• Tidak ada hasil yang ditemukan

View of ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการบริหารวิชาการโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุ่มที่ 8

N/A
N/A
Nguyễn Gia Hào

Academic year: 2023

Membagikan "View of ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการบริหารวิชาการโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุ่มที่ 8"

Copied!
17
0
0

Teks penuh

(1)

ปจจัยที่สงผลตอประสิทธิผลการบริหารวิชาการโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุมที่ 8

FACTORS AFFECTING ACADEMIC ADMINISTRATION EFFECTIVENESS OF PHRAPARIYATTIDHAMMA SCHOOL

ON GENERAL EDUCATION GROUP 8

วิเชียร เจริญธรรม1 วาโร เพ็งสวัสดิ์2 เอกลักษณ เพียสา3 คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

Wichian Charoentham1 Waro Phengsawat2

Eakkalak Piasa3 Faculty of Education Sakon Nakhon Rajabhat University Corresponding Author E-mail: wichian0860778321@gmail.com

บทคัดยอ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) ศึกษาระดับประสิทธิผลการบริหารวิชาการ 2) ศึกษาปจจัยดานความสัมพันธและการมีสวนรวมของโรงเรียนกับชุมชน 3) ศึกษาความสัมพันธ

ระหวางปจจัยกับประสิทธิผลการบริหารวิชาการ 4) เพื่อศึกษาอำนาจพยากรณ ที่สงผลตอ ประสิทธิผลการบริหารวิชาการ และ 5) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาปจจัยที่สงผลตอประสิทธิผล การบริหารวิชาการ กลุมตัวอยาง ไดแก บุคลากรโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุมที่

8 ปการศึกษา 2563 จำนวน 181 คน โดยการสุมแบบชั้นภูมิ สถิติที่ใช ไดแก ความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธแบบเพียรสัน และการวิเคราะหการ ถดถอยพหุคูณแบบเปนขั้นตอน

ผลการวิจัยพบวา

1. ประสิทธิผลการบริหารวิชาการ โดยภาพรวมอยูในระดับมาก

2. ปจจัยที่สงผลตอประสิทธิผลการบริหารวิชาการ โดยภาพรวมอยูในระดับมาก 3. ปจจัยที่สงผลตอประสิทธิผลการบริหารวิชาการ โดยภาพรวม มีความสัมพันธกับ ประสิทธิผลการบริหารวิชาการ โดยภาพรวม มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีความสัมพันธ

กันในระดับปานกลาง

(2)

4. ปจจัยดานความสัมพันธและการมีสวนรวมของโรงเรียนกับชุมชน ปจจัยดานการ จัดการงบประมาณ และปจจัยดานสื่อวัสดุ อุปกรณและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา มีอำนาจ พยากรณประสิทธิผลการบริหารวิชาการ มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ซึ่งมีคาสัมประสิทธิ์

พยากรณ .534 โดยสามารถรวมกันทำนายระดับประสิทธิผลการบริหารวิชาการ ไดรอยละ 53.40 5. แนวทางในการพัฒนาปจจัยที่สงผลตอประสิทธิผลการบริหารวิชาการ มี 3 ดาน คือ 1) ดานความสัมพันธและการมีสวนรวมของโรงเรียนกับชุมชน 2) ดานสื่อวัสดุ อุปกรณและ เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา และ 3) ดานการจัดการงบประมาณ

คำสำคัญ : การบริหารวิชาการ; โรงเรียนพระปริยัติธรรม; ประสิทธิผล;

Abstract

The objectives of this research were 1) to study the level of effectiveness of academic administration, 2) to study factors on relationship and participation of schools and communities, 3) to study the relationship between the factors and the effectiveness of academic administration, 4) to study the predictive power affecting the effectiveness of academic administration; and 5) to study the guidelines for the development of factors affecting the effectiveness of academic administration. The sample group of 181 administrators and teachers from Phrapariyattidhamma School on General Education, Group 8, were selected by the stratified random sampling.

The statistics used for data analysis comprised of frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, Pearson’s correlation coefficient, and the stepwise multiple regression analysis.

The findings of the research were as follows: 1. The effectiveness of academic administration was found to be overall at a high level. 2. Factors affecting the effectiveness of academic administration were found to be overall at a high level.

3. Factors affecting the effectiveness of academic administration were overall related to the academic administration effectiveness at a statistically significant level of .05 with the moderate correlation. 4. Such factors as the relationship and participation between the school and the community, budget management, educational equipment and technology were found capable to predict the effectiveness of academic administration at a statistically significant level of 0.01 with a predictive coefficient of .534, which could be used to predict 53.4% of the effectiveness of academic administration. 5. The guidelines on development of factors affecting the effectiveness of academic administration consisted of three aspects; 1) the relationship and participation between the school and the community, 2) instructional media and materials as well as educational equipment and technology, and 3) budget management.

(3)

Keywords: Academic Administration; Effectiveness; Phrapariyattidham School;

บทนำ

การศึกษามีความสำคัญยิ่งตอการพัฒนาทรัพยากรมนุษย เพื่อพัฒนาคนอยางรอบดาน และสมดุล เพื่อเปนฐานหลักของการพัฒนาโดยมีเปาหมายใหคนไทยเปนคนดี เกง และมีความสุข มี

ความรูเชิงวิชาการและสมรรถนะทางวิชาชีพ ใฝเรียนรูและแสวงหาความรูอยางตอเนื่องตลอดชีวิต มี

สุขภาพทั้งกายและใจที่สมบูรณ สามารถประกอบอาชีพและอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข พรอมกับสรางสังคมไทยใหเปนสังคมคุณธรรมภูมิปญญาและการเรียนรู โดยมุงพัฒนาคนไทยเปน สังคมแหงคุณธรรมภูมิปญญาและการเรียนรู มีการสรางองคความรู นวัตกรรมและเทคโนโลยี

ทรัพยสินทางปญญาเพื่อการเรียนรูนำไปสูสังคมแหงการเรียนรูอยางยั่งยืน มีสุขภาวะ ประชาชนอยู

รวมกันอยางสันติสุขและเอื้ออาทร รวมทั้งพัฒนาสภาพแวดลอมเพื่อเปนฐานในการพัฒนาคนและ สรางสังคมคุณธรรมภูมิปญญาและการเรียนรู (สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2552, หนา 17-19) สอดคลองกับพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ที่ไดกำหนดความมุงหมาย และหลักการในการจัดการศึกษา “มาตรา 6 การจัดการศึกษาตองเปนไปเพื่อพัฒนาคนไทยใหเปน มนุษยที่สมบูรณทั้งรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรูและคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการ ดำรงชีวิตสามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข” (กระทรวงศึกษาธิการ, 2542, หนา 5) และ พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 มาตรา 37 การบริหารและการจัด การศึกษาขั้นพื้นฐานใหยึดเขตพื้นที่การศึกษา โดยคำนึงถึงระดับของการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน สถานศึกษา จำนวนประชากร วัฒนธรรม และความเหมาะสมดานอื่นดวย เวนแตการจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐานตามกฎหมายวาดวยการอาชีวศึกษา ดังนั้น เพื่อใหการจัดการศึกษาของไทยมีคุณภาพตาม มาตรฐานการศึกษาทั้งในสวนที่เปนปจจัยดานกระบวนการและดานผลผลิต สถานศึกษาและหนวยงาน ที่เกี่ยวของจะตองใหความรวมมือชวยเหลือซึ่งกันและกัน (กระทรวงศึกษาธิการ, 2553, หนา 8)

โรงเรียนถือเปนสถานศึกษาที่ผูปกครองตั้งความหวังไวอยางสูง เพื่อเปนที่ประสิทธิ์

ประสาทความรูอบรมบมนิสัยใหลูกหลานมีความรู มีคุณธรรมจริยธรรมที่ดีเปนสมาชิกที่ดีของ ครอบครัว ตลอดจนของสังคมและประเทศชาติ ดังนั้น โรงเรียนทุกแหงจึงไดพัฒนาเพื่อสรางความ เปนมาตรฐานของโรงเรียนใหมีชื่อเสียงเปนที่ยอมรับแกผูปกครอง ชุมชนและสังคม โดยหันมาเนน การพัฒนาคุณภาพของนักเรียน เพราะหัวใจของการศึกษาก็คือนักเรียนนั่นเอง จากการประกาศใช

พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 สงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในระบบการศึกษาขึ้น

(4)

อยางมากมายหลายประการ โดยเฉพาะการประกันคุณภาพการศึกษาซึ่งทุกโรงเรียนจะตองเรง พัฒนาจัดกระบวนการเรียนการสอนใหไดตามเกณฑมาตรฐานอยางมีคุณภาพ ทั้งมาตรฐาน คุณภาพของนักเรียนและคุณภาพกระบวนการจัดการศึกษาของโรงเรียนและที่สำคัญก็คือจะทำ อยางไรจึงจะใหโรงเรียนเปนที่พึงพอใจของผูปกครอง (จุฬารัตน เปยเหมย, 2550, หนา 2)

งานวิชาการเปนหัวใจของโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษา สวนงานดานอื่น ๆ เปน องคประกอบที่จะทำใหสถาบันดำเนินไปดวยความราบรื่นเทานั้น ผูบริหารการศึกษาทุกคนควรจะ รับผิดชอบเปนผูนำของครูในดานวิชาการเปนอันดับแรก เพราะหนาที่ของโรงเรียนหรือ สถาบันการศึกษาทุกแหง คือ การใหความรูแกนักเรียนในดานวิชาการ โดยการทำงานรวมกับ ครู กระตุนเตือนครูใหคำแนะนำครู และประสานงานใหครูทุกคนทำงานรวมกันอยางมีประสิทธิภาพ ในการสอน งานวิชาการเปนงานหลักของการบริหารสถานศึกษา ไมวาสถานศึกษาจะเปนประเภท ใด มาตรฐานและคุณภาพของสถานศึกษาจะพิจารณาไดจากผลงานดานวิชาการ เนื่องจากงาน วิชาการเกี่ยวของกับหลักสูตร การจัดโปรแกรมการศึกษา และการจัดการเรียนการสอน ซึ่งเปน หัวใจของสถานศึกษาซึ่งอาจจะเกี่ยวของทางตรงหรือทางออม ก็อยูที่ลักษณะของงานนั้น อาจ กลาวไดวางานวิชาการถือวาเปนหัวใจของการบริหารการศึกษา เพราะจุดมุงหมายของสถานศึกษา ก็คือการจัดการศึกษาใหมีคุณภาพ ซึ่งขึ้นอยูกับงานวิชาการทั้งสิ้น งานวิชาการเปนกิจกรรมการ จัดการเกี่ยวกับงานดานหลักสูตร การนำหลักสูตรไปใชแบบเรียน งานการเรียนการสอน งานสื่อ การเรียนการสอน งานวัดผลและประเมินผล งานหองสมุด งานนิเทศการศึกษา งานวางแผน การศึกษา และงานประชุมอบรมทางวิชาการ เพื่อสงเสริมใหผูเรียนบรรลุจุดหมายของการศึกษาที่

กำหนดไวอยางมีประสิทธิภาพ (จีรวิทย มั่นคงวัฒนะ, 2553)

การบริหารงานวิชาการจึงนับวามีบทบาทสำคัญตอความสำเร็จหรือความลมเหลวของ การบริหารโรงเรียน แตการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนจะมีคุณภาพดีมากนอยเพียงใด ยอมขึ้นอยูกับองคประกอบหลายประการ ที่สำคัญที่สุดไดแก ผูบริหารสถานศึกษาซึ่งจะตองให

ความสำคัญแกงานวิชาการ ตองเขาใจขอบเขตการดำเนินงานและภาระหนาที่ของการบริหารงาน วิชาการในโรงเรียนเปนอยางดี การบริหารงานวิชาการเปนหัวใจสำคัญของการบริหารสถานศึกษา และเปนสวนหนึ่งของการบริหารการศึกษาที่ผูบริหารจะตองใหความสำคัญเปนอยางยิ่ง สวนการ บริหารงานดานอื่นๆ นั้น เปนเพียงปจจัยสงเสริมสนับสนุนใหงานวิชาการดำเนินอยางมี

ประสิทธิภาพ ผูบริหารสถานศึกษาซึ่งมีบทบาทหนาที่ในการบริหารจะตองสนับสนุนใหครูจัด

(5)

กิจกรรมการเรียนการสอนใหบรรลุจุดมุงหมายของหลักสูตร (กระทรวงศึกษาธิการ, 2546, หนา ก:

20) กระทรวงศึกษาธิการไดกำหนดขอบขายและภารกิจของการบริหารและจัดการสถานศึกษาไว

4 งาน ไดแก การบริหารงานวิชาการ การบริหารงบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการ บริหารงานทั่วไป โดยภารกิจหลักของสถานศึกษาที่สำคัญ คือ การบริหารงานวิชาการ ซึ่งปจจัย ดานการบริหารงานวิชาการประกอบไปดวย 1) ปจจัยดานสภาพของโรงเรียน 2) ปจจัยดาน ผูบริหาร 3) ปจจัยดานครูผูสอน 4) ปจจัยดานชุมชน และ 5) ปจจัยดานทรัพยากร สิ่งเหลานี้เปน หัวใจของการบริหารจัดการศึกษาในโรงเรียนใหมีคุณภาพไดมาตรฐานตามเกณฑกำหนด (จีรวิทย

มั่นคงวัฒนะ, 2553)

จากการที่ผูวิจัยไดทำการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวของ พบวา ปจจัยที่สงผลตอการบริหาร งานวิชาการมีหลายปจจัย ดังเชนงานวิจัยของ ปภานีย ดอกดวง (2560) ที่ไดทำการศึกษา ปจจัยที่

สงผลตอประสิทธิภาพการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนในกลุมเครือขายสถานศึกษาแกงโนนกา เร็น สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 5 และงานวิจัยของ เขษม สร โขงศรี (2558) ไดทำการศึกษา ปจจัยที่สงผลตอการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาขนาด ใหญ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 41 ซึ่งปจจัยที่สงผลตอการบริหารงาน วิชาการของงานวิจัยทั้ง 2 เรื่อง ไดแก ปจจัย ดานความสัมพันธและการมีสวนรวมของโรงเรียนกับ ชุมชน ปจจัยดานความพรอมของอาคารสถานที่ ปจจัยดานครูผูสอน ปจจัยดานผูบริหาร ปจจัย ดานการจัดการงบประมาณ และปจจัยดานสื่อวัสดุ อุปกรณและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา

การศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา เปนการศึกษารูปแบบหนึ่งของการศึกษา คณะสงฆ เปนการศึกษาที่รัฐกำหนดขึ้นตามความประสงคของคณะสงฆ โดยใหเรียนทั้งวิชาธรรม และวิชาสามัญควบคูกันไป โดยมีวัตถุประสงคที่จะใหการศึกษาโรงเรียนดังกลาว เปนประโยชนตอ ฝายศาสนจักร และฝายบานเมือง กลาวคือ ทางฝายศาสนจักรก็จะไดศาสนทายาทที่ดี มีความรู

ความเขาใจในหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาอยางแทจริง เปนผูประพฤติดีปฏิบัติชอบ ดำรงอยูใน สมณธรรมสมควรแกภาวะ สามารถดำรงสืบตอพระพุทธศาสนาใหเจริญสถาพรตอไป และถาหาก พระภิกษุสามเณรเหลานี้ลาสิกขาบทไปแลวก็สามารถเขาศึกษาตอในสถาบันศึกษาของรัฐไดหรือ เขารับราชการสรางประโยชนใหกาวหนาแกตนเอง และบานเมืองสืบตอไปดวยเชนกัน (สมศักดิ์

บุญปู, 2555, หนา 7–8)

(6)

การบริหารจัดการโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาเปนการจัดการศึกษาตาม สภาพจริง โดยมีพระภิกษุเปนผูมีอำนาจบริหารจัดการตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน บูรณาการกับศาสตรพระพุทธศาสนา จัดการเรียนการสอนวิชาทางโลกและหลักธรรมทาง พระพุทธศาสนาเขาดวยกัน ผูเรียนคือพระภิกษุสามเณรเปนสวนใหญ ดังนั้นในแตละปจำนวน ผูเรียนจะ ลดนอยลงทุกป อันเนื่องมาจากผูเขามาบวชเรียนในพระพุทธศาสนานอยลง และปญหา การลาสิกขาออกไปเรียนตอสายสามัญตามโรงเรียนทั่วไป ในการบริหารงานโรงเรียนนั้น การ บริหารงานวิชาการมีความสำคัญที่สุด เนื่องจากงานวิชาการเกี่ยวของกับกิจกรรมทุกอยางใน โรงเรียน โดยเฉพาะกิจกรรมการเรียนการสอนการปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอน ซึ่งเปน จุดหมายหลักของโรงเรียนและเปนเครื่องชี้วัดความสำเร็จในการจัดการศึกษาของโรงเรียน

โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุมที่ 8 ประกอบดวย 4 จังหวัด ไดแก

จังหวัดอุดรธานี จังหวัดสกลนคร จังหวัดบึงกาฬ และจังหวัดหนองคาย มีโรงเรียนทั้งหมด 42 โรงเรียน ปจจุบันพบวาการบริหารจัดการโรงเรียนพระปริยัติธรรมยังไมมีประสิทธิภาพเพียงพอใน การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การนิเทศการศึกษา การแนะแนวการศึกษา ซึ่งปจจัยที่สงผลตอการ บริหารงานวิชาการไดแก ปจจัยดานผูบริหาร ดานครูผูสอน ดานชุมชน ดานอาคารสถานที่ ดาน งบประมาณ ดานบรรยากาศในโรงเรียน ผูบริหารโรงเรียนตองมีความรูเกี่ยวกับการบริหารวิชาการ ตองเขาใจเรื่องการพัฒนางานดานหลักสูตร การนำหลักสูตรไปใช งานดานการเรียนการสอน งาน วัสดุประกอบหลักสูตรและสื่อการเรียนการสอน งานวัดผลประเมินผล งานหองสมุด งานนิเทศ ภายใน และงานอบรมทางวิชาการ คุณภาพวิชาการจะเกิดผูบริหารที่มีประสิทธิผล ที่มีการ ดำเนินงานตามกระบวนการบริหาร ดวยความรูในหลักการแนวคิดทางการศึกษาอยางลึกซึ้ง

ดวยเหตุผลที่กลาวมาขางตน ผูวิจัยจึงมีความสนใจในการศึกษาปจจัยที่สงผลตอ ประสิทธิผลการบริหารวิชาการโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุมที่ 8 อัน ประกอบดวย ปจจัยดานความสัมพันธและการมีสวนรวมของโรงเรียนกับชุมชน ดานความพรอม ของอาคารสถานที่ ดานครูผูสอน ดานผูบริหาร ดานการจัดการงบประมาณ และดานสื่อวัสดุ

อุปกรณและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อนำผลที่ไดจากการศึกษามาเปนขอมูลยอนกลับ ทั้งเปน ประโยชนตอผูบริหารโรงเรียนและหนวยงานที่เกี่ยวของ ในการกำหนดนโยบาย สงเสริม สนับสนุน นิเทศ กำกับ ติดตาม พัฒนา ปรับปรุงแกไขการบริหารงานวิชาการของตนใหเหมาะสม เพื่อใหการ จัดการศึกษาของโรงเรียนมีความเจริญกาวหนายิ่งขึ้นไป

(7)

วัตถุประสงคการวิจัย

1. เพื่อศึกษาระดับประสิทธิผลการบริหารวิชาการโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญ ศึกษา กลุมที่ 8

2. เพื่อศึกษาระดับปจจัยดานความสัมพันธและการมีสวนรวมของโรงเรียนกับชุมชน ดานความพรอมของอาคารสถานที่ ดานครูผูสอน ดานผูบริหาร ดานการจัดการงบประมาณ และ ดานสื่อวัสดุ อุปกรณและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา

3. เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยดานความสัมพันธและการมีสวนรวมของ โรงเรียนกับชุมชน ดานความพรอมของอาคารสถานที่ ดานครูผูสอน ดานผูบริหาร ดานการจัดการ งบประมาณ และดานสื่อวัสดุ อุปกรณและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษากับประสิทธิผลการบริหาร วิชาการโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุมที่ 8

4. เพื่อศึกษาอำนาจพยากรณของปจจัยดานความสัมพันธและการมีสวนรวมของ โรงเรียนกับชุมชน ดานความพรอมของอาคารสถานที่ ดานครูผูสอน ดานผูบริหาร ดานการจัดการ งบประมาณ และดานสื่อวัสดุ อุปกรณและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ที่สงผลตอประสิทธิผลการ บริหารวิชาการโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุมที่ 8

5. เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาปจจัยที่สงผลตอประสิทธิผลการบริหารวิชาการ โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุม 8

ระเบียบวิธีวิจัย

1. ประชากรและกลุมตัวอยาง

การศึกษาในครั้งนี้ เปนการศึกษาวิจัยเชิงสำรวจ (Survey research) ผูวิจัยไดกำหนด ขั้นตอนการวิจัย ดังนี้

ประชากรที่ใชในการวิจัย ไดแก บุคลากรโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุมที่ 8 จำนวน 340 คน (สถิติขอมูลโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุมที่ 8, 2563, ออนไลน

กลุมตัวอยางในการวิจัยครั้งนี้ ไดแก บุคลากรโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญ ศึกษา กลุมที่ 8 ปการศึกษา 2563 จำนวน 181 คน การกำหนดขนาดของกลุมตัวอยางไดมาโดย

(8)

การใชตารางสำเร็จรูปของ Krejcie and Morgan (อางถึงใน วาโร เพ็งสวัสดิ์, 2562, หนา 191) และทำการสุมตัวอยางแบบชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling)

การสุมตัวอยาง ใชวิธีการสุมตัวอยางแบบชั้นภูมิ (Stratified Sampling) และการสุม แบบงาย (Simple Random Sampling) โดยใชเกณฑรอยละ 53 ของจำนวนประชากรในแตละ จังหวัด เพื่อใหไดจำนวนตัวอยางมากนอยตามสัดสวนของจำนวนประชากรในแตละจังหวัด แลวทำ การจับสลากรายชื่อ ทำการสุมตัวอยางในแตละพื้นที่จนครบจำนวนตามที่กำหนด ผูวิจัยสามารถ กำหนดขนาดกลุมตัวอยางตามสัดสวนขนาดของประชากรกลุมตัวอยางในแตละจังหวัด ดังตาราง 3 ตาราง 3 ประชากรและกลุมตัวอยางในการวิจัย

จังหวัด จำนวน (คน)

ประชากร กลุมตัวอยาง

1. อุดรธานี 178 95

2. หนองคาย 82 44

3. สกลนคร 61 32

4. บึงกาฬ 19 10

รวม 340 181

2. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย

เครื่องมือที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ เปนแบบสอบถาม (Questionnaires) ที่ผูวิจัยสรางขึ้น จากการทบทวนวรรณกรรมแนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ แบงออกเปน 4 ตอน ดังนี้

ตอนที่ 1 แบบสอบถามขอมูลคุณลักษณะสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถาม ซึ่งเปน บุคลากรโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา อันประกอบดวย เพศ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณการทำงาน แบบสอบถามมีลักษณะคำถามเปนแบบตรวจสอบรายการ (Check List)

ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับปจจัยที่สงผลตอการบริหารงานวิชาการ โรงเรียน พระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุมที่ 8 ลักษณะแบบสอบถาม ในตอนที่ 2 มีลักษณะเปน แบบมาตราสวนประมาณคา (Rating scale) 5 ระดับ ระดับ ตามวิธีของลิเคอรท (Likert)

(9)

ตอนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับความคิดเห็นตอการบริหารงานวิชาการ โรงเรียน พระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุมที่ 8 ลักษณะแบบสอบถามในตอนที่ 3 มีลักษณะเปนแบบ มาตราสวนประมาณคา (Rating scale) 5 ระดับ ตามวิธีของลิเคอรท (Likert)

การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ ประกอบดวย

1. การหาคาความเที่ยงตรง (Validity) นำแบบสอบถามใหผูทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 ทาน ทำการตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) หลังจากนั้นนำมาหาดัชนี

ความสอดคลอง (IOC) โดยเลือกขอที่มีคา IOC มากกวา 0.5 สวนขอใดมีคานอยกวา 0.5 ผูวิจัย นำมาปรับปรุงแกไขตามขอเสนอแนะของผูทรงคุณวุฒิ

2. การหาคาความเชื่อมั่น (Reliability) ผูวิจัยนำแบบสอบถามไปทดลองใช (Try Out) กับกลุมประชากรที่ไมใชกลุมตัวอยางที่จะศึกษาจำนวน 30 ชุด หลังจากนั้นนำมาหาคาความ เชื่อมั่นโดยการวิเคราะหหาคาสัมประสิทธิ์แอลฟา (Alpha–Coefficient) ดวยวิธีการของ Cronbach โดยกำหนดคาความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม ตองมากกวา 0.70 จึงจะถือวา แบบสอบถามนั้นใชได และนำขอคำถามที่ไดมาวิเคราะหหาคาอำนาจจำแนก (Discrimination Power) โดยใชวิธีการหาคาสหสัมพันธรายขอกับคะแนนรวม (Item Total Correlation) คิดขอ คำถามที่มีคาอำนาจจำแนกตั้งแต 0.361 ขึ้นไป

3. วิธีรวบรวมขอมูล

ผูวิจัยจะเก็บรวบรวมขอมูลจากแบบสอบถาม โดยมีขั้นตอนดังนี้

1. ผูวิจัยนำหนังสือขอความอนุเคราะหเก็บขอมูลวิจัยจากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ถึงผูอำนวยการโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุมที่ 8 ทั้ง 42 โรงเรียน เพื่อขอความรวมมือในการเก็บขอมูลจาก ผูตอบแบบสอบถาม ซึ่งเปนบุคลากร โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุมที่ 8 จำนวน 181 คน

2. สงแบบสอบถามไปใหผูที่เกี่ยวของพรอมชี้แจงรายละเอียด ความมุงหมายของการ ออกแบบสอบถามนี้ เพื่อทำความเขาใจใหตรงกันในการตอบแบบสอบถาม

3. ดำเนินการเก็บรวบรวมขอมูล โดยผูวิจัยดำเนินการเก็บขอมูลดวยตนเองและการ ลงพื้นที่จริง เพื่อนำแบบสอบถามไปแจกแกกลุมตัวอยาง จำนวน 181 คน ในโรงเรียนพระปริยัติ

(10)

ธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุมที่ 8 พรอมทั้งชี้แจงรายละเอียด ความมุงหมายของการออกแบบ สอบถาม

4. ตรวจสอบความถูกตอง ความสมบูรณของแบบสอบถาม เพื่อนำแบบสอบถามไป ประมวลผล และวิเคราะหขอมูลตอไป

4. สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล

การวิเคราะหขอมูลที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดทำการวิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรม สำเร็จรูป ซึ่งมีสถิติดังนี้

ในการวิจัยในครั้งนี้ ผูวิจัยไดใชสถิติในการวิเคราะห ดังนี้

1. การวิเคราะหขอมูลคุณลักษณะสวนบุคคล ใชสถิติพื้นฐาน ไดแก คาความถี่

(Frequency) และคารอยละ (Percentage)

2. การหาคุณภาพของเครื่องมือ ใชสถิติเพื่อหาคาความเที่ยงตรงของแบบสอบถาม โดยผูเชี่ยวชาญและใชคาดัชนี IOC (Index of Item - objective congruence) หาคาอำนาจ จำแนกรายขอของแบบสอบถาม โดยใชวิธีการหาคาสหสัมพันธรายขอกับคะแนนรวม (Item Total Correlation) และหาคาความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม โดยใชสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟา (Alpha coefficient) ตามวิธีของครอนบาค (Cronbach)

3. การวิเคราะหระดับ 1) ปจจัยที่สงผลตอการบริหารงานวิชาการ โรงเรียนพระ ปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุมที่ 8 และ 2) ความคิดเห็นตอการบริหารงานวิชาการ โรงเรียน พระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุมที่ 8 ใชสถิติ ไดแก คาเฉลี่ย (Mean) สวนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (Standard deviation)

4. การศึกษาความสัมพันธระหวาง ปจจัยดานความสัมพันธและการมีสวนรวมของ โรงเรียนกับชุมชน ดานความพรอมของอาคารสถานที่ ดานครูผูสอน ดานผูบริหาร ดานการจัดการ งบประมาณ และดานสื่อวัสดุ อุปกรณและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา กับประสิทธิผลการบริหาร วิชาการโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุมที่ 8 ผูวิจัยใชการหาคาสัมประสิทธิ์

สหสัมพันธของเพียรสัน (Pearson Product Moment Correlation Coefficient)

5. การศึกษา ปจจัยดานความสัมพันธและการมีสวนรวมของโรงเรียนกับชุมชน ดาน ความพรอมของอาคารสถานที่ ดานครูผูสอน ดานผูบริหาร ดานการจัดการงบประมาณ และดาน

(11)

สื่อวัสดุ อุปกรณและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา สงผลตอประสิทธิผลการบริหารวิชาการโรงเรียน พระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุมที่ 8 ผูวิจัยทำการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) โดยกำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

5. การศึกษาแนวทางในการพัฒนาปจจัยที่สงผลตอประสิทธิผลการบริหารวิชาการ โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุมที่ 8

1. ผูวิจัยจะนำมาหาแนวทางในการพัฒนาปจจัยที่สงผลตอประสิทธิผลการบริหาร วิชาการโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุมที่ 8 โดยการสรางแบบสัมภาษณ เพื่อ สัมภาษณผูเชี่ยวชาญ จำนวน 10 ทาน เพื่อพิจารณาเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาปจจัยที่สงผล ตอประสิทธิผลการบริหารวิชาการโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุมที่ 8

2. นำขอมูลที่รวบรวมจากการสัมภาษณมาจัดหมวดหมู ศึกษา และทำความเขาใจ ขอมูลที่รวบรวมมาไดทั้งหมดหลาย ๆ รอบ (Read and Re-read) แลวหาความสัมพันธของขอมูล เหลานั้นในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง เพื่อการกำหนดทิศทาง (Trend) และสรางขอสรุป และ นำเสนอโดยอิงกรอบการศึกษาโดยการพรรณนา (Descriptive Analysis) พรอมอางอิงขอมูล บางสวนที่เปนที่มาของขอสรุปนั้น

3. นำแนวทางในการพัฒนาปจจัยที่สงผลตอประสิทธิผลการบริหารวิชาการโรงเรียน พระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุมที่ 8 เสนอคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธตรวจสอบ ความเหมาะสมเบื้องตนและใหขอเสนอแนะ จากนั้นปรับปรุงแกไขในสวนที่บกพรอง

4. จัดทำแนวทางในการพัฒนาปจจัยที่สงผลตอประสิทธิผลการบริหารวิชาการ โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุมที่ 8 ฉบับสมบูรณ

ผลการวิจัย

1. ประสิทธิผลการบริหารวิชาการ โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุมที่

8 โดยภาพรวมและรายดานอยูในระดับมาก

2. ปจจัยที่สงผลตอประสิทธิผลการบริหารวิชาการ โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนก สามัญศึกษา กลุมที่ 8 โดยภาพรวมและรายดานอยูในระดับมาก

(12)

3. ปจจัยที่สงผลตอประสิทธิผลการบริหารวิชาการของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนก สามัญศึกษา กลุมที่ 8 โดยภาพรวม มีความสัมพันธกับประสิทธิผลการบริหารวิชาการโรงเรียนพระ ปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา กลุมที่ 8 โดยภาพรวม อยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมี

ความสัมพันธกันในระดับปานกลาง

4. ปจจัยดานความสัมพันธและการมีสวนรวมของโรงเรียนกับชุมชน (FAC1) ปจจัยดาน การจัดการงบประมาณ (FAC5) และปจจัยดานสื่อวัสดุ อุปกรณและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา (FAC6) มีอำนาจพยากรณประสิทธิผลการบริหารวิชาการโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญ ศึกษา กลุมที่ 8 อยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ซึ่งมีคาสัมประสิทธิ์พยากรณ .534 โดย สามารถรวมกันทำนายระดับประสิทธิผลการบริหารวิชาการโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญ ศึกษา กลุมที่ 8 ไดรอยละ 53.40

5. แนวทางในการพัฒนาปจจัยที่สงผลตอประสิทธิผลการบริหารวิชาการโรงเรียนพระ ปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุมที่ 8 มี 3 ดาน คือ 1) ดานความสัมพันธและการมีสวนรวมของ โรงเรียนกับชุมชน 2) ดานสื่อวัสดุ อุปกรณและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา และ 3) ดานการจัดการ งบประมาณ

อภิปรายผล

1. ผลการวิจัย พบวา ปจจัยที่สงผลตอประสิทธิผลการบริหารวิชาการ โรงเรียนพระปริยัติ

ธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุมที่ 8 โดยภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณารายดาน พบวาสงผล ตอการบริหารงานอยูในระดับมาก ทุกดาน โดยดานที่มีคาเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ดานความพรอมของ อาคารสถานที่ รองลงมาคือ ดานครูผูสอน ดานผูบริหาร ดานความสัมพันธและการมีสวนรวมของ โรงเรียนกับชุมชน ดานการจัดการงบประมาณ สวนดานที่มีคาเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ดานสื่อวัสดุ

อุปกรณและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา โดยดานความพรอมของอาคารสถานที่ ซึ่งเปนดานที่มี

คาเฉลี่ยสูงที่สุด เมื่อพิจารณารายขอ พบวา สงผลตอการบริหารงานอยูในระดับมาก ทุกขอ โดยขอ ที่มีคาเฉลี่ยสูงที่สุด คือ โรงเรียนมีบรรยากาศทางวิชาการที่สงเสริมสนับสนุนตอการดำเนินงาน วิชาการใหประสบผลสำเร็จ รองลงมาคือ โรงเรียนจัดเตรียมอาคารสถานที่สำหรับดำเนินงาน วิชาการอยางเหมาะสม สวนขอที่มีคาเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ โรงเรียนมีอาคารสถานที่ที่พอเพียงตอการ จัดการศึกษา สวนดานสื่อวัสดุ อุปกรณและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาซึ่งเปนดานที่มีคาเฉลี่ยต่ำที่สุด

(13)

เมื่อพิจารณารายขอ พบวา สงผลตอการบริหารงานอยูในระดับมาก ทุกขอ โดยขอที่มีคาเฉลี่ยสูง ที่สุด คือ โรงเรียนมีการสงเสริมใหใชหองสมุดและสื่อไอทีในการจัดการเรียนการสอน รองลงมาคือ โรงเรียนมีการจัดแหลงเรียนรูเพื่อสนับสนุนการบริหารงานวิชาการ สวนขอที่มีคาเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ โรงเรียนมีการจัดเตรียมเครื่องมือและวัสดุอุปกรณทางการศึกษามาสนับสนุน

2. ผลการวิจัยจากการศึกษา ระดับประสิทธิผลการบริหารวิชาการโรงเรียนพระปริยัติ

ธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุมที่ 8 พบวา ประสิทธิผลการบริหารวิชาการ โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุมที่ 8 โดยภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณารายดาน พบวา มีการ บริหารงานอยูในระดับมากทุกดาน โดยดานที่มีคาเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ดานหลักสูตรและการพัฒนา หลักสูตร รองลงมา คือ ดานการบริหารหลักสูตร ดานการนิเทศภายใน ดานการวัดผลและ ประเมินผล ดานสื่อและนวัตกรรม สวนขอที่มีคาเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ดานการสงเสริมวิชาการ โดย ดานหลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตรซึ่งเปนดานที่มีคาเฉลี่ยสูงที่สุด เมื่อพิจารณารายขอ พบวา มี

การบริหารงานอยูในระดับมาก ทุกขอ โดยขอที่มีคาเฉลี่ยสูงที่สุด คือ โรงเรียนมีการดำเนินการ ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรใหสอดคลองกับความตองการของชุมชนและทองถิ่น รองลงมาคือ โรงเรียนมีการประชุมชี้แจงใหคำแนะนำแกครู ใหมีความรูความเขาใจในจุดมุงหมาย หลักการ โครงสรางของหลักสูตร สวนขอที่มีคาเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ โรงเรียนมีการใหชุมชนเขามามีสวนรวมใน การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา สวนดานดานการสงเสริมวิชาการ ซึ่งเปนดานที่มีคาเฉลี่ยต่ำที่สุด เมื่อพิจารณารายขอ พบวา มีการบริหารงานอยูในระดับมาก ทุกขอ โดยขอที่มีคาเฉลี่ยสูงที่สุด คือ โรงเรียนมีการสงเสริมใหมีการจัดบรรยากาศของหองสมุดที่เอื้อตอการจัดการเรียนการสอนและ การคนควาอยูเสมอ รองลงมาคือ โรงเรียนมีการจัดสรรงบประมาณแกหองสมุดใหเพียงพอและใช

จายอยางมีประสิทธิภาพ สวนขอที่มีคาเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ โรงเรียนมีการสงเสริมสนับสนุนใหครูใช

หองสมุดเปนแหลงการจัดการเรียนการสอน เชน การจัดนิทรรศการ การประกวดผลงานนักเรียน 3. ผลการวิจัยจากการศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยดานความสัมพันธและการมี

สวนรวมของโรงเรียนกับชุมชน ดานความพรอมของอาคารสถานที่ ดานครูผูสอน ดานผูบริหาร ดานการจัดการงบประมาณ และดานสื่อวัสดุ อุปกรณและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษากับประสิทธิผล การบริหารวิชาการโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุมที่ 8 พบวา ปจจัยที่สงผลตอ ประสิทธิผลการบริหารวิชาการของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุมที่ 8 โดย ภาพรวม มีความสัมพันธกับประสิทธิผลการบริหารวิชาการโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญ

(14)

ศึกษา กลุมที่ 8 โดยภาพรวม อยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีความสัมพันธกันในระดับ ปานกลาง และมีความสัมพันธทางบวก (r = .687) เมื่อพิจารณาความสัมพันธระหวางประสิทธิผล การบริหารวิชาการโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา กลุมที่ 8 โดยภาพรวม กับปจจัยที่

สงผลตอประสิทธิผลการบริหารวิชาการของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุมที่ 8 เปนรายดาน พบวา มีความสัมพันธกันอยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทุกดาน โดยมี

ความสัมพันธกันในระดับปานกลาง และมีความสัมพันธทางบวกทุกดาน

4. ผลการวิจัยจากการศึกษาอำนาจพยากรณของปจจัยดานความสัมพันธและการมีสวน รวมของโรงเรียนกับชุมชน ดานความพรอมของอาคารสถานที่ ดานครูผูสอน ดานผูบริหาร ดานการ จัดการงบประมาณ และดานสื่อวัสดุ อุปกรณและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ที่สงผลตอประสิทธิผล การบริหารวิชาการโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุมที่ 8 พบวา ปจจัยดาน ความสัมพันธและการมีสวนรวมของโรงเรียนกับชุมชน และปจจัยดานสื่อวัสดุ อุปกรณและ เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา มีอำนาจพยากรณประสิทธิผลการบริหารวิชาการโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุมที่ 8 อยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .00 ปจจัยดานการจัดการงบประมาณ มีอำนาจพยากรณประสิทธิผลการบริหารวิชาการโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุมที่

8 อยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ซึ่งมีคาสัมประสิทธิ์พยากรณ = .534 โดยปจจัยดาน ความสัมพันธและการมีสวนรวมของโรงเรียนกับชุมชน ปจจัยดานสื่อวัสดุ อุปกรณและเทคโนโลยี

เพื่อการศึกษา และปจจัยดานการจัดการงบประมาณ สามารถรวมกันทำนายระดับประสิทธิผลการ บริหารวิชาการโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุมที่ 8 ไดรอยละ 53.40

ขอเสนอแนะ

ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป

1. ควรนำปจจัยดานความสัมพันธและการมีสวนรวมของโรงเรียนกับชุมชน ปจจัยดาน สื่อวัสดุ อุปกรณและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา และปจจัยดานการจัดการงบประมาณ ไปทำการวิจัย ในรูปแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาและปรับปรุง ประสิทธิผลการบริหารวิชาการโรงเรียน พระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุมที่ 8 ตอไป

Referensi

Dokumen terkait

C-24 0506 901 วิทยาระเบียบวิธีวิจัยขั้นสูง 33-0-6 Advanced Research Methodology ปรัชญา แนวคิด หลักการ ทฤษฎี ระเบียบวิธีวิจัย กระบวนการ ขั้นตอนในการดำาเนินการวิจัย แบบแผนการวิจัย