่ไมสอดคลองกับ สภาพการณ ณ ปจจุบัน บางฐานความผิดที่ไมควรเอาคนเขาคุก ก็เห็นดวยถาจะตองมีการแกไข แตถาจะเนนวา ควรจะตองลงโทษดวยการปรับเปนหลัก เพื่อเปนการหาเงินเขารัฐ มากกวา เสียเงินดูแลนักโทษ เอาเงินจากกระเปาผูทําผิดมาเปนของรัฐ ก็นาจะเปนความคิดที่อาจกอใหเกิด ความไมสบายใจอยูบาง

ในสวนหนึ่งเห็นดวยกับการประยุกตเอาความคิดทางเศรษฐศาสตร มาประสานกับหลัก นิติศาสตร แตการเอาหลักวิชาทางเศรษฐศาสตรมาใชในกฎหมาย นาจะเปนการนํามาใชเพื่อเติม เต็มการบังคับใชกฎหมายใหเกิดความยุติธรรม และความถูกตอง อันผูคนในสังคมยอมรับได

ทายสุดนี้ ก็เห็นดวยกับนักกฎหมายอาวุโสบางทาน ที่มองวา คนรวยอาจไดประโยชน หรืออาจ ยอมเสียเงิน เพื่อแลกกับการติดคุก การทุจริต ควรถูกลงโทษโดยการจําคุกหรือไม เปนสิ่งที่นาคิด ตอ แตถาวันไหนสังคมไทยยอมรับไดวา โทษปรับสามารถแทนโทษจําคุก ผูคนยังจะเกรงกลัว ตอกฎหมายกันอีกหรือไม ทางออกที่นาจะดีที่สุดสําหรับสังคมไทย คือถากลัวติดคุก ก็ชวยกัน อยาทําผิดกฎหมาย เพื่อจะไดไมตองหนีหนาผูคนไปทั้งชีวิต จริงไหมครับ

Referensi

Dokumen terkait

รัฐธรรมนูญ: สิทธิ เสรีภาพของประชาชน ผศ.ชมพู โกติรัมย มหาวิทยาลัยศรีปทุม ในยุคสมัยที่ประเทศไทย กําลังจะมีการปรับเปลี่ยนกระบวนการทางการเมืองโดยอาศัย รัฐธรรมนูญ

นายนพดล ปกรณนิมิตดี อาจารยประจําคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยศรีปทุม noppadon.pa@spu.ac.th การชุมนุมของประชาชน กลุมตางๆ เพื่อเรียกรองสิทธิ และประโยชนใหกับกลุมของตน จากนายจาง