• Tidak ada hasil yang ditemukan

View of การพัฒนาความรู้ความเข้าใจ การคิดวิเคราะห์ โดยใช้ชุดฝึกการเขียนแผน การจัดประสบการณ์ กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ นักศึกษาชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด

N/A
N/A
Nguyễn Gia Hào

Academic year: 2023

Membagikan "View of การพัฒนาความรู้ความเข้าใจ การคิดวิเคราะห์ โดยใช้ชุดฝึกการเขียนแผน การจัดประสบการณ์ กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ นักศึกษาชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด"

Copied!
10
0
0

Teks penuh

(1)

วารสารพุทธปรัชญาวิวัฒน ปที่ 7 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2566)| 125

การพัฒนาความรู%ความเข%าใจ การคิดวิเคราะห โดยใช%ชุดฝ/กการเขียนแผน

การจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะสร%างสรรค นักศึกษาชั้นปที่ 3 สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร%อยเอ็ด*

COGNITIVE DEVELOPMENT ANALYTICAL THINKING BY USING A SET OF PRACTICE WRITING PLANS, ORGANIZING EXPERIENCES, CREATIVE ARTS

ACTIVITIES, 3

rd

YEAR STUDENT IN EARLY CHILDHOOD EDUCATION MAHAMAKUT BUDDHIST UNIVERSITY ROI ET CAMPUS

นารีรัตน จันทวฤทธิ์1, ปยะสุดา เพชราเวช2, วีณา ภาคมฤค3, วรรษิษฐา อัครธนยวมนต4 Nareerat Jantawarit1, Piyasuda Pecharawech2, Weena Pakmaluk3,

Watsittha Akkaratanayavamon4 มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตรCอยเอ็ด1,2,3,4 Mahamakut Buddhist University Roi Et Campus1,2,3,4 Email : pik.45@hotmail.com

บทคัดย[อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค 1)เพื่อการพัฒนาความรูCความเขCาใจ การคิดวิเคราะห โดยใชC ชุดฝ\กการเขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรค นักศึกษาชั้นปaที่ 3 สาขาวิชา การศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตรCอยเอ็ด 2)เพื่อเปรียบเทียบความรูC ความเขCาใจ การคิดวิเคราะห นักศึกษาชั้นปaที่ 3 สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย กbอนและหลังการใชC ชุดฝ\กการเขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรค 3)เพื่อศึกษาความพึงพอของ นักศึกษาที่มีตbอการพัฒนาความรูCความเขCาใจ การคิดวิเคราะห โดยใชCชุดฝ\กการเขียนแผนการจัด ประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรค กลุbมเปcาหมายที่ใชCในการวิจัยครั้งนี้เปdนนักศึกษาชั้นปaที่ 3 สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย จํานวน 14 คน ที่กําลังศึกษาในภาคการศึกษาที่ 1 ปaการศึกษา 2564 เครื่องมือที่ใชCในการวิจัยครั้งนี้ คือ ชุดฝ\กการเขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรค แบบทดสอบความรูCความเขCาใจการเขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรค และ แบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตbอชุดฝ\ก สถิติที่ใชCในการวิเคราะหขCอมูล ไดCแกb คbาเฉลี่ย สbวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบคbาที (t-test for dependent Samples)

ผลการวิจัยพบวbา 1. ผลการวิเคราะหการเปรียบเทียบคะแนนนักศึกษามีความรูCความเขCาใจ การคิดวิเคราะห โดยใชCชุดฝ\กการเขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรค สูงกวbา กbอนการใชCชุดฝ\กการเขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรคอยbางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ .01 2. การเปรียบเทียบคะแนนทดสอบความรูCความเขCาใจ การคิดวิเคราะหของนักศึกษา

*Received: September 15, 2022; Revised: February 10, 2023; Accepted: February 21, 2023

(2)

126 | Journal of Buddhist Philosophy Evolved Vol.7 No.1 (January – June 2023)

กbอนและหลังการใชCชุดฝ\กการเขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรค คิดเปdนคbาเฉลี่ยและคbาเบี่ยงเบนมาตรฐานดังนี้ กbอนการใชCชุดฝ\กการเขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรค คbาเฉลี่ย เทbากับ 7.36 คbาเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทbากับ 2.24 หลังการใชCชุดฝ\ก การเขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรค คbาเฉลี่ย เทbากับ 16.71 คbาเบี่ยงเบน มาตรฐาน เทbากับ 1.59 ซึ่งผลตbางของคะแนนกbอนการทดลองและหลังการทดลอง คbาคะแนนเฉลี่ย เทbากับ9.36คbาสbวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทbากับ 1.78 ซึ่งแสดงใหCเห็นวbาหลังจากการใชCชุดฝ\กการเขียน แผนการจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรค ผูCเรียนมีความรูCความเขCาใจ การคิดวิเคราะห สูงขึ้นกวbากbอนการใชCชุดฝ\กการเขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรค 3. ความพึง พอใจในภาพรวมของนักศึกษาที่มีตbอการใชCชุดฝ\กการเขียนแผนการจัดประสบการณกิจกรรมศิลปะ สรCางสรรคมีคbาเฉลี่ยเทbากับ 4.69 คbาสbวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทbากับ 0.10 อยูbในระดับดีมาก

คําสําคัญ : ความรูCความเขCาใจ; การคิดวิเคราะห; ชุดฝ\ก; นักศึกษา

ABSTRACT

The objectives of this research were 1) to develop knowledge and understanding. Analytical thinking using practice sets, writing experience plans creative arts activities 3rd year student in Early Childhood Education, Mahamakut Buddhist University Roi Et Campus 2) to compare knowledge and understanding analytical thinking 3rd year student in the field of early childhood education Before and after using the writing practice set experience plan creative arts activities 3) to study the students' satisfaction towards develop cognition analytical thinking by using the practice set for writing experience plans, activities, creative arts The target group used in this research were 14 third-year students in the field of early childhood education who were studying in the first semester of the academic year 2021. The instrument used in this research was the writing experience plan set. creative arts activities Cognitive Quiz writing an experience plan creative arts activities and the satisfaction questionnaire of students towards the training set The statistics used to analyze the data were mean, standard deviation, and t-test for dependent samples.

The results of research were found that: 1. The results of the analysis of comparative scores of students with knowledge and understanding analytical thinking by using the practice set for writing the experience plan creative arts activities higher than before using the experience plan writing practice package Creative arts activities were statistically significant at the .01 level. 2. Cognitive Test Score Comparison Analytical thinking of students before and after using the experience plan writing practice package creative arts activities. The mean and standard deviation are calculated as follows. Before using the experience plan writing practice package Creative arts

(3)

วารสารพุทธปรัชญาวิวัฒน ปที่ 7 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2566)| 127

activities mean value equal to 7.36, standard deviation equal to 2.24 after using the experience plan writing practice package. Creative arts activities mean value was 16.71 and standard deviation was 1.59. average score was 9.36, and the standard deviation was 1.78, which showed that after using the experience plan writing practice package creative arts activities learners have understanding analytical thinking higher than before using the experience plan writing practice package creative arts activities. 3. The overall satisfaction of the students towards the use of the creative art activity experience plan writing practice package had an average of 4.69, a standard deviation of 0.10, in a very good level.

Keywords : Cognition; Analytical Thinking; Practice Set; Student

1. ความสําคัญและที่มาของปqญหาที่ทําการวิจัย

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหbงชาติ ฉบับที่ 12 และแผนพัฒนาการศึกษาของ

กระทรวงศึกษาธิการฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) การที่จะพัฒนาประเทศไทยไปสูbความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ใหCเกิดขึ้นในอนาคตนั้น จะตCองใหCความสําคัญ “การพัฒนาคน” ซึ่งมีสิ่งที่สําคัญที่สุด

คือทักษะการเรียนรูCและพัฒนาศักยภาพคนทุกกลุbมวัยใหCมีทักษะและความรูCความสามารถโดยสbงเสริม ใหCเด็กปฐมวัยมีการพัฒนาทักษะสมองและทักษะทางสังคมที่เหมาะสม พัฒนาเด็กวัยเรียนใหCมีทักษะ การคิดวิเคราะหอยbางเปdนระบบ มีความคิดสรCางสรรค มีทักษะการทํางานและการใชCชีวิตที่พรCอมเขCาสูb ตลาดงานพัฒนาการบริหารจัดการสถานศึกษาใหCมีความอิสระ คลbองตัว และมีประสิทธิภาพมากขึ้น (สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2555) การพัฒนาประเทศใหCมีความเจริญกCาวหนCา และยืดหยัด อยูbในกระแสโลกาภิวัตนไดCอยbางมั่นคงและอยbางเปdนสุขนั้น จําเปdนจะตCองพัฒนาประชาชนใหCมี

คุณภาพ โดยเริ่มตCนตั้งแตbเยาววัยซึ่งป•จจัย สําคัญประการหนึ่งที่ทําใหCคนมีคุณภาพ คือโดยการฝ\ก ทักษะกระบวนการคิด การประยุกตความรูCมาใชCเพื่อปcองกันแกCป•ญหาและจัดกิจกรรม ใหCผูCเรียนไดC เรียนรูCจากการปฏิบัติ คิดเปdนและทําเปdน (ประพันธศิริ สุเสารัจ, 2552)

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ดังกลbาวขCางตCนไดCกําหนดใหCเด็กปฐมวัย อายุ

3-6 ปa สภาพที่พึงประสงคใหCเด็กมีความสนใจ มีความสุขและแสดงออกผbานงานศิลปะดนตรีและการ เคลื่อนไหว ซึ่งการพัฒนาการคิดเปdนการพัฒนาใหCเด็กมีความสามารถในการคิดแกCป•ญหาคิดรวบยอด และคิดเชิงเหตุผลทางคณิตศาสตรและวิทยาศาสตรโดยจัดกิจกรรมใหCเด็กไดCสังเกตจําแนก เปรียบเทียบสืบเสาะหาความรูCสนทนาอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเชิญวิทยากรมาพูดคุยกับเด็ก ศึกษานอกสถานที่เลbนเกมการศึกษาฝ\กแกCป•ญหาในชีวิตประจําวันฝ\กออกแบบและสรCางชิ้นงานและ ทํากิจกรรมทั้งเปdนรายบุคคลกลุbมยbอยและกลุbมใหญb (สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ, 2560)

ป•จจุบันนี้ในโลกการศึกษามีการเปลี่ยนแปลง และโลกเกิดการเปลี่ยนแปลงอยbางรวดเร็ว และเพื่อความเหมาะสมในชbวงสถานการณแพรbระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มหาวิทยาลัยจําเปdนตCองปรับปรุงมาตรฐานดCานวิชาการเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงใหCเหมาะสมกับ

(4)

128 | Journal of Buddhist Philosophy Evolved Vol.7 No.1 (January – June 2023)

สถานการณ โดยมุCงเนCนไปที่กระบวนการเปลี่ยนแปลงการเรียนการสอนโดยใชCเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อใหCสอดคลCองกับการเรียนการสอนของสถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตรCอยเอ็ด เปdนสถาบันทางการศึกษาโดยไดCเปดทําการสอน ซึ่งในปaการศึกษา 2564 ผูCวิจัยไดC ตระหนักในการจัดการเรียนการสอนใหCแกbนักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัยไดCมีความรูCและทักษะที่

สําคัญ เพื่อสรCางเสริมใหCผูCเรียนอยากรูC อยากเรียน เรCาและกระตุCนความสนใจใหCอยากคิดวิเคราะห ลง มือปฏิบัติ และหาความรูCดCวยตนเองเพิ่มขึ้น ตลอดจนใหCนักศึกษาไดCมีโอกาสเรียนรูCจากแหลbงเรียนรูCที่

หลากหลาย

ดังนั้นจากความเปdนมาความสําคัญและป•ญหาดังกลbาว ทําใหCผูCวิจัยมีความสนใจหาเทคนิค วิธีการใหมbๆ ภายใตCกระแสของสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปมาใชCในการแกCป•ญหาและตCองการพัฒนา ความรูCความเขCาใจ การคิด วิเคราะห ของผูCเรียนใหCมีคุณภาพ ผูCวิจัยจึงไดCจัดทําโครงการวิจัยเรื่อง การ พัฒนาความรูCความเขCาใจ การคิดวิเคราะห โดยใชCชุดฝ\กการเขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรม ศิลปะสรCางสรรค นักศึกษาชั้นปaที่ 3 สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตรCอยเอ็ด

2. วัตถุประสงคของการวิจัย

2.1 เพื่อศึกษาการพัฒนาความรูCความเขCาใจ การคิดวิเคราะห โดยใชCชุดฝ\กการเขียน แผนการจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรค นักศึกษาชั้นปaที่ 3 สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตรCอยเอ็ด

2.2 เพื่อเปรียบเทียบความรูCความเขCาใจ การคิดวิเคราะห นักศึกษาชั้นปaที่ 3 สาขาวิชา การศึกษาปฐมวัย กbอนและหลังการใชCชุดฝ\กการเขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะ สรCางสรรค

2.3 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาตbอการการพัฒนาความรูCความเขCาใจ การคิด วิเคราะห โดยใชCชุดฝ\กการเขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรค นักศึกษาชั้นปaที่ 3 สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตรCอยเอ็ด

3. ประโยชนที่ได%รับจากการวิจัย

3.1 ทําใหCไดCใชCชุดฝ\กการเขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรคเพิ่มขึ้น นักศึกษาสามารถนําความรูCความเขCาใจ การคิดวิเคราะห ไปใชCในการพัฒนาตนเองไดCอยbางมีคุณภาพ

3.2 ผลการวิจัยทําใหCนักศึกษาสามารถนําเทคนิควิธีการจากการใชCชุดฝ\กการเขียนแผนการ จัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรคไดCอยbางมีประสิทธิภาพ

4. วิธีดําเนินการวิจัย

การศึกษาวิจัยครั้งนี้เปdนการวิจัยแบบแผนการวิจัยแบบกึ่งทดลอง (Quasi-Experimental Design) ดําเนินการทดลองโดยอาศัยการทดลองแบบกลุbมเดียววัดกbอน-หลังการทดลอง (One-

group pretest-posttest design) (ไพศาล วรคํา, 2559) ประชากรและกลุbมตัวอยbางในการวิจัย ครั้งนี้คือนักศึกษาเปdนนักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ชั้นปaที่ 3 จํานวน 14 คน หญิง 14 คน ที่

(5)

วารสารพุทธปรัชญาวิวัฒน ปที่ 7 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2566)| 129

กําลังศึกษาในภาคการศึกษาที่ 1 ปaการศึกษา 2564 มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขต รCอยเอ็ด เพื่อใหCไดCขCอมูลในประเด็นที่ผูCวิจัยตCองการเพื่อนํามาวิเคราะหตอบวัตถุประสงคของการวิจัย ตัวแปรที่ใชCในการศึกษา ตัวแปรอิสระ คือ ชุดฝ\กการเขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะ สรCางสรรค ตัวแปรตาม คือการคิดวิเคราะห เครื่องมือที่ใชCในการวิจัย คือชุดฝ\กการเขียนแผนการจัด ประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรคแบบทดสอบความรูCความเขCาใจการเขียนแผนการจัด ประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรคและแบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตbอชุดฝ\ก การเก็บรวบรวมขCอมูล ผูCวิจัยดําเนินการดังนี้1)นําหนังสือขอความอนุเคราะหเก็บขCอมูลติดตbอ ประสานงานผูCเชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่องมือการวิจัย ทั้ง 3 ชุด เพื่อขอความรbวมมือกับกลุbมตัวอยbาง ทดสอบความความรูCความเขCาใจ การคิดวิเคราะหของผูCเรียนกbอนการทดลอง 2)ดําเนินการสอนโดยใชC ชุดฝ\กการเขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรค ครั้งละ 1 เรื่อง เรื่องละ 3 คาบ คาบละ 60 นาที จนครบ 4 เรื่อง เพื่อการทดลอง 14 คน ซึ่งเปdนนักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ชั้นปaที่ 3 ที่ผูCวิจัยรับผิดชอบในการจัดการเรียนการสอน 3)ทดสอบความรูCความเขCาใจ การคิดวิเคราะห ของผูCเรียนหลังการทดลอง 4)ประเมินความพึงพอใจของผูCเรียนที่มีตbอการใชbชุดฝ\กการเขียนแผนการ จัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะและ 5)นําขCอมูลดังกลbาวมาวิเคราะหผลเพื่อเปรียบเทียบความรูCความ เขCาใจ การคิดวิเคราะห ของผูCเรียนกbอนและหลังการทดลอง โดยใชCสถิติ t-test แบบ dependent samples

5. ผลการวิจัย

5.1 ผลการวิเคราะหการเปรียบเทียบคะแนนนักศึกษามีความรูCความเขCาใจ การคิดวิเคราะห โดยใชCชุดฝ\กการเขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรค สูงกวbากbอนการใชCชุดฝ\ก การเขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรคอยbางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

5.2 ผลการวิเคราะหการเปรียบเทียบคะแนนความรูCความเขCาใจ การคิดวิเคราะห ของ

นักศึกษากbอนและหลังการใชCชุดฝ\กการเขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรค การวิเคราะหนี้คือคbาเฉลี่ยและคbาสbวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนทดสอบความรูCความเขCาใจ การ

คิดวิเคราะห ของนักศึกษากbอนการใชCชุดฝ\กการเขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะ สรCางสรรค และหลังการใชCชุดฝ\กการเขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรค เพื่อหา คbาผลตbาง ผลปรากฏดังตารางที่ 1 และตารางที่ 2 ดังนี้

ตารางที่ 1 แสดงคbาเฉลี่ยและคbาสbวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนทดสอบความรูCความเขCาใจ การ คิดวิเคราะห ของนักศึกษากbอนและหลังการใชCชุดฝ\กการเขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรค

เลขที่ คะแนนทดสอบความรู%ความเข%าใจ การคิดวิเคราะห คะแนนก[อนการทดลอง คะแนนหลังการทดลอง ผลต[าง

1 10 19 9

2 11 18 7

(6)

130 | Journal of Buddhist Philosophy Evolved Vol.7 No.1 (January – June 2023)

เลขที่ คะแนนทดสอบความรู%ความเข%าใจ การคิดวิเคราะห คะแนนก[อนการทดลอง คะแนนหลังการทดลอง ผลต[าง

3 8 16 8

4 5 18 13

5 6 17 11

6 11 19 8

7 7 15 8

8 6 14 8

9 8 17 9

10 9 18 9

11 4 15 11

12 5 17 12

13 6 16 10

14 7 15 8

รวม 103 234 131

7.36 16.71 9.36

S.D. 2.24 1.59 1.78

จากตารางที่ 1 พบวbาการเปรียบเทียบคะแนนทดสอบความรูCความเขCาใจ การคิด วิเคราะห ของนักศึกษากbอนและหลังการใชCชุดฝ\กการเขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะ สรCางสรรค คิดเปdนคbาเฉลี่ยและคbาเบี่ยงเบนมาตรฐานดังนี้ กbอนการใชCชุดฝ\กการเขียนแผนการจัด ประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรค คbาเฉลี่ย เทbากับ 7.36 คbาเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทbากับ 2.24 หลังการใชCชุดฝ\กการเขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรค คbาเฉลี่ย เทbากับ 16.71

คbาเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทbากับ 1.59 ซึ่งผลตbางของคะแนนกbอนการทดลองและหลังการทดลอง คbาคะแนนเฉลี่ย เทbากับ 9.36 คbาสbวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทbากับ 1.78 ซึ่งแสดงใหCเห็นวbาหลังจากการ

ใชCชุดฝ\กการเขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรค ผูCเรียนมีความรูCความเขCาใจ การคิดวิเคราะห สูงขึ้นกวbากbอนการใชCชุดฝ\กการเขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรค

ตารางที่ 2 แสดงคbาเฉลี่ยและคbาสbวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนทดสอบความรูCความเขCาใจ การคิดวิเคราะหโดยใชCชุดฝ\กการเขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะ สรCางสรรค กbอนและหลังการทดลองโดยรวม

ความรู%ความเข%าใจ

การคิดวิเคราะห n คะแนนก[อน การทดลอง

คะแนนหลัง การทดลอง

ผลต[าง t Sig

14 7.36 16.71 9.35

19.66** 0.00

S.D. 14 2.24 1.59 0.65

** มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

(7)

วารสารพุทธปรัชญาวิวัฒน ปที่ 7 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2566)| 131

จากตารางที่ 2 พบวbา ผูCเรียนมีคbาเฉลี่ยและคbาสbวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนทดสอบ ความรูCความเขCาใจ การคิดวิเคราะหโดยรวมโดยใชCชุดฝ\กการเขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรม ศิลปะสรCางสรรคกbอนทดลองมีคbาเฉลี่ย เทbากับ 7.36 คbาเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทbากับ 2.24 และหลัง ทดลองมีคbาเฉลี่ย เทbากับ 16.71 คbาเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทbากับ 1.59 ผลตbางของคbาเฉลี่ย เทbากับ 9.35 คbาเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทbากับ 0.65 แสดงใหCเห็นวbาหลังจากการใชCชุดฝ\กการเขียนแผนการจัด ประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรคผูCเรียนมีความรูCความเขCาใจ การคิดวิเคราะหสูงกวbากbอนการใชC ชุดฝ\กการเขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรคอยbางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

5.3 ผลการวิเคราะหการศึกษาความพึงพอใจในภาพรวมของนักศึกษาที่มีตbอการใชCชุดฝ\กการ เขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรคการวิเคราะหครั้งนี้ไดCนําคbาเฉลี่ยความพึง พอใจของนักศึกษาที่มีตbอการใชCชุดฝ\กการเขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรค ผลปรากฏดังตารางที่ 3 ดังนี้

ตารางที่ 3 การแสดงคbาเฉลี่ยและคbาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตbอการใชC ชุดฝ\กการเขียนแผนการจัดประสบการณกิจกรรมศิลปะสรCางสรรค

ข%อที่

แบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต[อการใช%

ชุดฝ/กการเขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะสร%างสรรค

̅ S.D. แปลผล ด%านแผนการจัดประสบการณ

1 ความเ หมาะสมของชุดฝ\กการเ ขียนแผนการจัด ประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรค

4.43 0.51 ดีมาก 2 มีการสรCางความรูCความเขCาใจเกี่ยวกับวัตถุประสงคของ

ชุดฝ\กการเขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะ สรCางสรรค

4.50 0.52 ดีมาก

3 สื่อในชุดฝ\กนําไปสูbการเขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรค ไดCชัดเจน

4.64 0.50 ดีมาก

รวม 4.52 0.22 ดีมาก

ด%านกิจกรรมการเรียนรู%

4 กิจกรรมที่เนCนนักศึกษาไดCฝ\กปฏิบัติจริง 5.00 0.00 ดีมาก 5 กิจกรรมการเรียนรูCสbงเสริมใหCผูCเรียนไดCแลกเปลี่ยนความรูCความคิด 4.43 0.51 ดีมาก

รวม 4.71 0.26 ดีมาก

ด%านบรรยากาศการจัดการเรียนรู%

6 บรรยากาศของการเรียนทําใหCนักศึกษาเกิดความคิดที่หลากหลาย 5.00 0.00 ดีมาก 7 บรรยากาศของการเรียนทําใหCนักศึกษามีความ

กระตือรือรCนในการเรียน

5.00 0.00 ดีมาก

รวม 5 0.00 ดีมาก

(8)

132 | Journal of Buddhist Philosophy Evolved Vol.7 No.1 (January – June 2023)

ข%อที่

แบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต[อการใช%

ชุดฝ/กการเขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะสร%างสรรค

̅ S.D. แปลผล ด%านประโยชนที่ได%รับ

8 นักศึกษาไดCพัฒนาความรูC ความเขCาใจ ในการใชCชุดฝ\กการ เขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรค

4.50 0.52 ดีมาก 9 นักศึกษาไดCพัฒนาการคิดวิเคราะหของตนเองในชุดฝ\กการ

เขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรค

4.64 0.50 ดีมาก 10 นักศึกษาไดCฝ\กการคิดอยbางเปdนระบบ 4.71 0.47 ดีมาก

รวม 4.62 0.29 ดีมาก

รวมทั้งหมด 4.69 0.10 ดีมาก

จากตารางที่ 3 แสดงคbาเฉลี่ยและคbาสbวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจในภาพรวมของ นักศึกษาที่มีตbอการใชCชุดฝ\กการเขียนแผนการจัดประสบการณกิจกรรมศิลปะสรCางสรรคมีคbาเฉลี่ย เทbากับ 4.69 คbาสbวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทbากับ 0.10 อยูbในระดับดีมาก เมื่อพิจารณาแตbละดCานพบวbา ดCานแผนการจัดประสบการณมีคbาเฉลี่ยเทbากับ 4.52 คbาสbวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทbากับ 0.22 อยูbใน ระดับดีมากดCานกิจกรรมการเรียนรูCมีคbาเฉลี่ยเทbากับ 4.71 คbาสbวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทbากับ 0.26 อยูbในระดับดีมากดCานบรรยากาศการจัดการเรียนรูC มีคbาเฉลี่ยเทbากับ 5.00 คbาสbวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทbากับ 0.00 อยูbในระดับดีมาก และประโยชนที่ไดCรับมีคbาเฉลี่ยเทbากับ 4.62 คbาสbวนเบี่ยงเบน มาตรฐานเทbากับ 0.29 อยูbในระดับดีมาก

6. อภิปรายผลการวิจัย

จากผลของการพัฒนาความรูCความเขCาใจ การคิดวิเคราะห โดยใชCชุดฝ\กการเขียนแผนการ จัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรค นักศึกษาชั้นปaที่ 3 สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตรCอยเอ็ด พบวbามีประเด็นที่นbาสนใจนํามาอธิปราย ดังนี้

6.1 นักศึกษามีความรูCความเขCาใจ การคิดวิเคราะห โดยใชCชุดฝ\กการเขียนแผนการจัด ประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรค สูงกวbากbอนการใชCชุดฝ\กการเขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรคอยbางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ที่กําหนดซึ่งสอดคลCองกับ ชุมศรี

ไพบูลยกุลกร (2549) ไดCกลbาววbา การพัฒนาชุดฝ\กอบรมครูเรื่องการจัดกระบวนการเรียนรูCแบบบูรณา การ ผลการวิจัยพบวbา ชุดฝ\กอบรมครูมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 85.30/84.38 มีความรูCความเขCาใจ ของผูCเขCารับการอบรมหลังจากศึกษาชุดฝ\กอบรมสูงกวbากbอนการฝ\กอบรมอยbางมีนัยสําคัญที่ระดับ .05 นอกจากนี้ยังสอดคลCองกับผลการพัฒนาชุดฝ\กอบรมของ มานพ ตรัยตรากุล (2543) ที่พัฒนาชุด ฝ\กอบรมสําหรับครูแลCว พบวbา ชุดฝ\กอบรมที่มีประสิทธิภาพทําใหCครูผูCสอนมีความรูCความเขCาใจในการ จัดกิจกรรมกลางแจCงเพิ่มขึ้นอยbางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แสดงวbานักเรียนมีความรูCความ เขCาใจ

(9)

วารสารพุทธปรัชญาวิวัฒน ปที่ 7 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2566)| 133

6.2 ผลการเปรียบเทียบนักศึกษามีความรูCความเขCาใจ การคิดวิเคราะห โดยใชCชุดฝ\กการ เขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรค หลังการทดลองโดยมีคbาเฉลี่ยเทbากับ 16.71 ซึ่งเปdนไปตามสมมติฐานที่ตั้งไวC และยังสอดคลCองกับสอดคลCองกับกฎแหbงผลของธอรไดค (Thorndike) ซึ่ง ประทีป แสงเปaŠยมสุข (2554) กลbาววbาการกระทําใดใดก็ตามเปdนสิ่งที่ผูCกระทําพอใจ ก็จะทําพฤติกรรมนั้นๆ ซ้ําๆ อีก ในทางตรงกันขCามถCามีผลไมbเปdนที่หนCาพอใจผูCกระทําจะเลิกทํา พฤติกรรมนั้น ดังนั้นแบบฝ\กที่สรCางขึ้นจึงตCองใหCนักเรียนทําแบบฝ\กนั้นไดCพอสมควรและควรมีเฉลยใหC นักเรียนสามารถตรวจคําตอบไดCหลังจากทําแบบฝ\กเสร็จแลCว จากเหตุผลที่กลbาวมาจึงทําใหCชุดฝ\ก ทักษะการแตbงประโยค สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปaที่ 2 มีประสิทธิภาพ 82.78/83.33 สูงกวbา เกณฑมาตรฐานที่กําหนดไวC

6.3 ความพึงพอใจในภาพรวมของนักศึกษาที่มีตbอการใชCชุดฝ\กการเขียนแผนการจัด ประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรค มีคbาเฉลี่ยเทbากับ 4.69 เนื่องจากชุดฝ\กการเขียนแผนการจัด ประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรค เปdนเนื้อหาที่ชัดเจนในการเรียนรูCของนักศึกษาและมีความ จําเปdนในการจัดกิจกรรม ทําใหCนักศึกษาอยากรูCอยากเรียนเพื่อจะไดCมีความรูCความเขCาใจ และสามารถ คิดวิเคราะหในสิ่งที่ปฏิบัติไดCดCวยตัวเอง ซึ่งสอดคลCองกับผลการศึกษาสอดคลCองกับผลการศึกษาของ ชุมศรี ไพบูลยกุลกร (2549) ที่ไดCศึกษาความคิดเห็นของผูCเขCารับการฝ\กอบรมที่มีตbอชุดฝ\กอบรม พบวbา อยูbในระดับดี โดยมีคbาเฉลี่ยเทbากับ 4.21

จากการวิจัยครั้งนี้แสดงใหCเห็นวbา การใชCชุดฝ\กการเขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรม ศิลปะสรCางสรรค มีความสําคัญอยbางสิ่งในการพัฒนาความรูCความเขCาใจ การคิดวิเคราะห นักศึกษาไดC ลงมือปฏิบัติจริง ทําใหCนักศึกษาไดCรับประสบการณตรงจากการใชCชุดฝ\กการเขียนแผนการจัด ประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรคดังนั้น จากการศึกษาผลของการพัฒนาความรูCความเขCาใจ การคิดวิเคราะห โดยใชCชุดฝ\กการเขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรค จึงเปdน แนวทางใหCผูCสอนและผูCเกี่ยวขCอง รวมทั้งผูCสนใจสามารถนําไปใชCเปdนแนวทางในการพัฒนาการสืบตbอไป

7. ข%อเสนอแนะ

7.1 ขCอเสนอแนะเชิงนโยบาย

7.1.1 ควรมีการกําหนดการสรCางนวัตกรรมการเรียนการสอนเพื่อพัฒนานักศึกษาใหC หลากหลายยิ่งขึ้น

7.1.2 ผลการวิจัยในครั้งนี้เปdนแนวทางสําคัญและจําเปdนในการพัฒนาการเรียนการสอน ของนักศึกษาในการเขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรคของนักศึกษาสาขาวิชา การศึกษาปฐมวัย

7.2 ขCอเสนอแนะสําหรับผูCปฏิบัติ

7.2.1 การจัดกิจกรรมผูCสอนควรเปดโอกาสใหCนักศึกษาไดCทํางานรbวมกันเปdนกลุbม เพื่อใหC นักศึกษาเกิดความสนใจมากยิ่งขึ้น

7.2.2 การจัดกิจกรรมศิลปะสรCางสรรค สารามรถพัฒนาความรูCความเขCาใจในดCานอื่นๆ ไดCดCวย เชbน ดCานภาษา ดCานสังคม ดCานอารมณ เปdนตCน

(10)

134 | Journal of Buddhist Philosophy Evolved Vol.7 No.1 (January – June 2023)

7.2.3 ควรมีการติดตามผลกการจัดทําการเขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรม ศิลปะสรCางสรรคของนักศึกษาที่จะออกฝ\กปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในปaตbอไป เพื่อใหCนักศึกษา สามารถเขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรค ไดCถูกตCองตามหลักมากนCอยเพียงใด เพื่อหาแนวทางในการชbวยเหลือและพัฒนานักศึกษาตbอไป

7.3 ขCอเสนอแนะสําหรับการวิจัยครั้งตbอไป

7.3.1 ควรศึกษาเอกสารและองคประกอบตbางๆ ที่จะทําการเรียนการสอนโดยใชCชุดฝ\ก การเขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรค ใหCไดCผลดียิ่งขึ้น เชbน สื่อ กิจกรรม และ แหลbงเรียนรูCที่หลากหลาย เปdนตCน

7.3.2 ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบระหวbางชุดฝ\กในลักษณะอื่นๆ รูปแบบอื่นในทําการ เรียนการสอนที่เกิดประสิทธิภาพในการเรียนรูC และนําไปใชCปฏิบัติไดCดีกวbา

7.3.3 ควรศึกษาคCนควCางานวิจัยในในการเรียนรูC โดยนําวิธีการสอนโดยใชCชุดฝ\กการ เขียนแผนการจัดประสบการณ กิจกรรมศิลปะสรCางสรรคไปใชCอยbางตbอเนื่อง

8. บรรณานุกรม

กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). คู[มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ คุรุสภาลาดพรCาว.

ชุมศรี ไพบูลยกุลกร. (2549). การพัฒนาชุดฝ/กอบรมครูเรื่องการจัดกระบวนการเรียนรู%แบบบูรณาการ.

วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน. มหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนคร.

ประทีป แสงเปaŠยมสุข. (2554). แนวการสร%างแบบฝ/ก. กรุงเทพฯ : องคการคCาของ สกสค.

ประพันธศิริ สุเสารัจ. (2556). การพัฒนาการคิด. พิมพครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : โรงพิมพหCางหุCนสbวน จํากัด 9119 เทคนิคพริ้นติ้ง.

ไพศาล วรคํา. (2559). การวิจัยทางการศึกษา. พิมพครั้งที่ 8. มหาสารคาม : ตักสิลาการพิมพ มานพ ตรัยตรากุล. (2543). การพัฒนาชุดฝ/กอบรมเรื่องการจัดกิจกรรมกลางแจ%งสําหรับ ครูผู%สอน

ระดับก[อนประถมศึกษา สังกัดสํานักงานการประถมศึกษาจังหวัดน[าน. วิทยานิพนธ ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขวงวิชาหลักสูตรและการสอน. สาขาวิชาศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

โศภิษฐ ผดุงโภค. (2560). การพัฒนาชุดฝ/กทักษะการแต[งประโยคเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2. วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรและการสอน. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี.

สํานักงานเลขาธิการคุรุสภา. (2555). รายงานการวิจัยเรื่องมาตรฐานวิชาชีพครู การศึกษาพิเศษ.

กรุงเทพฯ : บริษัท โบนัสพรีเพรส จํากัด.

สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพรCาว.

Referensi

Dokumen terkait

วารสารวิชาการอุตสาหกรรมศึกษา ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2563 4-9 7 การทบทวนวรรณกรรม แสดงรายละเอียดของประเด็นที่ศึกษาซึ่งสัมพันธ์กับตัวแปรที่ใช้ในงานวิจัย

บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ในการวิจัยเรื่อง “การศึกษามาตรการการป้องกันและคุ้มครองการกลั่นแก ล้งรังแกใน สถานศึกษาระดับประถมศึกษาตอนปลาย ในสังกัดกรุงเทพมหานคร” ผู้วิจัยได้ท