• Tidak ada hasil yang ditemukan

ไทยในกระแสโลกาภิวัตน์ การปรับจุดยืนที่ยั่งยืน (ตอนที่2)

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "ไทยในกระแสโลกาภิวัตน์ การปรับจุดยืนที่ยั่งยืน (ตอนที่2)"

Copied!
1
0
0

Teks penuh

(1)

ไทยในกระแสโลกาภิว ัตน์ : การปร ับจุดยืนที่ย ั่งยืน ( 2 )

ผศ.ชมพู โกติรัมย์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม

ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศไทยดำารงชีพด ้วยระบบ เกษตรกรรมและการตลาดภายในประเทศ มีส ่วนผลักดันให ้ เศรษฐกิจภายในประเทศขับเคลื่อนอย่างต่อเนื่อง ได ้รับผลกระทบ จากนโยบายมุ่งขยายตัวทางเศรษฐกิจภาคอุตสาหกรรม คือเมื่อ แรงงานจากภาคเกษตรกรรมได ้หันเหไปทางภาคอุตสาหกรรม ซึ่ง ทำาให ้เศรษฐกิจภายในชาติได ้รับผลกระทบเป็นผลกระทบของคน ส่วนใหญ่ ทั้งนี้เป็นเพราะนโยบายเปิดประเทศเสรีกับระบบระดับ โลก ที่กล่าวมานั้นสะท ้อนให ้เห็นว่าการขยายตัวทางเศรษฐกิจใน บริบทของโลกแทบไม่ได ้เชื่อมกับประชากรส่วนล่างของประเทศ ในฐานะผู ้สร ้างเศรษฐกิจภายในชาติ แต่จะเอื้อประโยชน์แก่ชนชั้น กลางของประเทศ ในฐานะเป็นทรัพยากรมนุษย์ในระบบเศรษฐกิจ ระดับโลก ในประเด็นนี้ชนชั้นกลางได ้เริ่มผลักดันตัวเองให ้ห่าง หายจากสังคมและเศรษฐกิจในท ้องถิ่นมากขึ้น

หากจะกล่าวถึงรูปแบบการพัฒนา ซึ่งเป็นที่รู ้จักกันเป็น อย่างดีในบริบทของโลกปัจจุบันคือ การพัฒนาสู่ภาวะทันสมัยหรือ การขยายตัวทางอุตสาหกรรม ในเวลาต่อมาได ้กลายเป็นแม่แบบ การพัฒนาของไทย ลักษณะเด่นของแม่แบบการพัฒนาประเภทนี้

คือ การได ้บรรลุถึงอัตราการเจริญเติบโตอย่างสูง โดยอิงตัวเลข จากผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชน (Gross National Product

= GNP) และแม่แบบประเภทนี้ได ้มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน คือ การ สร ้างความรุ่งเรืองโดยผนวกระบบเศรษฐกิจภายในประเทศเข ้ากับ ระบบเศรษฐกิจของโลก แต่ในความเป็นจริงแล ้ว การบรรลุเป้า หมายเกี่ยวกับอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในระดับสูง คือ ความมั่งคั่งบางส่วนซ ึ่งเป็นคนส่วนน ้อยของสังคม การเจริญ เติบโตทางสังคมเศรษฐกิจในลักษณะนี้ได ้ขยายตัวควบคู่กับการ เพิ่มความขัดแย ้ง และความแตกต่างในสังคม จากนัยแห่งการ พัฒนาของไทยในกระแสโลกาภิวัตน์นี้ได ้สะท ้อนให ้เห็นความ เสื่อมโทรมของสิ่งแวดล ้อม การขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมบน ความสูญเสียของวิถีเกษตรกรรม การกระจายรายได ้และความ

(2)

มั่งคั่ง มีความไม่เป็นธรรมมากขึ้นทุกที การที่เอกชนมีอำานาจและ เป็นอิสระจากกฎระเบียบมากขึ้น การวางแผนการพัฒนาเกี่ยว กับนโยบายเศรษฐกิจมีบทบาทน ้อยลง ลักษณะเหล่านี้เป็นได ้ทั้ง เสริมโอกาสที่มีอยู่ให ้ขยายตัวมากขึ้น เช่น มีอาชีพใหม่ๆ และลด โอกาสที่มีอยู่น ้อยให ้น ้อยลงอีก เช่น มีคนจนเพิ่มขึ้น เหล่า มิจฉาชีพรูปแบบใหม่ๆ ซ ึ่งเกิดจากความยากจน ซ ึ่งกล่าวรวมๆ แล ้ว คือ สายพันธุ์ใหม่ทางเศรษฐกิจ สังคมสายพันธุ์ใหม่ที่จะสร ้าง ปรากฎการณ์ในสังคมโลกอย่างทั่วถึงที่กระแสโลกาภิวัตน์ไหล ลบ่าไปถึง หากจะให ้ไทยเราสามารถดำารงอยู่ได ้นั้น จำาเป็น ต ้องปรับตัวเพื่อรับกระแสที่มีความกดดันหลายอย่าง ซ ึ่งเป็นปฐม เหตุของความแปลกแยก ซ ึ่งกล่าวได ้ว่า ความแปลกแยกที่สืบ เนื่องจากสายพันธุ์ใหม่นั่นเองประกอบด ้วย

1. ความแปลกแยกด้านแรงงาน สายพันธุ์ใหม่ของ กระแสโลกาภ ิวัตน์นี้ ได ้นำาประเทศต่างๆ โดยเฉพาะในกลุ่ม ประเทศด ้อยพัฒนา มีแนวโน ้มขยายตัวทางภาคธุรกิจอุตสาหกรรม อย่างต่อเนื่องภายใต ้แรงกดจากเงื่อนไขต่างๆ ของบริบทโลกแห่ง ยุคปัจจุบัน ส่งผลให ้แรงงานภาคเกษตรกรรมลดลง และมักเป็น แรงงานผู ้สูงอายุ เนื่องจากขาดแรงจูงใจในอาชีพเกษตรกรรม แต่

ในทางกลับกันแรงงานในภาคอุตสาหกรรมซึ่งเป็นคนหนุ่มสาวเพิ่ม ขึ้น นี่คือความแปลกแยกของแรงงานไทย วิถีการดำารงชีพที่ใช ้วิธี

การหลายรูปแบบ (สงเคราะห์) กล่าวคือ ปลูกข ้าว ผัก เลี้ยงสัตว์

ทอผ ้า เพื่อยังช ีพในครัวเรือน หรือซ ื้อขายภายในชุมชน ใน ลักษณะนี้ครัวเรือนหรือชุมชนเป็นฐานการผลิต คนในชุมชนเรียนรู ้ วิชาชีพเพื่อยังชีพตามสภาพแวดล ้อมของธรรมชาติ ในประเด็น ฐานการผลิตอยู่ในครัวเรือนนี้เป็นการสร ้างความเข ้มแข็งในชุมชน นั่นเอง ได ้ทั้งมิติเศรษฐกิจและมิติสังคม กล่าวคือ เศรษฐกิจพออยู่

ได ้ ชุมชนอบอุ่น นี่คือภาพชีวิตของสังคมในอดีตที่กำาลังเลือนหาย ไปกับการขยายตัวทางเศรษฐกิจแนวใหม่ ตามแม่แบบของโลก ภาพเหล่านี้ได ้สะท ้อนให ้เห็นภาพของแรงงานในภาคอุตสาหกรรม ที่ได ้แยกส่วนจากชุมชน นับเป็นการขยายตัวทางเศรษฐกิจบน ความสูญหายของวิถีชนบท

2. ค ว า ม แ ป ล ก แ ย ก ร ะ ห ว ่า ง เ ม ือ ง ก ับ ช น บ ท เนื่องจากเมืองใหญ่ได ้กลายเป็นฐานการผลิตในฐานะเป็นประเทศ บริวาร ซึ่งเชื่อมกับระบบจากภายนอก ด ้วยเหตุนี้ทำาให ้เมืองใหญ่ๆ เช่น กรุงเทพฯ ได ้กลายเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐก ิจ สังคม

(3)

การเมือง ซึ่งเป็นฐานที่มั่งคั่งกว่าเมืองที่เล็กที่มีระดับการพัฒนาทมี่

ตำ่ากว่า นี่คือความแปลกแยกระหว่างเมืองกับชนบท

หากจะกล่าวถึงการแข่งขันภายใต ้กติกาของบริบทโลก ปัจจุบันนั้น จะต ้องช ี้ประเด็นถ ึงปัจจัยช ี้ขาดด ้วย เพราะการที่

ประเทศ, หน่วยงาน, บุคคล, ที่ครอบครองเทคโนโลยีระดับสูง โดยเฉพาะไมโครชีพและซอฟแวร์ ย่อมทำาให ้ประเทศ,หน่วย งาน,บุคคลนั้นม ีศักยภาพกำาหนด,สร ้างและใช ้เทคโนโลย ี สารสนเทศ ซึ่งเปิดโอกาสให ้สามารถกุมชะตากรรมทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองในกำามือได ้ นี่คือปัจจัยช ี้ขาดแห่งโลกยุค ปัจจุบัน บนเส ้นแบ่งระหว่างผู ้แพ ้ผู ้ชนะ อนึ่งเพ ื่อให ้เข ้าใจ กระบวนการใหม่ของกระแสโลกาภิวัตน์ ต ้องพิจารณาบทบาทของ ธ น า ค า ร โ ล ก (World Bank) ก อ ง ท ุน ร ะ ห ว ่า ง ป ร ะ เ ท ศ (Enternational Monetary = FUND:IMF) และองค์การค ้า ของโลกด ้วย เนื่องจากองค์กรทั้งสามองค์กรนี้สัมพันธ์กับปัจจัย ชี้ขาดแห่งชัยชนะแทบแยกไม่ออก เพราะองค์กรระหว่างประเทศ เหล่านี้ได ้สร ้างกฎเกณฑ์ว่าด ้วยการเคลื่อนย ้ายทุน และส ินค ้าที่

อำานวยประโยชน์แก่บริษัทข ้ามชาติโดยเฉพาะองค์การค ้าโลกเป็น เสมือนรัฐบาลระดับโลกในยุคใหม่ที่กำาลังทำาให ้กฎเกณฑ์ของ ประเทศต่างๆ กลายเป็นสากล เพราะฉะนั้นมีความเป็นไปได ้ใน อนาคตอันใกล ้นี้ องค์กรที่เข ้มแข็งที่สุดมิใช่สหประชาชาติ แต่จะ เป็นองค์กรการค ้าโลกต่างหาก กลุ่มแรกที่ประสบความพ่ายแพ ้ จากปัจจัยช ี้ขาดนี้คือ กลุ่มเกษตรกรจากประเทศด ้อยพัฒนา เนื่องจากขาดโอกาสบนเวทีแห่งการแข่งขันภายใต ้กฎกติกาสากล และระบบเศรษฐกิจสารสนเทศยุคใหม่ เนื่องจากมีการพัฒนา เทคโนโลยีในระดับตำ่า ไม่สามารถแข่งขันในตลาดที่ถูกกำาหนด ด ้วยมาตรฐานคุณภาพสากลได ้

Referensi

Dokumen terkait

แนวคิด ให้อาวุธเมื่อเข้าป่าจ ับปลาต้องมีเครื่องมือ สะท้อนนโยบายของร ัฐ ผศ.ชมพู โกติรัมย์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ก็ได ้ปรากฏสู่สาธารณชนมาแล ้วสำาหรับนโยบายบริหารประเทศ พร ้อม

ว่าด้วยหน้า ใช้หน้าให้เป็น ผศ.ชมพู โกติรัมย์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม วันนี้ผู ้เขียนตั้งใจนำาเสนอบทความที่เกี่ยวกับหน ้า ท ั้งหน้าเนื้อ หน้าท ี่ หน้าธรรม ซ ึ่งทั้งหมดได