• Tidak ada hasil yang ditemukan

อดีต ป จจุบัน อนาคต คลองท าทองใหม : มุมมองเรื่

N/A
N/A
Nguyễn Gia Hào

Academic year: 2023

Membagikan "อดีต ป จจุบัน อนาคต คลองท าทองใหม : มุมมองเรื่"

Copied!
31
0
0

Teks penuh

(1)

อดีต ปจจุบัน อนาคต

คลองทาทองใหม : มุมมองเรื่องความเขมแข็งของชุมชน

1

นุสรา เพ็งแกว2 Nussara Pengkaew อัมพวรรณ หนูพระอินทร3 Ampawan Nupra - in

บทคัดยอ

คลองทาทองใหมเปนคลองสายหนึ่งที่ไหลผานพื้นที่อําเภอกาญจนดิษฐและ อําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี คลองนี้ไดรับผลกระทบจากการเติบโตและพัฒนา ของชุมชนเชนเดียวกับคลองอื่น ๆ ในประเทศไทย ในทศวรรษที่ผานมาความเสื่อมโทรม ของคลองสายนี้มีเพิ่มขึ้นและมีแนวโนมวาจะสงผลกระทบอยางรุนแรงตอชุมชนในอนาคต ในอดีตเปนคลองที่อุดมสมบูรณดวยสัตวนํ้านานาชนิด สองฟากฝงคลองมีปาไมหนาแนน คลองทาทองใหมเปนประโยชนอยางยิ่งในการดํารงชีวิตอยู ผูคนใชชีวิตอยูกับธรรมชาติ

อันอุดมสมบูรณ การดําเนินชีวิตเปนไปอยางเรียบงาย มีความโอบออมอารีเอื้อเฟอเผื่อแผ

ตอกัน และผูกพันกับธรรมชาติ แตปจจุบันวิถีชีวิตของผูคนเปลี่ยนแปลงจากอดีต เนื่องจาก ผลกระทบจากการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ชาวบาน ตองประสบกับปญหาตาง ๆ มากมาย คลองทาทองใหมอันเปนแหลงอาหาร และเสนทาง คมนาคมมีบทบาทลดลง สงผลกระทบตอความเปนอยูของชาวบานในชุมชนอยาง กวางขวาง และมีแนวโนมเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว แมชาวบานจะพยายามรวมตัวกันแกปญหา ก็ไมประสบผลสําเร็จเทาที่ควร จากชุมชนที่มีความเขมแข็งยืนหยัดอยูบนลําแขง

1บทความนี้เปนสวนหนึ่งของงานวิจัย เรื่องการอนุรักษคลองทาทองใหมโดยชุมชนมีสวนรวม

2นักวิชาการศึกษา คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี

3นักวิชาการศึกษา คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี

Past, Present and Future of Ta Thong Mai Canal :

Community Strength Aspect

(2)

ของตัวเอง กลับตองพึ่งพาภายนอกมากขึ้น สงผลใหชุมชนออนแอลง และไมสามารถชวย ตนเองไดดังกอนมา จึงเปนที่คาดเดาไดวาในอนาคตปญหาตาง ๆ จะพอกพูนขึ้นและเปนที่

แนนอนวาความเขมแข็งของชุมชนก็จะถูกลดทอนลงตามลําดับ

คําสําคัญ : อดีต ปจจุบัน อนาคต คลองทาทองใหม ความเขมแข็งของชุมชน

Abstract

Ta Thong Mai Canal is a canal flowing through the area of Kanchanadit and Mueang districts, Surat Thani province. The canal has been affected by communities’ growth and development like other canals in Thailand. From the past decade, the canal was deteriorate gradually and likely to affect the communities severely in the future.

In the past, this canal was filled with a variety of fish and aquatic life

and its banks were full of dense woods. The canal was useful to

people’s living. They lived peacefully, happily and modestly in the

plentiful nature with humble life. People were generous and help

each other and attached themselves to nature. However, at the present

time, people’s living has changed due to the country development

under the National Economic and Social Development Plan. The

local people have faced various problems while the importance of

Ta Thong Mai Canal, as the food source and waterway

transportation, has been diminished. This problem affected the

livelihood of people in the communities extensively and got worse

rapidly. Even they tried to assemble and find a solution, they did not succeed

(3)

as expected. The community strength once depended on their own feet turns to count on more external factors. Therefore, the communities are weaken and cannot help themselves as in the past. It can be expected that more problems increase and it is certain that the community strength will be waned subsequently.

Keywords: Past, Present, Future, Ta Thong Mai Canal, Community Strength Aspect

ความนํา

ปจจุบันประเด็นของความเขมแข็งชุมชนเปนกระแสหลักที่หลายชุมชนตางเล็งเห็น วา หากสามารถสรางใหเกิดขึ้นอยางยั่งยืน ชุมชนก็จะดํารงอยูไดอยางมั่นคง อยางไรก็ตาม ขณะที่ชุมชนชนบทไดถูกกระแสของการพัฒนาสมัยใหมทําใหตองเผชิญกับปญหาตาง ๆ รอบดาน มีบางชุมชนเทานั้นที่สามารถปรับตัวและกําหนดทางเลือกในการพัฒนาตนเอง ได ชุมชนเหลานี้ไดสรางเงื่อนไขและกระบวนการบางอยางเพื่อตอบสนองตอสถานการณ

ทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และวัฒนธรรมที่รุกรานเขามาจากภายนอก ชุมชนหลายแหง ไดกลายเปนชุมชนที่มีความเขมแข็ง สมาชิกของชุมชนสามารถดํารงชีวิตอยูในชุมชนได

อยางมั่นคง และมีชีวิตที่มีคุณภาพ ประเด็นคําถามที่สําคัญ คือ อะไรเปนเงื่อนไขที่ทําให

ชุมชนเหลานี้ปรับตัวและสามารถหาทางออกใหกับปญหาที่เกิดขึ้นได และกระบวนการ ที่ชุมชนนํามาใชเพื่อนําไปสูการหาทางออกตอปญหาที่เกิดขึ้น มีขั้นตอนอยางไร คําตอบ ของคําถามเหลานี้มีความสําคัญยิ่งตอการกําหนดแนวทางของการพัฒนาในอนาคต แนนอนวาแตละชุมชนลวนเผชิญปญหาที่แตกตางกัน และไดอาศัยประสบการณ ความรู

ภูมิปญญา เพื่อหาทางออก ซึ่งลวนมีความหลากหลาย คําตอบที่ไดจากคําถามขางตน จะนําไปสูการเสนอทางเลือกในการสรางความเขมแข็งใหกับชุมชนที่ยังเผชิญปญหาความ ไมเขมแข็งในมิติตาง ๆ ที่จําเปนสําหรับการดํารงชีวิตในชุมชน (นภาพร หะวานนท

และคณะ, 2550)

(4)

ชุมชนแตละชุมชนตางก็ตั้งหลักแหลงอยูในสภาพแวดลอมที่แตกตางกัน บางชุมชนตั้งอยูบริเวณที่ราบริมภูเขา ที่ราบระหวางภูเขา ที่ราบใกลทะเล ที่เนินควน รวมไปถึงบริเวณใกลแหลงนํ้า ในกรณีที่ตั้งอยูใกลแหลงนํ้า ในอดีตชุมชนใชประโยชน

จากแหลงนํ้าในการดํารงชีวิตอยางกวางขวาง อาทิ เปนเสนทางคมนาคม เปนแหลง ประกอบอาชีพ เปนแหลงอาหาร อุปโภคบริโภค และเกษตรกรรมเพื่อการยังชีพ แหลงนํ้าจึงมีความสําคัญยิ่งตอชุมชน แตในปจจุบันแหลงนํ้าถูกทําลายดวยกิจกรรมตาง ๆ ของมนุษย ทั้งจากภายในและภายนอกชุมชน ทําใหไมสามารถใชแหลงนํ้าใหเกิดประโยชน

ไดดังแตกอน อยางไรก็ตาม แหลงนํ้าตาง ๆ โดยเฉพาะแมนํ้าลําคลองก็ยังคงมีประโยชน

อยางอเนกอนันตตอการดํารงชีวิตของผูคนในชุมชนบริเวณแหลงนํ้าและบริเวณใกลเคียง ความเขมแข็งของชุมชน อาจพิจารณาไดจากความสามารถของชุมชนในการ จัดระบบการดูแลและแบงสรรทรัพยากรธรรมชาติใหเกิดประโยชนและเปนธรรม แกสมาชิกในชุมชน ทําใหชุมชนสามารถสรางระบบการจัดการทรัพยากรธรรมชาติใหเกิด ประโยชนสูงสุดแกชุมชนได (ประเวศ วะสี, 2536) สําหรับชุมชนที่ออนแอ ในหลาย ๆ กรณี ทรัพยากรธรรมชาติไมวาจะเปนที่ดินหรือนํ้าไมไดเปนของชุมชน หากแตเปน ของนายทุนภายนอกชุมชน หรือรัฐไดมอบใหเจาหนาที่ของรัฐเขามาดูแล หรือไมก็ให

สัมปทานแกพอคา การขาดสิทธิในการเปนเจาของทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน นอกจากทําใหชุมชนไมอาจใชทรัพยากรใหเกิดประโยชนกับชุมชนแลว ยังทําใหชุมชน ไมอาจดูแลหรืออนุรักษใหทรัพยากรธรรมชาติดํารงอยูอยางยั่งยืน เพื่อเปนการสราง ระบบนิเวศที่ดีใหกับชุมชนดวย

แตเดิมชุมชนมักตั้งอยูบริเวณริมแมนํ้าลําคลอง หรือแหลงนํ้าตาง ๆ เนื่องจาก สะดวกตอการคมนาคมขนสงและการติดตอสัมพันธกับภายนอก และการใชนํ้าในการ ประกอบอาชีพ รวมทั้งเพื่อการอุปโภคบริโภค ครั้นเมื่อชุมชนขยายตัวเติบโตขึ้น มีประชากรหนาแนน มีแหลงประกอบการตาง ๆ มากขึ้น เหลานี้ลวนทําใหแมนํ้าลําคลอง แหลงนํ้า เกิดการเนาเสียสกปรกอยูทั่วไป สงผลใหไมสามารถนํานํ้ามาใชอุปโภคบริโภคได

ทั้งยังกอใหเกิดผลกระทบที่เปนอันตราย และความเสียหายอยางมหาศาลตออาชีพ การประมง และการเกษตร นอกจากนี้ยังสงผลกระทบตอระบบสาธารณสุข ประการ สําคัญ คือ ระบบนิเวศถูกทําลาย หรือเสื่อมคุณภาพจนไมเหมาะกับสิ่งมีชีวิตที่จะอาศัยอยูได

(5)

เกิดการตายของสัตวและพืชนํ้าเปนจํานวนมาก ทําใหแหลงนํ้าเกิดการเนาเสีย ขาด ออกซิเจนที่ละลายนํ้า มีสารพิษพวกยาฆาแมลง ยาปราบศัตรูพืชสะสมอยูมาก รวมทั้งมีคราบนํ้ามันปกคลุม อีกทั้งโรงงานอุตสาหกรรม หรือแหลงประกอบการตาง ๆ ปลอยสารพิษและความรอนลงสูแมนํ้า หากนํามาใชจะกอใหเกิดโรคนานาชนิด ตอมนุษยและสัตว และสําหรับนํ้าที่เสื่อมคุณภาพ หากนํามาผานกระบวนการกําจัดของเสีย เพื่อใหสามารถนํานํา้กลับมาใชประโยชนใหมไดอีก ก็เปนเหตุใหเกิดการสิ้นเปลือง ทั้งทรัพยากรและทุนในการจัดการสูงมาก

เนื่องจากนํ้าเสียกอใหเกิดความเสื่อมโทรมนานาประการ และเกิดภยันตราย ทั้งตอมนุษยและสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ อยางกวางขวาง รวมทั้งมีการลงทุนที่สูงเพื่อการปรับปรุง แกไข ผลกระทบทั้งทางตรงและทางออมดังกลาวลวนทําใหชุมชนออนแอลง ปจจุบัน ชุมชนที่ตั้งอยูบริเวณแมนํ้าลําคลองและแหลงนํ้า จึงตื่นตัวที่จะปองกันและปรับปรุงแกไข เพื่อลดทอนปญหาตาง ๆ และเพื่อใหไดรับผลกระทบที่เปนอันตรายทั้งทางตรง และทางออมนอยลง

คลองทาทองใหมเปนลําคลองสายหนึ่งที่ไหลผานพื้นที่อําเภอกาญจนดิษฐ

และอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี แมเปนลําคลองสายสั้น ๆ แตก็มีความสําคัญยิ่ง ตอชุมชนที่ตั้งอยูบนสองฝงคลองนี้ เปนลําคลองที่ไดรับผลกระทบจากการเติบโต และพัฒนาของชุมชนเชนเดียวกับแมนํ้าลําคลองอื่น ๆ ในปจจุบัน แมวาปญหาที่เกิดขึ้น ตอลําคลองสายนี้สงผลกระทบตอชุมชนไมถึงขั้นวิกฤตก็ตาม แตในทศวรรษที่ผานมา เห็นไดชัดวาความเสื่อมโทรมของลําคลองสายนี้มีเพิ่มขึ้น และมีแนวโนมวาจะสงผล กระทบตอชุมชนรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ ในอนาคต การศึกษาและทําความเขาใจเกี่ยวกับคลอง ทาทองใหม ทั้งในอดีต ปจจุบัน และแนวโนมในอนาคต นาจะเปนลูทางหนึ่งที่อาจยับยั้ง พฤติกรรมตาง ๆ ของชุมชน ทําใหคลองสายนี้มีปญหาลดลง และยังคงเอื้อประโยชน

ตอความเขมแข็งของชุมชนในอนาคตไดอยางยั่งยืน

ยอนอดีตของคลองทาทองใหมกับวิถีชีวิตของผูคน

คลองทาทองใหม เปนคลองที่ไหลมาจากเทือกเขานครศรีธรรมราช ฝงซาย ของคลองอยูในเขตพื้นที่อําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี สวนฝงขวาเปนพื้นที่

(6)

อําเภอกาญจนดิษฐ คลองนี้เกิดจากคลองเล็ก ๆ หลายสายไหลมารวมกัน ไดแก คลองกรูด คลองบางลุ คลองบางดวน คลองทับทอน ฯลฯ

เมื่อประมาณกอนป พ.ศ. 2525 คลองทาทองใหมยังคงอุดมสมบูรณดวยสัตวนํ้า นานาชนิด ชาวบานที่อาศัยอยูในบริเวณหมูบานทุงกง บานบอโฉลก บานทาทองใหม

บานเขาแกว บานบางกุง บานทับทอน บานหัวหมาก และหมูบานอื่น ๆ ที่อยูไมไกล จากคลองทาทองใหม สามารถจับสัตวนํ้าในลําคลองนี้ซึ่งมีชุกชุมโดยที่เลือกนําไปใชประโยชน

เฉพาะตัวโต ๆ เทานั้น จนชาวบานบางสวนยึดการทําประมงพื้นบานเปนอาชีพ

คลองทาทองใหม มีความสัมพันธกับวิถีชีวิตของชาวบานมาตั้งแตอดีต ซึ่งความ อุดมสมบูรณของคลองทาทองใหมชวยใหชาวบานยังชีพดวยการจับปู กุง ปลา หอย มาเลี้ยงชีพ ใชนํ้าเพื่อประโยชนในการอุปโภค บริโภค และเพื่อการเกษตร สภาพสังคม ในสมัยนั้นเปนสภาพสังคมที่แวดลอมดวยความอุดมสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาติ ในนํ้า มีปลาในนามีขาว อาชีพหลักของประชาชนบริเวณนั้น คือ อาชีพทํานา และยังประกอบ อาชีพอื่น ๆ เชน ทํานํ้าตาล เพาะปลูก งานหัตถกรรมและอาชีพประมง การทํานาในสมัยนั้น ถือไดวาเปนอาชีพหลัก เพราะพื้นที่เปนที่ราบลุมเหมาะสมแกการทํานา จึงทําให

ประชาชนเกือบทุกหลังคาเรือนประกอบอาชีพทํานา การทํานาใชแรงงานคนและสัตว คือ วัว และควายในการไถนา วัสดุอุปกรณตาง ๆ ที่ใชในการทํานาลวนเปนเครื่องไมเครื่องมือ ที่สรางขึ้นมาเอง เชน คันไถ ทํามาจากไมมีเหล็กติดกับหัวหมู ชาวบานในสมัยนั้นใชไถ พรวนดิน ใชควายหรือวัวลากไถ มีการใชเครื่องมืออื่น ๆ คือ จอบ หรือเสียม มีดพรา การทํานาในสมัยนั้นไมตองใชสารเคมี หรือยาฆาแมลง หลังจากขาวในนาสุกถึงฤดูเก็บเกี่ยว ผลผลิตก็ใชแรงคนเก็บเกี่ยว โดยออกปากหรือลงแขกเกี่ยวขาว เครื่องมือที่ใชในการ เก็บเกี่ยว ประกอบดวย แกะและเคียว หลังจากเก็บเกี่ยวขาวเสร็จแลวก็เปนขั้นตอน ของการนวดขาว บางบานอาจนวดดวยแรงคน บางบานที่มีวัว ควาย ก็ใชวัวใชควายนวดขาว หลังจากกระบวนการนวดขาวก็เปนการฝดขาว คือ วิธีการเอาแกลบหรือฟางออกจากขาว เปลือก อาจจะใชกระดงหรือตะแกรงหรืออาจจะใชเครื่องมือที่ชาวบานเรียกวา “ครกฝด”

ผลผลิตที่ได คือ ขาวเปลือกซึ่งชาวบานมักนํามาเก็บไวในโรงขาว หรือยุงฉางที่บาน ในชวง ฤดูเก็บเกี่ยวนี้ก็เปนชวงฤดูรอนที่มีสัตวนํ้าจําพวก กุง หอย ปู ปลาชุกชุม ซึ่งสามารถนํามา ใชเปนอาหาร และใชเปนสิ่งของเพื่อการแลกเปลี่ยนกัน

(7)

ดังที่ไดกลาวมาแลววานอกเหนือจากอาชีพทํานา ยังมีการทําตาลมะพราวและ ตาลโตนด ซึ่งเปนอาชีพที่ผูคนทําควบคูกับการทํานา เพราะในที่ดอนชาวบานจะปลูก มะพราว สิ่งที่ไดจากการทําตาล คือ นํ้าผึ้งและนํ้าตาล นอกจากใชเพื่อบริโภคในครอบครัว แลวยังใชเปนสินคาที่ใชแลกเปลี่ยนกับสินคาชนิดอื่น ๆ อีกดวย นอกจากนี้ ยังมีอาชีพ สําคัญของชาวบานที่ทํากันแทบทุกครัวเรือนอีก คือ การสานบุงกี๋ดวยหวาย และเย็บจาก มุงหลังคาจากใบจาก (ถวิล รอดคุม, สัมภาษณ : 20 มิถุนายน 2559) ทั้งนี้เพราะวาแตเดิม ในบริเวณปาที่ไมไกลจากหมูบานมีหวายชนิดตาง ๆ และตนจากอันเปนวัสดุจักสานสําคัญ ขึ้นอยูอยางหนาแนน

อาชีพประมงนับเปนอีกอาชีพหนึ่งที่มีความสําคัญ เนื่องจากชุมชนริมคลอง ทาทองใหมในสมัยนั้นนอกจากใชคลองเปนเสนทางคมนาคมแลว ยังใชเปนแหลงประกอบ อาชีพอีกดวย การประมงที่ทําในสมัยกอน คือ หาสัตวนํ้าจําพวกกุงปู ปลา มาประกอบเปน อาหาร และใชเปนสิ่งแลกเปลี่ยนกับสินคาชนิดอื่น ๆ ในคลองทาทองใหมและคลองสาย เล็ก ๆ ที่เปนตนนํ้า มีสัตวนํ้าชุกชุมมาก กุงหลวงตัวโตขนาดเทาแขน แตละวันสามารถดํานํ้า หรือตกกุง ไดวันละไมนอยกวา 5 กิโลกรัม ปลากดโชงโลงมีชุกชุมมาก หากทอดแห หรือวางอวนเล็ก หรือใชไซดัก วันหนึ่ง ๆ อาจจะไดถึง 10 กิโลกรัม สําหรับปลาหมอ เมื่อถึงฤดู

นํ้าหลากสามารถจับไดโดยงาย เพราะปลาชนิดนี้ชอบวายทวนนํ้าขึ้นไปยังตนนํ้า ชาวบานเลา วา “เมื่อประมาณ 50 ปที่แลว บริเวณใกลคลองมีปาไมหนาแนน มีปลาชุกชุมมาก พี่ชาย ที่เดินกลับบาน โดยเดินมาตามคลองมาเรื่อย ๆ กอนถึงบาน สิ่งที่ไดถือติดมือมาเปนกุงหลวง ไดกุงมาวันละเปนกิโล โดยที่ไมตองซื้อ” (พะโยม ธรรมภัทรกุล, สัมภาษณ : 7 พฤษภาคม 2559) นอกจากนี้ชาวบานยังมีอาชีพอื่น ๆ เชน การรวมกลุมกันทําไมแปรรูปเพื่อใชสราง บานเรือนที่อยูอาศัย และใชกอสรางสิ่งอื่น ๆ อีกทั้ง บางก็ทําชันยาง หาของปา ทําขาวไร

ปลูกพืชผักตาง ๆ เปนตน

สภาพบานเรือนหรือที่อยูอาศัยของผูคนบริเวณคลองทาทองใหมสรางขึ้นมาจาก วัสดุธรรมชาติ เชน บานที่สรางจากไมไผมุงหลังคาดวยใบจาก เปนการใชวัตถุดิบที่มีอยู

ในทองถิ่น บางบานที่มีฐานะดีอาจจะปลูกสรางดวยไมเคี่ยม ไมหลุมพอ ไมยาง ฯลฯ ซึ่งตัดเลื่อยดวยแรงงานคนโดยใชเครื่องมือ คือ ขวาน สิ่ว และเลื่อยเปนอุปกรณสําคัญ กระเบื้องที่นํามาใชทําขึ้นมาเอง เรียกวา “กระเบื้องวาว” มีลักษณะเปนสี่เหลี่ยมขาวหลามตัด

(8)

บานเรือนสวนใหญจะปลูกสรางบริเวณสองฝงคลอง เพราะสะดวกตอการคมนาคมขนสง เนื่องจากในสมัยนั้นยังไมมีถนนและรถยนต จะมีก็แตทางเทาซึ่งเปนทางดิน มีเกวียนเปนพาหนะใชในการบรรทุกหรือเคลื่อนยายสิ่งของ แตแทบทุกครัวเรือนจะมีรถ จักรยาน หรือรถถีบใชติดตอไปมาหาสูกัน (กิ้มลวน ธรรมภัทรกุล, สัมภาษณ : 7 พฤษภาคม 2559) การคมนาคมของผูคนสวนใหญริมคลองทาทองใหมใชเรือเปนพาหนะหลัก และลําคลองเปนเสนทางคมนาคม ผูคนในสมัยนั้นจึงเขามาตั้งถิ่นฐานอยูบริเวณริมคลอง เปนจํานวนมาก

สภาพชีวิตความเปนอยูของชาวบานริมคลองทาทองใหมใชชีวิตอยูกับธรรมชาติ

ที่มีความอุดมสมบูรณ ผูคนมีจิตใจโอบออมอารีชวยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน มีการ แบงปนสิ่งของเครื่องใช อาหารการกินดวยการใหหรือแลกเปลี่ยนโดยเฉพาะสิ่งของอุปโภค บริโภคที่หามาได ใครมีขาวสารใหมหรือขาวเปลือกที่ไดจากการทํานา ทําไร หลังจากนํา ไปถวายพระที่วัดแลวก็นํามาแลกกับกะป เกลือ นํ้าตาล อาหารทะเล และเครื่องใชไมสอย อื่น ๆ ผูคนจึงมีความผูกพันกับธรรมชาติใชชีวิตอยูกับธรรมชาติ เด็ก ๆ หรือวัยรุนในสมัยนั้น จะอยูกับทุงนา วัว ควาย ยิงนก ปกเบ็ดตกปลา ยั่วปลา นั่งบนหลังควาย เลนนํ้าอาบนํ้ากัน ตามคลอง หนอง บึง คนแกหรือผูอาวุโสเปนผูที่ไดรับการยกยองนับถือของบุคคล ในหมูบาน ตอนคํ่าภายหลังจากอาหารมื้อเย็น เด็ก ๆ มักเลนคําทายหรือปริศนาคําทายกัน หรือไมก็ฟงนิทาน หรือตํานานเกาแกจากผูอาวุโส นิทานที่เด็กชอบ ไดแก เรื่องนายดัน สุบิน ไกรสิทธิ์ วันคาร เศรษฐีโลภัณ นายทนนางบัวโทน เปนตน เด็ก ๆ หรือเยาวชนไมคอย มีโอกาสทางการศึกษา สวนมากเด็กผูชายศึกษาเลาเรียนโดยบวชเปนสามเณร หรือพระภิกษุ

วัดจึงเปนศูนยกลางของการศึกษาเลาเรียนในสมัยนั้น (วาด กลับวิหค, สัมภาษณ : 20 พฤษภาคม 2559) แตตอมาวัดหมดความสําคัญทางการศึกษา เมื่อการศึกษาแผนใหมเขา มามีบทบาทมากขึ้น

ชาวบานมีวิถีชีวิตที่สัมพันธกับวัด แตละครอบครัวจะมีผูคนไปทําบุญที่วัด อันเปนศูนยรวมของชุมชน ทุกวันพระ 8 คํ่า และ 15 คํ่า กันอยางเนืองแนน และในวันสําคัญ ทางพุทธศาสนาจะมีผูคนทุกรุนทุกวัยไปที่วัดเพื่อปฏิบัติตามประเพณี วัดจึงมีความสําคัญ อยางยิ่ง และงานประจําปของวัดจะเปนงานที่ชาวบานและเด็กรอคอย เพราะเปนงานที่

สนุกสนาน ชาวบานไดพักผอนหยอนใจจากการชมมหรสพพื้นบาน ไดแก หนังตะลุง

(9)

มโนราห เพลงบอก รําวง ภาพยนตรกลางแปลง หรือหนังขายยา เปนตน (กิ้มลวน ธรรมภัทรกุล, สัมภาษณ : 10 กันยายน 2559) วัดที่เปนศูนยกลางทางตนนํ้า คลองทาทองใหม

คือ วัดเขาชา สวนวัดที่อยูทางปลายนํ้า คือ วัดทาไทร วัดเขาแกว และวัดทุงกง

การดําเนินชีวิตของผูคนในชุมชนเปนไปอยางเรียบงาย สิ่งของเครื่องใชบางอยาง ทําขึ้นเอง นอกจากอาหารการกินสําหรับบริโภคที่สวนใหญหาไดจากธรรมชาติแลว ยังใชพืชสมุนไพรรักษาโรคภัยไขเจ็บ ใชสระผมแทนการใชผงซักฟอก หรือยาสระผม ใชหวีที่ดัดแปลงมาจากไม รวมถึงสิ่งของเครื่องใชตาง ๆ เชน กระบวยตักนํ้า กระดง กระเชอ เครื่องมือดักสัตว หรือจับสัตวประเภทตาง ๆ ทั้งสัตวบกและสัตวนํ้าลวนแลวแต

เกิดจากภูมิปญญาทองถิ่นของชาวบานทั้งสิ้น รานคาเล็ก ๆ ในหมูบานซึ่งขายสิ่งของเครื่องใช

ที่จําเปนบางอยางเพิ่งมีขึ้นภายหลัง สวนใหญเปนของคนไทยเชื้อสายจีน นาน ๆ ครั้ง ชาวบานจึงจะเดินทางดวยเรือยนตเล็กไปซื้อสิ่งของ เครื่องใชจากตลาดบานดอน (ถวิล รอดคุม, สัมภาษณ : 10 มิถุนายน 2559)

ดานการรักษาพยาบาลเมื่อเกิดอาการเจ็บไขไดปวย ในอดีตที่ผานมาไมมีหมอ หรือพยาบาล ไมมีโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาล ไมมียาปฏิชีวนะเพื่อรักษาคนไข ผูคน ในสมัยกอนใชยาสมุนไพร เพื่อรักษาอาการเจ็บปวย เชน ใชสมุนไพรสําหรับหามเลือด ใชแกปวดทอง แกไข และใชรักษาโรคตาง ๆ ตัวยาสําคัญที่ชาวบานรูจักกันดี คือ ฟาทะลายโจร สมปอย ฝกราชพฤกษ ใบชุมเห็ด เปนตน เปนยาประจําบานที่ชาวบานทุกครอบครัวนํามา ใชเปนประจํา สําหรับการดูแลหญิงมีครรภและการคลอดลูกเปนบทบาทของหมอตําแย หรือที่ชาวบานเรียกวา “แมทาน” แมทานจะเปนผูดูแลหญิงมีครรภจนกระทั่งคลอด โดยแมทานจะใหคําแนะนําเกี่ยวกับการรับประทานอาหาร การรับประทานยา การปฏิบัติตัว การดูแลรักษาครรภตลอดจนการปฏิบัติตามความเชื่อตาง ๆ ใหปลอดภัยจนกระทั่งคลอด และการปฏิบัติภายหลังคลอด สําหรับบุคคลที่รักษาพยาบาลคนเจ็บปวยแตเดิม สวนมากจะเปนพระภิกษุหรือบุคคลที่มีความรูในเรื่องยาสมุนไพร อาจจะเปนคนเฒาคนแก

ในชุมชน บางก็รักษาพยาบาลดวยเวทมนตคาถา เชน การปดซาง การพนตาแดง การพนเริม (อาการปวดแสบ ปวดรอน มีผื่นสีแดงเปนตุมหนอง ชาวบานเรียกวา “เริม” หรือ งูสวัด) คนเฒาคนแกจะรักษาจากความเชื่อ โดยการพนดวยหมากและพลู หรือใบกระทอน ประกอบกับบริกรรมคาถาตามความเชื่อถือ นอกจากนี้ยังมีคาถาที่ใชหามเลือด แกไฟไหม

(10)

นํ้ารอนลวก เปนตน

ดานความเชื่อตาง ๆ ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมที่ยึดถือปฏิบัติ

กันมามักจะมีความสัมพันธกับธรรมชาติและสภาพแวดลอม ชาวบานในอดีตใหความสําคัญ กับความเชื่อ ประเพณีวัฒนธรรม โดยยึดถือปฏิบัติอยางเครงครัด เชน ประเพณีผูกขาว ทําขวัญขาว ทําขวัญเรือ ประเพณีไหวพระภูมิเจาที่ ฯลฯ ซึ่งความเชื่อและประเพณีดังกลาว เกี่ยวของกับการประกอบอาชีพหรือการทํามาหากินทั้งสิ้น (อุทิศ รอดคุม, สัมภาษณ : 20 มิถุนายน 2559) นอกจากนี้ ยังมีประเพณีตามเทศกาล ไดแก ประเพณีลอยกระทง ชักพระทอดผาปา เขาพรรษา ออกพรรษา ทอดกฐิน เปนตน แตเดิมผูคนมีความผูกพันอยู

กับวัดอยางยิ่งงานที่วัดแทบทุกอยางจะมีชาวบานจํานวนมากเขาไปชวยเหลืออยางเต็มที่

เชน งานตามเทศกาล ชาวบานจะเปนตัวตั้งตัวตีในการจัดเตรียมสิ่งของเครื่องใชและจัดงาน จนสําเร็จ โดยเชื่อวางานวัดเปนงานบุญซึ่งจะชวยใหผูมีสวนรวมมีชีวิตที่ดี มีความสงบสุข

หากพิจารณาเกี่ยวกับดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในสมัยนั้นมีความ อุดมสมบูรณอยางยิ่ง อาจกลาวไดวาในนํ้ามีปลาในนามีขาว ฤดูทํานามองไปทางไหน ในทุงนาเต็มไปดวยตนขาว หวย หนอง คลอง บึง ชุกชุมดวยสัตวนํ้าจําพวกกุง หอย ปู ปลา ในปาอุดมสมบูรณดวยสัตวปาและผลผลิตจากปา เชน ผลไมปาชนิดตาง ๆ หนอไม นํ้าผึ้ง ชันยาง พรรณไม สมุนไพรนานาชนิด คลองทาทองใหมมีนํ้าใสสะอาด สองฟากคลอง มีปาชายเลนอันอุดมสมบูรณ สลับดวยตนจากซึ่งชาวบานใชประโยชนทั้งใบและผลสืบตอ กันมายาวนาน และยังเปนที่วางไขและการเจริญเติบโตของสัตวนํ้าตัวออน เครื่องมือ ของชาวบานที่ใชในการจับสัตวหรือลาสัตว และนํามาใชในการดํารงชีวิต สวนใหญสรางขึ้น มาเอง เชน หริงตรอม แรว ไซ สุม ยอ แห และอื่นๆ (โกมาตร วิเศษสุทธิ์, สัมภาษณ : 10 กันยายน 2559) ซึ่งไมเปนอันตรายตอสิ่งแวดลอม ไมกอใหเกิดมลพิษ ยานพาหนะที่ใช

ในการคมนาคมขนสงก็มีแตเรือแจว เรือพาย เปนสวนใหญ

จากสภาพดังกลาวชาวบานที่มีอายุมากกวา 60 ป ขึ้นไป ตางยอมรับวา การดํารงชีวิตของชาวบานทั้งสองฝงคลองอยูรวมกันอยางปกติสุข ชุมชนมีความเขมแข็ง อยางยิ่ง เปนชุมชนที่บูรณาการมิติทางสังคมดานตาง ๆ ทั้งเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติ และวัฒนธรรมเขาดวยกันอยางลงตัว ทําใหชุมชนมีความเขมแข็ง สามารถชวยตัวเองไดเปนอยางดี

(11)

คลองทาทองใหมกับวิถีชีวิตผูคนในปจจุบัน

วิถีชีวิตของผูคนริมคลองทาทองใหมในปจจุบันไดเปลี่ยนแปลงไปจากอดีต คอนขางมากในทุกมิติ นอกจากจะเปนไปตามกระแสโลกาภิวัตนที่ชุมชนชนบทยอม เปลี่ยนแปลงไปตามชุมชนเมืองแลว ยังเปนเพราะนโยบายของรัฐที่รีบเรงพัฒนาประเทศ ตามแบบอยางตะวันตก ดังเห็นไดจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติจากแผนที่ 5 (พ.ศ. 2525 – พ.ศ. 2529) เปนตนมา ในแผนนี้รัฐไดพยายามพัฒนาประเทศอยางตอเนื่อง มาจากแผนที่ 4 (พ.ศ. 2520 – พ.ศ. 2524) ซึ่งยังคงเนนการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน อยางขนานใหญ อยางไรก็ตาม แผนนี้ไดใหความสําคัญกับประชาชนที่ยากจนในชนบท อีกทั้ง จัดบริการสังคมดานการศึกษา สาธารณสุข ฯลฯ กระจายสูชนบท สหกรณไดเขามา มีบทบาทในการพัฒนาอยางสําคัญยิ่ง แผนงานสรางงานในชนบท และแผนกิจกรรม ในระดับหมูบาน แผนการจัดการบริการขั้นพื้นฐานและแผนงานการผลิตไดรับการนํามาใช

ในชนบทอยางจริงจัง ครั้นถึงแผนพัฒนาฯ แผนที่ 6 (พ.ศ. 2430 - พ.ศ. 2534) กิจการ สหกรณไดเขามามีบทบาทเพื่อการพัฒนาชนบทอยางแทจริง โดยมีบทบาทมากขึ้น ในการพัฒนาคน ครอบครัว ชุมชนในชนบท ที่สําคัญ คือ สหกรณเปนเครื่องมือในการ สงเสริมและพัฒนาอาชีพใหแกสมาชิก กลุมสตรี และกลุมเยาวชน ในการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมชนบท อีกทั้งสงเสริมการใชและการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติใหมีประสิทธิภาพ และไดประโยชนสูงสุด

แผนพัฒนาฯ แผนที่ 7 (พ.ศ. 2535 – พ.ศ. 2539) ไดมุงกระจายรายไดและกระจาย การพัฒนาไปสูชนบทใหกวางขวางยิ่งขึ้น มีการเรงรัดพัฒนาทรัพยากรมนุษย คุณภาพชีวิต สิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติอยางจริงจัง ในสวนของขบวนการสหกรณ รัฐบาลได

พยายามใหการสนับสนุนสหกรณใหเขมแข็งพึ่งพาตนเองได สหกรณมีการพัฒนาคน และคุณภาพชีวิต ซึ่งเปนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย อีกทั้งยังเปนการกระจายรายได

ไปยังชนบทดวย ทําใหชุมชนเกิดความเขมแข็งยิ่งขึ้น

แผนพัฒนาฯ แผนที่ 8 (พ.ศ. 2540 – พ.ศ. 2544) ในแผนนี้มีเปาหมายสําคัญ คือ การพัฒนาคน เพื่อใหอยูรอดในระบบเศรษฐกิจและสังคมในอนาคต ไมมุงเนนพัฒนา เศรษฐกิจเพียงดานเดียว การพัฒนาคนมุงเสริมสรางศักยภาพทั้งในดานรางกาย จิตใจ และสติปญญา อีกทั้งเพื่อใหมีการใชประโยชนและดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ

(12)

และสิ่งแวดลอม สามารถสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิตใหยั่งยืน โดยที่สหกรณไดมีบทบาทรวมในการพัฒนาอยางจริงจัง

แผนพัฒนาฯ แผนที่ 9 (พ.ศ. 2545 – พ.ศ. 2549) เปนแผนที่รัฐบาลไดใชแนวทาง ของเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ มาเปน ปรัชญานําทางในการพัฒนา และบริหารประเทศ เพื่อมุงแกปญหาความยากจน และยกระดับคุณภาพชีวิตของคนสวนใหญของประเทศใหเกิด “การพัฒนาที่ยั่งยืน และความอยูดีมีสุขของคนไทย” ในแผนนี้ขบวนการสหกรณยังคงมีบทบาทสําคัญ ตอการสรางความเขมแข็งของชุมชน แกปญหาความยากจน ในการพัฒนาไดสราง ความเชื่อมโยงชนบทและเมืองอยางเกื้อกูล

แผนพัฒนาฯ แผนที่ 10 (พ.ศ. 2550 – พ.ศ. 2554) ในแผนนี้มีเปาหมายการพัฒนา คุณภาพคนและความเขมแข็งของชุมชน ในดานการพัฒนาคนมุงใหไดรับการพัฒนา ทั้งดานรางกาย สติปญญา คุณธรรมจริยธรรม อารมณ มีความสามารถในการแกปญหา มีทักษะในการประกอบอาชีพ มีความมั่นคงในการดํารงชีวิตอยางมีศักดิ์ศรี และอยูรวมกัน อยางสงบสุข ในดานเศรษฐกิจ มุงใหสัดสวนภาคผลผลิตเกษตรและอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น ใหมีเสถียรภาพเศรษฐกิจและใหเกิดความเปนธรรมทางเศรษฐกิจ สวนดานการสรางความ มั่นคงของฐานทรัพยากรและสิ่งแวดลอม มุงรักษาความสมบูรณของทุนทรัพยากร และความหลากหลายทางชีวภาพ โดยที่ใหคุณภาพสิ่งแวดลอมอยูในระดับที่เหมาะสม ตอการดํารงคุณภาพชีวิตที่ดี สําหรับดานธรรมาภิบาล มุงใหธรรมาภิบาลของประเทศดีขึ้น ดวยการสรางองคความรูเกี่ยวกับประชาธิปไตยและธรรมาภิบาลในบริบทไทย

แผนพัฒนาฯ แผนที่ 11 (พ.ศ. 2555 – พ.ศ. 2559) ไดเนนการนําหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใชอยางกวางขวางในทุกระดับ ตั้งแตระดับปจเจก ครอบครัว ชุมชน สังคม จนถึงระดับประเทศ เพื่อใหสามารถยืนหยัดอยูไดอยางมั่นคง ทามกลาง กระแสการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว และผลกระทบอยางรุนแรงของเศรษฐกิจ และสิ่งแวดลอม (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2554 : 7) จากการที่ประเทศไทยใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ แผนที่ 5 ตั้งแตป พ.ศ. 2525 เปนตนมา กระทั่งสิ้นแผนพัฒนาฯ แผนที่ 11 (พ.ศ. 2559) และไดเริ่ม ใชแผนพัฒนาฯ แผนที่ 12 (พ.ศ. 2560 – พ.ศ. 2564) นับเปนชวงเวลายาวนานถึง 35 ป

(13)

ผลจากการใชแผนพัฒนาฯ ดังกลาว ทําใหสวนภูมิภาคหรือชนบทเกิดการเปลี่ยนแปลง อยางตอเนื่อง พื้นที่ในอําเภอกาญจนดิษฐก็ไดรับการพัฒนาตามแนวนโยบายแผนพัฒนาฯ มาตามลําดับ ริมฝงขวาของคลองทาทองใหมอันเปนพื้นที่ตําบลทุงกงตอเนื่องถึงตําบล ทาทองใหม ซึ่งชาวบานสวนใหญมีอาชีพทํานา งานหัตถกรรม หาของปา และการประมง ที่แตเดิมเปนการผลิตเพื่อยังชีพ ไดมุงผลิตและเสาะหาสิ่งตาง ๆ เพื่อขาย ชาวนาตาง ขยับขยายหาที่ทํานาใหมากขึ้น โดยรัฐสนับสนุนสงเสริมดานสาธารณูปโภคตาง ๆ ชาวบานบางคนที่มีแหลงนํ้าเพียงพอก็เพิ่มการทํานาเปนปละ 2 ครั้ง (อุทิศ รอดคุม, สัมภาษณ : 20 มิถุนายน 2559) มีการนําเครื่องทุนแรงตาง ๆ เชน เครื่องสูบนํ้า ควายเหล็ก เครื่องนวดขาว เปนตน มาใชแทนคนและแรงงานสัตว นําปุยเคมีมาใชแทนปุยคอก หรือมูลสัตว บทบาทและคุณคาของวัวควายจึงมีนอยตอวิถีชีวิตของชาวบาน พันธุขาว พื้นเมืองถูกแทนที่ดวยพันธุขาว กข.6 ซึ่งเปนขาวสายพันธุใหมที่ใชผลิตเพื่อขาย การเกี่ยวขาวเปลี่ยนจากการใช “แกะ” และ “จูด” มาเปนเคียว หรือใชเครื่องเกี่ยวขาว และนวดขาว อันเปนเครื่องจักรกลสมัยใหม เมื่อเนนการผลิตเพื่อขายทุกอยางที่ใชในการ ทํานาลวนตองใชเงินลงทุนทั้งสิ้น การทํานาในรูปแบบใหมตามนโยบายของภาครัฐ ที่เปนการผลิตเพื่อขายจึงไมสอดรับกับวิถีชีวิตชุมชน ปจจัยภายนอกไดเขามาแทนที่

การพึ่งตนเอง เพราะสามารถทุนเวลา ทุนแรงงาน มีความสะดวกรวดเร็ว แตสงผลกระทบ ตอชุมชน ทําใหกิจกรรมตามแบบเดิมขาดการสืบทอด

ฉะนั้น การทํานาขาวเชิงพาณิชยตามที่รัฐบาลสงเสริมจึงทําใหเกิดการ เปลี่ยนแปลงโครงสรางวิถีชีวิตของคนชนบทจากหนามือเปนหลังมือ เรียกไดวาเปลี่ยนไป ถึงรากเหงาของจิตสํานึก กลาวคือ เมื่อระบบการผลิตของชนบทที่เนนการผลิตเพื่อใช

เพื่อกิน สวนเกินที่เหลือก็นําไปแลกเปลี่ยนหรือแจกจายใหแกกันไดเปลี่ยนมาสูระบบการผลิต เพื่อขายที่เนนจํานวนผลผลิตโดยมีคาตอบแทนเปน “เงิน” ความเอื้ออาทรของผูคนในทองถิ่น ก็เริ่มลดลง สายสัมพันธในชุมชนจึงหมดไป ดานสัดสวนเวลาเกิดการเปลี่ยนแปลง เปนอยางมากเพราะแตละคนตองทํางานแขงกับเวลา หากลาชาผลผลิตก็จะเกิดความเสียหาย และขายไมไดราคา วิถีการทํานาในยุคนี้จึงเรงรีบแบบโลกอุตสาหกรรม เมื่อไมทันกับเวลา ชาวบานก็เริ่มหันไปพึ่งพาระบบเทคโนโลยีตาง ๆ และเมื่อขาดทุนรอนก็ไปกูหนี้ยืมสิน ชาวบานตางก็ทํางานหนัก แตกลับพบวาตัวเองจนลงและสิ่งที่เพิ่มพูนมากขึ้น ก็คือ หนี้สิน

(14)

การพึ่งพาตนเองไมไดของครอบครัวชนบทจึงเกิดขึ้น การทํานารูปแบบใหมประสบ ความลมเหลว

การพัฒนาทองถิ่นตามนโยบายของภาครัฐเปนรูปแบบการพัฒนาที่ไมยั่งยืน คนชนบทตองประสบปญหาตาง ๆ ปญหาอีกอยางหนึ่งที่เกิดจากการปลูกขาวเพื่อขาย คือ ชาวบานถูกพอคาคนกลางเอารัดเอาเปรียบโดยที่พอคากดราคาขาวใหตกตํ่า นั่นก็เพราะในปหนึ่ง ๆ ชาวบานผลิตขาวไดเปนจํานวนมาก พอคามีทางเลือกในการ ซื้อขาว ขณะที่ชาวบานจําตองขายขาวใหพอคาดวยความจําใจจึงเปนการผลิตที่ผลิต ในเชิงพาณิชย ซึ่งชาวบานเปนผูเสียเปรียบ ไมไดรับความเปนธรรม ถูกเอารัดเอาเปรียบ ชาวนาเองก็ตองกมหนายอมรับชะตากรรมของตนโดยไมรูวาจะไปเรียกรองความเปนธรรม จากใคร สังคมชนบทที่ถูกครอบงําดวยระบบพาณิชย เอื้อใหนายทุนเติบโตอยูในชุมชน ชนบท นายทุนมุงแตแสวงหาผลกําไรแบบมือใครยาวสาวไดสาวเอา ระบบพาณิชยนี้ทําให

พอคาคนกลางรวยขึ้น ในขณะที่ชาวนากลับจนลงอยางนาใจหาย และที่สําคัญ การปลูกขาวเชิงพาณิชยยังเปนสาเหตุสําคัญในการทําลายทรัพยากรธรรมชาติและ บั่นทอนใหระบบนิเวศเสียสมดุล เมื่อทรัพยากรในทองถิ่นเสื่อมโทรมลงมาก ๆ ชาวบานก็ไมสามารถกลับไปทํานาตามรูปแบบเดิมไดอีก นอกจากนี้ การทํานารูปแบบใหม

โดยภาครัฐสนับสนุนใหชาวบานหันมาปลูกขาวเชิงพาณิชยทําใหระบบทุนนิยมคอย ๆ คืบคลานเขาสูทองถิ่นชนบทดวยการแทรกซึมผานนโยบายการพัฒนาประเทศ ระบบนี้

เอื้ออํานวยใหนายทุนไดผลประโยชนในขณะที่ชาวบานผูเปนเจาของชุมชนกลับเสีย ผลประโยชน กระแสทุนนิยมที่แทรกซึมเขาสูชนบทตามนโยบายการพัฒนาทองถิ่นของ ภาครัฐนี้ไดเขาไปครอบงําชาวบานโดยสรางคานิยมขึ้นใหมทั้งดานวิถีชีวิต ความคิด ความเชื่อ ระบบการผลิต ตลอดจนปลูกฝงใหชาวบานยึดติดกับคานิยมสมัยใหม

อันเปนชองทางใหนายทุนกอบโกยผลประโยชน ทําใหชาวบานตกเปนเครื่องมือ ของนายทุน (วัศรนันทน ชูทัพ, 2560 : 191 – 192) และเมื่อวิถีชุมชนออนแอลงชาวบาน ที่เคยดํารงชีวิตอยางอิสระดวยการพึ่งพาตนเองก็ตกอยูในวิถีที่ตองพึ่งพาระบบภายนอก จนยากจะหลีกเลี่ยง

ในสวนของคลองทาทองใหมอันเปนแหลงอาหารและเสนทางคมนาคมของชาวบาน และชุมชนมาแตเดิม ภายหลังจากที่มีการสรางถนนสายสุราษฎรธานี – นครศรีธรรมราช

Referensi