• Tidak ada hasil yang ditemukan

การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ รายวิชาการบริหารธุรกิจขนาดย่อม ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิทยาลัยอาชีวศึกษาแพร่

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ รายวิชาการบริหารธุรกิจขนาดย่อม ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิทยาลัยอาชีวศึกษาแพร่"

Copied!
12
0
0

Teks penuh

(1)

การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อสงเสริมความสามารถ ในการคิดวิเคราะห รายวิชาการบริหารธุรกิจขนาดยอม

ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิทยาลัยอาชีวศึกษาแพร

The Development of Learning and Teaching Model for supporting the Analytical Ability in Small Business

Administration of the Diploma Student Revel, Phrae Occupational Study College

เพียงแพน อุปทอง Piangpan Uppathong

บทคัดยอ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ ๑) เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของรูปแบบการ เรียน การสอนเพื่อสงเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห รายวิชาการบริหารธุรกิจขนาดยอม ๒) เพื่อศึกษาผลการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อสงเสริมความสามารถในการคิด วิเคราะห รายวิชาการบริหารธุรกิจขนาดยอม กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย คือ นักศึกษา ระดับชั้น ปวส.๑/๑ สาขาวิชาการตลาด ภาคเรียนที่ ๑ ปการศึกษา ๒๕๕๙ วิทยาลัย อาชีวศึกษาแพร จํานวน ๒๘ คน

ผลการวิจัย พบวา (๑) รูปแบบการเรียนการสอนเพื่อสงเสริมความสามารถในการคิด วิเคราะห รายวิชาการบริหารธุรกิจขนาดยอม มีประสิทธิภาพตามเกณฑที่กําหนด ๘๐/๘๐ (E๑/E๒)=๘๓.๕๗/๘๒.๑๔) (๒) ความกาวหนาทางการเรียนของนักศึกษา รายวิชาการ

วิทยาลัยอาชีวศึกษาแพร

(2)

๖๖ วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน มจร วิทยาเขตแพร ปที่ ๓ ฉบับที่ ๑ (มกราคม–มิถุนายน ๒๕๖๐) บริหารธุรกิจขนาดยอม มีความกาวหนาทางการเรียนเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .๐๕ (๓) ความสามารถในการคิดวิเคราะหของนักศึกษาเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .๐๕ และ (๔) นักศึกษามีความ พึงพอใจตอรูปแบบการเรียนการสอนเพื่อสงเสริมความสามารถ ในการคิดวิเคราะห รายวิชาการบริหารธุรกิจขนาดยอม อยูในระดับมาก

คําสําคัญ:

รูปแบบการเรียนการสอน, ความสามารถในการคิดวิเคราะห

(3)

๖๗ Journal of Graduate Studies Review MCU Phrae Vol. 3 No. 1 (January–June 2017)

Abstract

The purposes of this research were to 1) to development of Instruc tional model for analytical thinking ability on small business management subject 2) to study the results of implementing the model for analytical thinking ability on small business management subject. The population and the sample subjects was 28 High Vocational Certificate marketing students studying in the first semester of academic the 2016 in Phrae Vocational College.

1) Instructional model for analytical thinking ability on small business management subject were efficient at 83.57/82.14 2) the learning progress of the students learning from an Instructional model was significantly increased at the 0.05 level 3) the students, analytical thinking ability on small business management subject was significantly increased at the 0.05 level and (4) the satisfaction of the students on the quality about learning small business management subject by an Instructional model for analytical thinking ability approach were at the high level.

Keywords:

Instructional model, Analytical thinking ability

(4)

๖๘ วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน มจร วิทยาเขตแพร ปที่ ๓ ฉบับที่ ๑ (มกราคม–มิถุนายน ๒๕๖๐)

บทนํา

การพัฒนาทักษะที่จําเปนสําหรับการศึกษาในศตวรรษที่ ๒๑ เปนการเรียนรูจากการ คนควาแสวงหาความรู รูจักคิดวิเคราะห สังเคราะหดวยตนเอง โดยครูชวยแนะนําและออกแบบ กิจกรรมการเรียนรูที่ชวยใหผูเรียนสามารถประเมินความกาวหนาของการเรียนรูไดดวยตนเอง ซึ่งประกอบดวย ๓ ทักษะสําคัญ ไดแก ทักษะการเรียนรูและนวัตกรรม ทักษะชีวิตและการ ประกอบอาชีพ และทักษะดานขอมูลขาวสาร การสื่อสาร เทคโนโลยี การคิดและการสอน พัฒนาการคิดจึงเปนสิ่งที่มีความสําคัญเปนอยางยิ่งในการจัดการศึกษาเพื่อใหมีคุณภาพ ทั้งนี้

ทิศนา แขมณี ไดกลาวถึงสาเหตุสําคัญที่ทําใหการสอนทักษะการคิดของครู/ผูสอนขาด ประสิทธิภาพ ไดแก ครู/ผูสอนขาดทักษะในการทําหนาที่ครูยุคใหมที่เนนบทบาทการสอนแบบ เนน ผูเรียนเปนศูนยกลางขาดความเขาใจในขั้นตอนการดําเนินการของทักษะซึ่งเปนพื้นฐานที่

จําเปนตอการจัดกระบวนการเรียนรูใหแกผูเรียน ขาดความรู ความเขาใจที่เพียงพอใน สาระสําคัญของทักษะกระบวนการคิดและทักษะกระบวนการทางสังคม มีภาระงานมาก

นอกเหนือจากงานสอนทําใหไมมีเวลาพอในการเตรียมการสอน นอกจากนี้ยังมีสาเหตุอื่น ๆ อีกหลายประการ ไดแก ขาดเครื่องมือหรือแบบฝกที่ตรงตามความตองการ เปนตน

จากขอมูลผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติดานอาชีวศึกษา (V-NET) (สถาบัน ทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ : สทศ.) ปการศึกษา ๒๕๕๘ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง พบวา คาสถิติสําหรับวิทยาลัยอาชีวศึกษาแพร แยกตามเนื้อหาหลัก: ทักษะการคิด และการ แกปญหา มีผลการสอบของนักศึกษาประเภทวิชาบริหารธุรกิจเรียงตามประเภทวิชา ไดแก การบัญชี การตลาด การเลขานุการ และคอมพิวเตอรธุรกิจ มีระดับคาคะแนนเรียงตาม ประเภทวิชา คือ ๓๑.๑๖, ๒๖.๕๐, ๒๖.๓๗ และ ๓๐.๒๖ ในระดับภาคเรียงตามประเภทวิชา คือ ๒๙.๒๘, ๒๖.๐๕, ๒๖.๐๓ และ ๒๗.๓๖ และในระดับประเทศเรียงตามประเภทวิชาคือ ๒๙.๒๘, ๒๗.๐๑, ๒๖.๐๑ และ ๒๗.๒๙ โดยผลการทดสอบดังกลาวเปนระดับคะแนนที่ต่ํากวา ครึ่งหนึ่งจากคะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน ขอมูลดังกลาวชี้ใหเห็นวาปญหาในการจัดการเรียนการ

สอนควรไดรับการปรับปรุงแกไขใหผูเรียนไดพัฒนาทักษะการคิดอยางเรงดวนและจริงจัง

ทิศนา แขมณี, ปลุกโลกการสอนใหมีชีวิตสูหองเรียนแหงศตวรรษใหม, (กรุงเทพฯ : สํานักงาน สงเสริมสังคมแหงการเรียนรูและคุณภาพของเยาวชน, ๒๕๕๗) หนา ๑๗-๒๒.

(5)

๖๙ Journal of Graduate Studies Review MCU Phrae Vol. 3 No. 1 (January–June 2017)

ดังนั้น ครูผูสอนจึงควรที่จะตองจัดเตรียมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มุงเนน

กระบวนการคิดกอนการเรียนรูเอาไวเปนอยางดี โดยมีขั้นตอนที่เริ่มจากการจัดกิจกรรม การเรียนรู ใบงาน ใบเนื้อหา สื่อการเรียนรู และการวัดและประเมินผลอยางเหมาะสมเพื่อให

ผูเรียนไดเรียนรูอยางไดอยางเต็มศักยภาพ

ทิศนา แขมณี ไดเสนอแนวคิดที่ใชเปนแนวทางในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู

รูปแบบซิปปา(CIPPA Model) ซึ่งเปนกระบวนการที่นํามาพัฒนาผูเรียนโดยใชแนวคิดหลัก สําคัญ ๕ ประการ ไดแก (๑) การใหผูเรียนสรางองคความรูดวยตนเอง(Construct) (๒) การให

ผูเรียนมีปฏิสัมพันธตอกัน (Interaction) (๓) การใหผูเรียนมีบทบาทและมีสวนรวมในการ

เรียนรูใหมากที่สุด(Participation) (๔) การใหผูเรียนไดเรียนรูกระบวนการ(Process) และ (๕) การใหผูเรียนสามารถนําความรูไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน (Application) นอกจากนี้

สุวิทย มูลคํา ไดกลาวถึงเทคนิคการสอน ที่นํามาใชรวมกับวิธีสอนหรือรูปแบบการสอนที่ทําให

การเรียนการสอนบรรลุผลตามจุดมุงหมายอยางมีประสิทธิภาพที่ผูสอนควรนํามาใช

คือ เทคนิคการใชคําถาม ๕W ๑H ซึ่งวิธีการนี้จะชวยไลเรียงความชัดเจนในแตละเรื่องที่อยูใน กระบวนการไดเปนอยางดี ทําใหเกิดความครบถวนสมบูรณของการคิดเชิงลึก คิดอยางละเอียด จากเหตุไปสูผล ตลอดจนการเชื่อมโยงความสัมพันธในเชิงเหตุและผล ความแตกตางระหวางขอ โตแยงที่เกี่ยวของแลวนํามารวบรวมประเด็นที่สําคัญเพื่อหาขอสรุป สวนการใชเทคนิคการคิดที่

แสดงออกใหเห็นชัดเจนเปนรูปธรรมมีการแสดงใหเห็นเปนหลักฐานรองรอยของการคิดที่เปนที่

นิยมนํามาใชในการจัดการเรียนการสอน ไดแก การใชผังกราฟก (Graphic Organizers) หรือ แผนภาพความคิด ดังที่ ประพันธศิริ สุเสารัจ ไดสรุปไววา ผังกราฟก เปนเครื่องมือที่ชวยให

ผูเรียนสามารถนําเอาขอมูลที่อยูอยางกระจัดกระจายมาจัดเปนระบบระเบียบ สามารถอธิบาย ใหเกิดความเขาใจและจดจําความรู หรือเนื้อหาสาระนั้น ๆ ไดงายและยาวนาน

ทิศนา แขมณี, รูปแบบการเรียนการสอน: ทางเลือกที่หลากหลาย, (กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแหง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๔๕), หนา ๒๘๐.

สุวิทย มูลคํา, กลยุทธการสอนคิดวิเคราะห. พิมพครั้งที่ ๔, (กรุงเทพฯ: หางหุนสวนจํากัดภาพ พิมพ, ๒๕๕๐), หนา ๑๙-๒๒.

ประพันธศิริ สุเสารัจ, การพัฒนาการคิด, พิมพครั้งที่ ๕, (กรุงเทพฯ: ๙๑๑๙ เทคนิค พริ้นติ้ง, ๒๕๕๓), หนา ๒๕๘.

(6)

๗๐ วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน มจร วิทยาเขตแพร ปที่ ๓ ฉบับที่ ๑ (มกราคม–มิถุนายน ๒๕๖๐) ดวยเหตุผลและความจําเปนดังกลาวขางตน ผูวิจัยจึงไดดําเนินการพัฒนารูปแบบการ

เรียนการสอนเพื่อสงเสริมทักษะการคิดวิเคราะห รายวิชาการบริหารธุรกิจขนาดยอม ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิทยาลัยอาชีวศึกษาแพร เพื่อใหสอดคลองกับ

ความสามารถและความแตกตางของผูเรียนจากการคนควาหาความรูและฝกทักษะไดดวย ตนเองจากกิจกรรมการเรียนรูตาง ๆ ตามความถนัดและความสามารถของแตละบุคคลตลอดจน สรางเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงคของผูสําเร็จการอาชีวศึกษาเพื่อเตรียมพรอมที่จะออกไป ทํางานไดจริงตามสาขาวิชาชีพ

วัตถุประสงคการวิจัย

๑. เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อสงเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห

รายวิชาการบริหารธุรกิจขนาดยอมใหมีประสิทธิภาพตามเกณฑที่กําหนด ๘๐/๘๐

๒. เพื่อศึกษาผลการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อสงเสริมความสามารถในการ คิดวิเคราะห รายวิชาการบริหารธุรกิจขนาดยอม

ขอบเขตของการวิจัย

๑.ขอบเขตดานเนื้อหา เปนรูปแบบการจัดการเรียนการสอนโดยใชการจัดกิจกรรมการ เรียนรูรูปแบบ CIPPA Model ที่นําเทคนิคการใชคําถาม ๕W ๑H มาเปนตัวกระตุนใหผูเรียน เกิดการเรียนรูดวยตนเองและกระบวนการกลุม และสรุปองคความรูดวยการใชเทคนิคผัง กราฟกเพื่อใหผูเรียนเกิดทักษะในการคิดวิเคราะห รายวิชาการบริหารธุรกิจขนาดยอม

๒. ขอบเขตดานประชากรและกลุมตัวอยาง

กลุมตัวอยาง ไดแก คือ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.๑/๑ แผนกวิชาการตลาด ภาคเรียนที่

๑ ปการศึกษา ๒๕๕๙ วิทยาลัยอาชีวศึกษาแพร จํานวน ๒๘ คน ใชวิธีการเลือกตัวอยางแบบ เจาะจง (Purposive Sampling)

(7)

๗๑ Journal of Graduate Studies Review MCU Phrae Vol. 3 No. 1 (January–June 2017)

๓. ขอบเขตดานตัวแปร

๓.๑ ตัวแปรตน ไดแก รูปแบบการเรียนการสอนเพื่อสงเสริมความสามารถในการ คิดวิเคราะหของผูเรียนอาชีวศึกษา โดยใชรูปแบบ CIPPA Model รวมกับการใชเทคนิคคําถาม ๕W ๑H และเทคนิคผังกราฟก รายวิชาการบริหารธุรกิจขนาดยอม

๓.๒ ตัวแปรตาม ไดแก ผลการใชรูปแบบการเรียนการสอนเพื่อสงเสริม ความสามารถในการคิดวิเคราะหของผูเรียนอาชีวศึกษา ประกอบดวย

๓.๒.๑ ความกาวหนาทางการเรียนของนักศึกษา จากการใชรูปแบบการเรียน การสอนเพื่อสงเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห รายวิชาการบริหารธุรกิจขนาดยอม

๓.๒.๒ ความสามารถในการคิดวิเคราะหของนักศึกษา จากการใชรูปแบบการ เรียนการสอนเพื่อสงเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห รายวิชาการบริหารธุรกิจขนาดยอม

๓.๒.๓ ความพึงพอใจที่มีตอการจัดการเรียนรูโดยใชรูปแบบการเรียนการสอน เพื่อสงเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห รายวิชาการบริหารธุรกิจขนาดยอม

๔. ขอบเขตดานระยะเวลา ดําเนินการวิจัยในชวง ภาคเรียนที่ ๑ ปการศึกษา ๒๕๕๙ เริ่มตั้งแต เดือน พฤษภาคม ๒๕๕๙ ถึง เดือน กันยายน ๒๕๕๙

วิธีดําเนินการวิจัย

๑. รูปแบบการวิจัย ดําเนินการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อสงเสริมความ สามารถในการคิดวิเคราะห รายวิชาการบริหารธุรกิจขนาดยอม ไดการดําเนินการวิจัยโดยใช

รูปแบบการวิจัยกึ่งทดลอง ตามแบบแผนการวิจัย One–Group Pretest–Posttest Design ตามแนวของ กาญจนา วัฒายุ

๒. ประชากรและกลุมตัวอยาง คือ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง(ปวส.) ปที่ ๑/๑ แผนกวิชาการตลาด ภาคเรียนที่ ๑ ปการศึกษา ๒๕๕๙ จํานวน ๒๘ คน ไดมาดวย วิธีการเลือกตัวอยางแบบเจาะจง (Purposive Sampling)

กาญจนา วัฒายุ, การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา, (กรุงเทพฯ: ธนพรการพิมพ, ๒๕๔๕), หนา ๕๕-๖๕.

(8)

๗๒ วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน มจร วิทยาเขตแพร ปที่ ๓ ฉบับที่ ๑ (มกราคม–มิถุนายน ๒๕๖๐) ๓. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ประกอบดวย (๑) แผนการจัดการเรียนรูที่เนนการจัด กิจกรรมการเรียนรูเพื่อสงเสริมความสามารถ ในการคิดวิเคราะหที่ใชรูปแบบซิปปา รวมกับการ

ใชเทคนิคคําถาม ๕W ๑H และเทคนิคผังกราฟก รายวิชาการบริหารธุรกิจขนาดยอม (๒) แบบทดสอบวัดความกาวหนาทางการเรียน (๓) แบบทดสอบวัดความสามารถทางการคิด

วิเคราะห และ (๔) แบบสอบถามความความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอการใชรูปแบบการ เรียนการสอนเพื่อสงเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห รายวิชาการบริหารธุรกิจขนาดยอม ๔. การรวบรวมขอมูล ผูวิจัยดําเนินการรวบรวมขอมูล โดยดําเนินการตามขั้นตอน ดังนี้

๔.๑ ปฐมนิเทศผูเรียนในการจัดการเรียนการสอนเพื่อสงเสริมความสามารถในการ คิดวิเคราะหดวยรูปแบบ CIPPA Model รวมกับการใชเทคนิคคําถาม ๕W ๑H และเทคนิคผัง กราฟก

๔.๒ ผูเรียนศึกษาคําชี้แจง เพื่อใหทราบขั้นตอนการเรียนรูโดยใชแผนการจัดการ เรียนรู ที่เนนการจัดกิจกรรมการเรียนรูเพื่อสงเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห ผูเรียนทํา แบบทดสอบกอนเรียน (Pre-test) เพื่อเปรียบเทียบความกาวหนาทางการเรียนจากคะแนน ทดสอบหลังเรียน

๔.๓ จัดการเรียนการสอนโดยใชรูปแบบการจัดการเรียนการสอนเพื่อสงเสริม ความ สามารถในการคิดวิเคราะหดวยรูปแบบซิปปา รวมกับการใชเทคนิคคําถาม ๕W ๑H และเทคนิค ผังกราฟก ตามแนวคิดของ บลูม (Bloom) ซึ่งแบงคําถามออกเปน ๖ ระดับ มาเปน แนวทางในการ ตั้งคําถามเรียงตามลําดับ ไดแก ระดับความรูความจํา ระดับความเขาใจ ระดับ การนําไปใช ระดับการวิเคราะห ระดับการสังเคราะห และระดับการประเมินคา

๔.๔ เมื่อสิ้นสุดการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ผูวิจัยไดใหผูเรียนทําแบบ ทดสอบหลังเรียน (Post-test) เพื่อเปรียบเทียบความกาวหนาทางการเรียนรูระหวางคะแนนที่

ไดจากการทดสอบกอนเรียนและหลังเรียนโดยทดสอบ คา t (t-test) และดําเนินการทดสอบวัด ความสามารถในการคิดวิเคราะห โดยใชแบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห

๔.๖ ใหผูเรียนประเมินความพึงพอใจที่มีตอการใชรูปแบบการเรียนการสอนเพื่อ สงเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห รายวิชาการบริหารธุรกิจขนาดยอม

๔.๗ นําขอมูลที่ไดจากการเก็บรวบรวมขอมูล มาวิเคราะหขอมูลดวยวิธีการทางสถิติ

(9)

๗๓ Journal of Graduate Studies Review MCU Phrae Vol. 3 No. 1 (January–June 2017)

๕. สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล นําผลการวิจัยมาวิเคราะหขอมูลดวยวิธีการทางสถิติ

โดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอรสําเร็จรูป ไดแก การหาคาประสิทธิภาพของนวัตกรรมดวยคา E/E ตามเกณฑ ๘๐/๘๐ การทดสอบคา t (t-test) คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ผลการวิจัย

๑. ผลการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อสงเสริมความสามารถในการคิด วิเคราะห พบวา คะแนนแบบฝกหัด/ใบงาน และคะแนนทดสอบหลังเรียน ไดรอยละ ๘๓.๕๗/

๘๒.๑๔ (E/E) แสดงวา รูปแบบการเรียนการสอนเพื่อสงเสริมความสามารถในการคิด วิเคราะหมีประสิทธิภาพตามเกณฑ ๘๐/๘๐ ที่กําหนดไว

๒. ผลการศึกษาความกาวหนาทางการเรียน กอนและหลังการใชรูปแบบการเรียนการ สอนเพื่อสงเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห พบวา คะแนนหลังเรียน (X= ๖๕.๗๑) สูงกวากอนเรียน (X=๔๖.๕๖) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ .๐๕

๓. ผลการศึกษาความสามารถในการคิดวิเคราะหของนักศึกษา จากการใชรูปแบบการ

เรียนการสอนเพื่อสงเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห พบวา คะแนนหลังเรียน (X=๔๗.๒๙) สูงกวากอนเรียน (X=๒๙.๒๔) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ .๐๕

๔. ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอการใชรูปแบบการเรียนการสอนเพื่อ สงเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห พบวา นักศึกษามีความพึงพอใจในภาพรวมอยูใน ระดับมาก (X=๔.๓๖) และเมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ดานกิจกรรมการเรียนรู มีระดับ ความพึงพอใจในระดับมากที่สุด และมีความพึงพอใจในระดับมาก ๓ ดาน เรียงตามลําดับ คือ ดานสาระการเรียนรู ดานการวัดผลและประเมินผล และดานสื่อมัลติมีเดีย/โสตทัศนูปกรณ

(10)

๗๔ วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน มจร วิทยาเขตแพร ปที่ ๓ ฉบับที่ ๑ (มกราคม–มิถุนายน ๒๕๖๐)

อภิปรายผลและขอเสนอแนะ

อภิปรายผล

๑. รูปแบบการเรียนการสอนเพื่อสงเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห รายวิชาการ บริหารธุรกิจขนาดยอม มีประสิทธิภาพ (E/E) เทากับ ๘๓.๕๗/๘๒.๑๔ ซึ่งสูงกวาเกณฑที่

กําหนด ๘๐/๘๐ แสดงวารูปแบบการเรียนการสอน ที่ผูวิจัยสรางขึ้นมีประสิทธิภาพที่จะนําไปใช

พัฒนาการเรียนรูของผูเรียน ซึ่งเปนไปในทางเดียวกันกับผลการศึกษาของ ภัทรานิษฐ มณีศรีธีร โชติ และ วันเพ็ญ กลิ่นออน เนื่องจากรูปแบบการเรียนการสอนที่ผูวิจัยสรางขึ้นมีการจัดทํา อยางเปนระบบตามหลักปรัชญา ทฤษฏี หลักการ แนวคิดที่ประกอบดวยกระบวนการหรือ ขั้นตอนสําคัญในการเรียนการสอน รวมทั้งวิธีสอนและเทคนิคการสอนที่สามารถใชเปนแบบ แผนในการเรียนการสอนเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคตามรูปแบบ CIPPA Model รวมกับเทคนิค การตั้งคําถาม ๕W ๑H และผังกราฟก

๒. ความกาวหนาทางการเรียน กอนและหลังการใชรูปแบบการเรียนการสอนเพื่อ

สงเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห พบวา คะแนนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน ซึ่งสอดคลอง กับผลการศึกษาของ ภัทรานิษฐ มณีศรีธีรโชติ

เนื่องจากผูวิจัยไดดําเนินการสอนตามรูปแบบการจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปน ศูนยกลาง ผูเรียนมีการปฏิสัมพันธกับเพื่อน บุคคลอื่น ๆ และสิ่งแวดลอมรอบตัว รวมทั้งอาศัย ทักษะกระบวนการ (process skills) เปนเครื่องมือในการสรางความรู นอกจากนี้ ผูวิจัยไดนํา เทคนิคการตั้งคําถาม ๕W ๑H ที่ทําใหสามารถยอยเนื้อหาออกมาใหเขาใจงาย รวมทั้งชวยไล

เรียงความชัดเจนในแตละเรื่องที่กําลังคิดใหเกิดความครบถวนสมบูรณ

ภัทรานิษฐ มณีศรีธีรโชติ, “การพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห โดยการจัดกิจกรรมการ เรียนรูแบบซิปปา กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๔” วิทยานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต (บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม), ๒๕๕๔.

วันเพ็ญ กลิ่นออน, “การพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่

๑ โดยใชรูปแบบการจัดการเรียนรูแบบซิปปารวมกับเทคนิคการใชคําถาม” วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต (บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม), ๒๕๕๙.

(11)

๗๕ Journal of Graduate Studies Review MCU Phrae Vol. 3 No. 1 (January–June 2017)

๓. ความสามารถในการคิดวิเคราะหของนักศึกษา กอนและหลังการใชรูปแบบการ เรียน การสอนเพื่อสงเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห พบวา คะแนนหลังเรียนสูงกวา กอนเรียน ทั้งนี้เนื่องมาจากการใชรูปแบบการสอนแบบซิปปารวมกับการใชเทคนิคตั้งคําถาม ๕ W ๑H และเทคนิค ผังกราฟก ซึ่งเปนกิจกรรมที่ชวยใหผูเรียนมีสวนรวมจนกระทั่งเกิดการ เรียนรูตามวัตถุประสงค สามารถตอบคําถามที่เกี่ยวของในแงมุมตาง ๆ เพื่อใหไดขอเท็จจริงและ ความเขาใจใหม ๆ ที่เปนประโยชนตอการแกปญหาและการตัดสินใจที่รอบคอบมากขึ้น สอดคลองกับงานวิจัย ธิดารัตน ศักดิ์สุจริต และ อุมาภรณ ไชยเจริญ

๔. ระดับความพึงพอใจของผูเรียนที่มีตอการใชรูปแบบการเรียนการสอนเพื่อสงเสริม ความสามารถในการคิดวิเคราะห ในภาพรวมมีความพึงพอใจในระดับมาก สอดคลองกับ งานวิจัยของ อุมาภรณ ไชยเจริญ และวันเพ็ญ กลิ่นออน เนื่องผูเรียนมีความพึงพอใจตอการจัด กิจกรรมการเรียนรูที่สามารถอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันไดในระหวางกลุม การเรียนรู

ดวยตนเอง และการคิดเชิงวิเคราะห

ขอเสนอแนะ

ผลการวิจัยมีประเด็นที่สามารถเสนอแนะ ดังนี้

๑. กอนการสรางนวัตกรรมควรมีการศึกษาความเหมาะสมของการใชนวัตกรรมรวมกับ

ผูเกี่ยวของเพื่อดําเนินการวางแผนพัฒนารวมกัน และเพื่อใหการออกแบบการจัดการเรียน การสอน มีความเหมาะสมกับเนื้อหา ความแตกตางในการรับรูของผูเรียน และ วัตถุประสงค

ของรายวิชา

๒. แหลงเรียนรูตองมีหองฝกปฏิบัติการอยางเพียงพอสําหรับการสืบคนขอมูล อิเล็กทรอนิกสและการนําเสนอขอมูลของผูเรียน โดยจัดสื่อการเรียนรู เอกสาร ทรัพยากรการ เรียนรูที่หลากหลายและทันสมัย

อุมาภรณ ไชยเจริญ, “ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร และความสามารถในการคิด วิเคราะห โดยใชการสอนรูปแบบซิปปารวมกับเทคนิคการใชคําถาม และเทคนิคการใชผังกราฟกของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖”, วิทยานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต (บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยทักษิณ), ๒๕๕๖.

(12)

๗๖ วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน มจร วิทยาเขตแพร ปที่ ๓ ฉบับที่ ๑ (มกราคม–มิถุนายน ๒๕๖๐)

เอกสารอางอิง

กาญจนา วัฒายุ. การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา. กรุงเทพฯ : ธนพรการพิมพ, ๒๕๔๕.

ทิศนา แขมณี. รูปแบบการเรียนการสอน : ทางเลือกที่หลากหลาย. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ

แหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๔๕.

ธิดารัตน ศักดิ์สุจริต. ผลการใชแผนการจัดการเรียนรูแบบซิปปารวมกับเทคนิคผังกราฟก ที่มีตอ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสามารถในการวิเคราะห และความพึงพอใจตอการเรียน วิชาวิทยาศาสตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๒. วิทยานิพนธปริญญาครุศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและพัฒนาการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม, ๒๕๕๕.

ภัทรานิษฐ มณีศรีธีรโชติ. การพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห โดยการจัดกิจกรรมการ เรียนรูแบบซิปปา กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๔. วิทยานิพนธ

ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัย มหาสารคาม, ๒๕๕๔.

วันเพ็ญ กลิ่นออน. การพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่

๑ โดยใชรูปแบบการจัดการเรียนรูแบบซิปปารวมกับเทคนิคการใชคําถาม.

วิทยานิพนธปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม, ๒๕๕๙.

สุวิทย มูลคํา. กลยุทธการสอนคิดวิเคราะห . พิมพครั้งที่ ๔. กรุงเทพฯ: หางหุนสวนจํากัด ภาพพิมพ, ๒๕๕๐.

อุมาภรณ ไชยเจริญ. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร และความสามารถในการคิด วิเคราะห โดยใชการสอนรูปแบบซิปปารวมกับเทคนิคการใชคําถาม และเทคนิคการใช

ผังกราฟกของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ ๖. วิทยานิพนธปริญญาการศึกษา มหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยทักษิณ, ๒๕๕๖.

Referensi

Dokumen terkait

วารสารวิจัยและพัฒนาการศึกษาพิเศษ การศึกษาความสามารถเขียนประโยคของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่มีความบกพร่องทางการได้ยินระดับหูหนวก จากการสอนโดยใช้วิธี SIWI ร่วมกับ Storyboard A

In addition, the existing laws has no strict punishment to the business operators, resulting the business operators still has intention to put the unfair provision in the contract,