• Tidak ada hasil yang ditemukan

แนวคิดว่าด้วย ให้อาวุธเมื่อเข้าป่าจับปลาต้องมีอุปกรณ์

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "แนวคิดว่าด้วย ให้อาวุธเมื่อเข้าป่าจับปลาต้องมีอุปกรณ์"

Copied!
1
0
0

Teks penuh

(1)

แนวคิด ให้อาวุธเมื่อเข้าป่าจ ับปลาต้องมีเครื่องมือ

สะท้อนนโยบายของร ัฐ ผศ.ชมพู โกติรัมย์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม

ก็ได ้ปรากฏสู่สาธารณชนมาแล ้วสำาหรับนโยบายบริหารประเทศ พร ้อม ทั้งมาตรการของรัฐบาล นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ท่ามกลางเสียงวิพากษ์

วิจารณ์อย่างกว ้างขวางกับการลด แลก แจกแถม ประเภทอาหารจาน ด่วนเห็นผลทันตาเกี่ยวกับการฟื้นฟูเศรษฐกิจที่กำาลังประสบปัญหาเป็นการ เร่งด่วน โดยจัดทำาเป็นแผนฟื้นฟูระยะสั้นที่ครอบคลุม ภาคเกษตรและ เกษตรกร ภาคอุตสาหกรรม ภาคบริการและการท่องเที่ยว ภาคการส่งออก ภาคอสังหาริมทรัพย์ การสร ้างงานและสร ้างรายได ้ในชนบท การพัฒนา แหล่งนำ้าธรรมชาติและฟื้นฟูทรัพยากร ให ้แล ้วเสร็จภายในเดือนมกราคม พร ้อมทั้งจัดทำางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมประจำาปีงบประมาณ พ.ศ.2552 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนำาเม็ดเงินของรัฐเข ้าสู่ระบบเศรษฐกิจเพื่อให ้สามารถ บรรเทาภาวะความเดือดร ้อนของประชาชนและภาคธุรกิจได ้ หรือเรียกว่านำา เงินเข ้ากระเป๋าประชาชนเพื่อกระตุ ้นการซื้อให ้มีกำาลัง แล ้วขยายให ้การ ผลิตขับเคลื่อนเพื่อป้อนสินค ้าสู่บริโภคที่มีกำาลังซื้อจนป็นพลังการผลิต การ จ ้างงานตามสายพานการหมุนเวียนของเงินตามแนวคิดการกระตุ ้นเศรษฐกิจ แต่การกระตุ ้นให ้เงินหมุนผลักดันกำาลังซื้อดังกล่าวถ ้าขาดแผนรองรับใน ระยะยาวในรดับฐานรากว่าจะนำาเงินไปแปรสภาพอย่างไร ให ้ผลของเงิน ขยายตัวออกดอกขยายผลหมุนเวียนเท่ากับไปกระตุ ้นเพียงกำาลังซื้อเพื่อให ้ ลุ่มการผลิตจากฐานกลุ่มเดิมเป็นรายใหญ่ขับเคลื่อนได ้ ดูแล ้วเท่าสนับสนุน รวยกระจุกแต่ยังจนกระจายอยู่ ก็คงไม่ต่างอะไรกับคนที่ไม่มีอาวุธเมื่อเข ้า ป่าจับปลาไม่มีเครื่องมือ หากย ้อนกลับก็คงไม่ต่างกับนโยบายกองทุน หมู่บ ้าน ที่ชาวบ ้านกู ้ไปแล ้วไม่มีแผนรองรับที่จะแปลงทุนนั้นให ้หมุนเวียนมี

มูลค่าเพิ่มอย่างไร จึงเป็นการกระตุ ้นที่ปลายเหตุหวังผลข ้ามคืน หากจะ กล่าวถ ึงนโยบายรัฐบาล ถือเป็นภารก ิจที่สำาคัญอย่างย ิ่งที่จะต ้องนำา ประเทศไทยให ้รอดพ ้นจากวิกฤต เศรษฐกิจโลกที่กำาลังเกิดขึ้นและพัฒนา ไปสู่การเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน รวมทั้งแก ้ไขวิกฤตทางสังคมที่มีความ แตกแยกและพัฒนาให ้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ยุติวิกฤตทางการเมือง และปฏิรูปการเมือง ให ้มีความมั่นคงตามแนวทางระบอบประชาธิปไตยที่มี

พระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข การที่รัฐจะตัดสินใจกำาหนดนโยบาย จึงไม่ใช่เป็นเรื่องลอยตัวโดดๆ แต่มีกระบวนการต่อเนื่องเช ื่อมกับปัจจัย อื่นๆ หลายมิติด ้วยกันกล่าวคือ ก่อนจะตัดสินใจกำาหนดนโยบายซึ่งเปรียบ กับทางเดินของรัฐ ผู ้ที่ทำาหน ้าที่รับผิดชอบต่อบ ้านเมืองจะต ้องรวบรวม ข ้อมูลทางเศรษฐกิจ สังคม ให ้สอดคล ้องกับเงื่อนไขทางสังคมที่กำาลัง เผชิญอยู่ โดยก ้าวข ้ามทางเดินทางการเมืองเพื่อหวังผลในเช ิง หว่าน พืชต ้องหวังผล เป็นสิ่งที่ควรหลีกเลี่ยง หากแต่ว่ารัฐบาลควรลงลึกลงที่

เศรษฐกิจสังคมอย่างกว ้างขวาง อนึ่งนั้นควรเชื่อมนโยบายเดิมที่เคยทำามา ก่อน หลังจากทบทวนอย่างรอบคอบแล ้วว่า นโยบายเหล่านั้นจะบรรลุเป้า

(2)

หมายแค่ไหนหรือมีอุปสรรคปัญหาเพียงใด ไม่ยึดติดกับการเล่นเกม ทางการเมืองโดยคำานึงว่า รัฐบาลมาแล ้วก็จากไปตามวาระหรือ อุบัติเหตุ แต่ประเทศชาติยังคงอยู่ต่อไปเป็นการคงอยู่ที่รัฐบาลต ้องรับผิด ชอบ ดังนั้นโยบายของรัฐจึงเป็นเรื่องที่ควรมีความต่อเนื่อง เพื่อขับเคลื่อน ประเทศชาติให ้ก ้าวต่อ ตรงนี้เป็นเรื่องละเอียดอ่อน เนื่องจากกลุ่มและ พรรคการเมืองต่างๆ เป็นเงาทับซ ้อนทางผลประโยชน์ที่มีอิทธิพลต่อการ กำาหนดนโยบายขยายมาตรการของรัฐอย่างปฎิเสธไม่ได ้ เมื่อเป็นเช่นนี้ผู ้ ม ีหน ้าท ี่กำาหนดนโยบายจ ึงต ้องประสานข ้อเร ียกร ้องระหว ่างกล ุ่ม พรรคการเมืองดังกล่าวมาพิจารณา ดังนั้นกลุ่มผลประโยชน์และ พรรคการเมืองแบบใดย่อมเป็นภาพสะท ้อนนโยบายของรัฐบาลนั้นๆ หาก เป็นพรรคการเมืองมีพื้นฐานจากภาคส่วนของประชาชนมีตัวแทนประชาชน ครอบคลุมกว ้างขวางอย่างแท ้จริง การกำาหนดนโยบายของรัฐจึงจะลงลึกมี

ความกว ้างสู่ภาคประชาชนทุกภาคส่วนเช่นกัน เพราะกลุ่มตัวแทนผล ประโยชน์ของประชาชนมีส่วนในการกำาหนดนโยบายขยายทางเดินของ ประเทศ ไม่ปล่อยให ้ประชาชนเรียกร ้องขอความช่วยเหลือจากรัฐตามท ้อง ถนนไร ้การต่อรอง แต่ในขณะเดียวกันกลุ่มพรรคการเมืองนั่งโต๊ะกลมเจรจา ทางการเมืองอย่างมีนัยต่อรองเพื่อจัดตั้งรัฐบาล เมื่อมีโครงนโยบายที่

พร ้อมประกาศใช ้จะต ้องนำาข ้อมูลมาทบทวนพิจารณาอย่างระมัดระวังว่ามี

ความเหมาะสมไหม นโยบายที่ดีควรมีลักษณะยืดหยุ่น การกำาหนด นโยบายของรัฐ ผู ้นำาทางการเมืองมีบทบาทที่สุดในการตัดส ินใจ ตามที่

Lasswell นักรัฐศาสตร์แห่งสหรัฐอเมริกาได ้กล่าวว่า ผู ้นำาการเมืองที่มี

บุคลิกภาพแบบเผด็จการมักจะใช ้อำานาจหน ้าที่ในการตัดสินใจโดยไม่คำานึง ถึงความคิดเห็นของผู ้อื่น แต่จะตัดสินใจในสิ่งที่ตนคิดว่าดีที่สุด โดยคำานึง ถึงหลักประสิทธิผลเป็นสำาคัญ ส่วนผู ้นำาทางการเมืองที่มีบุคลิกภาพแบบนัก บริหาร มักใช ้อำานาจตัดสินใจกำาหนดนโยบายโดยคำานึงความชอบธรรมและ ประส ิทธิผลควบคู่กัน ส ิ่งที่ควรคำานึงก็คือ นโยบายบางเรื่อง แม ้ให ้ ประสิทธิผลสูงก็จริง แต่ไม่เป็นที่ยอมรับของมหาชน นโยบายเช่นนั้นย่อม ทำาลายเสถียรภาพความมั่นคงของผู ้นำา ดังนั้นถ ้าจะถามว่า ใครได้อะไร ได้เมื่อไร และได้อย่างไรจากกิจกรรมทางการเมือง คำาตอบก็คือ คนทุกคนในสังคมควรได ้รับการกระจายส ิ่งที่มีคุณจากการบริหารของรัฐ ได ้เมื่อการที่ได ้ไปร่วมกิจกรรมทางการเมือง และถ ้าถามต่อไปว่า แล ้ว ประชาชนได ้ร่วมกิจกรรมทางการเมืองในกระบวนการจัดตั้งพรรคการเมือง แล ้วหรือยัง ตอบว่า ยังห่างไกลจากความเป็นจริงเพียงเป็นต ้นทางใน ฐานะผู ้เลือกตั้ง และตั้งดำารงตนผู ้ต่อเจรจาต่อบนท ้องถนน

Referensi

Dokumen terkait

ภาวะความจน : มายาภาพของการพ ัฒนา ผู ้ช่วยศาสตราจารย์ ชมพู โกติรัมย์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ในกระแสโลกาภิวัฒน์ที่เชื่อมโยงระบบเศรษฐกิจเข ้าด ้วยกันทั่ว โลก ได