• Tidak ada hasil yang ditemukan

DEVELOPMENT OF AN ACADEMIC NETWORK MANAGEMENT MODEL IN SMALL-SIZED PRIMARY SCHOOLS UNDER THE AUTHORITY OF THE PRIMARY EDUCATION SERVICE AREA OFFICE, OFFICE OF BASIC EDUCATION

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "DEVELOPMENT OF AN ACADEMIC NETWORK MANAGEMENT MODEL IN SMALL-SIZED PRIMARY SCHOOLS UNDER THE AUTHORITY OF THE PRIMARY EDUCATION SERVICE AREA OFFICE, OFFICE OF BASIC EDUCATION"

Copied!
290
0
0

Teks penuh

การพัฒนารูปแบบการบริหารเครือข่ายความร่วมมือวิชาการโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษา. วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. การพัฒนารูปแบบการจัดการเครือข่ายวิชาการในโรงเรียนเอกชนขนาดเล็กสังกัดสำนักงานการศึกษาของรัฐ ขนาดของโรงเรียนเอกชนในสังกัดการศึกษาของรัฐและสังกัดบริการการศึกษา

แนวคิดการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนขนาดเล็ก

แนวคิดที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการ

แนวคิดที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการบริหารเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการ

แนวคิดที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการพัฒนารูปแบบ

แนวคิดที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการสร้างคู่มือ

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

งานวิจัยที่เกี่ยวข้องในประเทศ

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ทบทวนแนวทางการพัฒนาคุณภาพ โรงเรียนขนาดเล็กตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562-2565 เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2562 โดย ดร. นายสุเทพ ชิตยวงษ์ เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้มีการประชุม Video Conference โดยมีรายละเอียดดังนี้ การวิเคราะห์ข้อมูลการประเมินรูปแบบธรรมาภิบาลเครือข่ายวิชาการ โรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กโดยสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภายใต้คณะกรรมการการประถมศึกษา โดยขอความเห็นจากผู้บริหารและครูโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาส่วนกลาง สังกัดคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 30 คน ผู้วิจัยใช้การวิเคราะห์โดยการหาค่าเฉลี่ย (𝑥̅) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) โดยใช้เกณฑ์ตามแนวคิดของ บุญชม ศรีสะอาด (2553, น. 109) ) ดังนี้.

วิพากษ์รูปแบบ

หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม 4) ครูและบุคลากรส่งเสริมการมีส่วนร่วมการนิเทศแบบเพื่อนช่วย เพื่อน 5) สมาชิกเครือข่ายมีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับความ สนใจของผู้เรียน 6) สมาชิกเครือข่ายมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการประเมินผลการเรียน และการวิจัย 7) สมาชิกเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 8) สมาชิกเครือข่ายได้รับการอบรมนิเทศการเรียนการสอน 9) สมาชิกเครือข่ายสามารถจัดระบบ การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและระดับเขตพื้นที่ฯ ได้อย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง 10) สมาชิกเครือข่ายมีการน าผลการวิจัยไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ และ11) สมาชิกเครือข่ายน าผล การนิเทศการศึกษาไปใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้และจัดท ารายงาน. ผู้วิจัยได้น ารูปแบบการบริหารเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการโรงเรียนประถมศึกษา ขนาดเล็กของส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สังกัดคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน ให้ผู้บริหารและครูโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็ก ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาภาคกลาง สังกัดคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จ านวน 15 โรงเรียน จ านวน 30 คน ประเมินองค์ประกอบของรูปแบบด้านความเหมาะสม (Propriety) และด้านความเป็นไปได้. Feasibility) ดังตาราง 18.

ข้อเสนอแนะจากการวิจัย

ข้อเสนอแนะในการท าวิจัยครั้งต่อไป

ผลการทดสอบระดับชาติ O-Net ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2562

สังเคราะห์องค์ประกอบการบริหารเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการโรงเรียน

ทางด้านการศึกษา และส่งผลให้มีการตื่นตัวในการปรับโครงสร้างพื้นฐานในการ. ท างานในสถานการณ์ที่ยากล าบาก ผลลัพธ์ชี้ให้เห็นว่าสิ่งส าคัญคือต้องอ านวยความสะดวกให้. เชิงลึก 20 ครั้งได้รับการวิเคราะห์โดยใช้แบบจ าลองการสร้างเครือข่าย เครือข่ายโรงเรียนถูก รวบรวมโดยผู้เชี่ยวชาญด้าน SLE โดยแนะน าองค์ประกอบตามล าดับชั้นในการประสานงาน ผู้เชี่ยวชาญ SLE ยอมรับความตึงเครียดระหว่างเครือข่ายแนวทางในการสร้างความสัมพันธ์ใน แนวนอนและการท างานร่วมกัน และการประสานงานเครือข่ายโรงเรียนในแนวตั้งที่ไม่สามารถใช้. งานได้เพื่อสนับสนุนและดูแลโรงเรียน ในการอภิปรายเรายืนยันว่าความตึงเครียดนี้เกิดขึ้นจาก ผู้เชี่ยวชาญระดับ SLE ความคิดการประสานงานแบบรวมศูนย์ในแนวดิ่งและแบบรวมศูนย์. ระยะที่ 1 การศึกษาสภาพปัญหาและองค์ประกอบของการบริหารเครือข่ายความ ร่วมมือทางวิชาการของโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กของส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา สังกัดคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ระยะที่ 2 การพัฒนารูปแบบและทดลองรูปแบบการบริหารเครือข่ายความร่วมมือ ทางวิชาการโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กของส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สังกัด คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ระยะที่ 3 การประเมินรูปแบบการบริหารเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการโรงเรียน ประถมศึกษาขนาดเล็กของส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สังกัดคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน. ระยะที่ 4 การสร้างคู่มือและประเมินคู่มือรูปแบบการบริหารเครือข่ายความร่วมมือ ทางวิชาการโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กของส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สังกัด คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ระยะที่ 1 การศึกษาสภาพปัญหา องค์ประกอบของเครือข่าย และร่างรูปแบบเครือข่าย ความร่วมมือทางวิชาการโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กของส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา สังกัดคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. การศึกษาสภาพปัญหาการบริหารเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการโรงเรียน ประถมศึกษาขนาดเล็ก เป็นขั้นตอนศึกษาสภาพปัญหาการบริหารจัดการในโรงเรียน ประถมศึกษา ขนาดเล็ก องค์ประกอบการบริหารเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการ โดยการสัมภาษณ์ผู้บริหาร และครู. จัดท าเครื่องมือในการวิจัยซึ่งเป็นแบบสอบถามแบบประมาณค่า 5 ระดับ ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัยโดยการหาค่าความสอดคล้องของข้อค าถามและวัตถุประสงค์. IOC) และหาค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม (Reliability). การศึกษาประถมศึกษา สังกัดคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน แบบประเมินรูปแบบไปยัง ผู้บริหารและครูโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็ก ในรูปแบบ Google form.

ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม

ค่า KMO และ Bartlett’s test of Sphericity

องค์ประกอบและค่าความแปรปรวนขององค์ประกอบการบริหารเครือข่ายความร่วมมือ

ค่าน ้าหนักองค์ประกอบรายด้าน

องค์ประกอบที่ 1 นโยบายและโครงสร้างการบริหารงานวิชาการของเครือข่าย

องค์ประกอบที่ 2 ความร่วมมือของเครือข่ายในการพัฒนางานวิชาการของโรงเรียน

องค์ประกอบที่ 3 การจัดการทรัพยากรร่วมกันของเครือข่าย

องค์ประกอบที่ 4 การธ ารงรักษาเครือข่าย

องค์ประกอบที่ 5 บรรยากาศแห่งความเสมอภาคและแรงจูงใจในการท างานร่วมกันของ

องค์ประกอบที่ 6 การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการบริหารและส่งเสริมการเรียนรู้ของ

องค์ประกอบที่ 7 การระดมทรัพยากร

องค์ประกอบที่ 8 การมีส่วนร่วมของเครือข่ายในการวัดและประเมินผลผู้เรียน

องค์ประกอบที่ 9 ภาวะผู้น าทางวิชาการของผู้บริหารเครือข่าย

แสดงวิธีด าเนินการตามรูปแบบการบริหารเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการโรงเรียน

กรอบแนวคิดการวิจัย

ในการบริหารโดยใช้หลักการและทฤษฎีประยุกต์อย่างชำนาญ อาศัยภาวะผู้นำ (Leadership) มนุษยสัมพันธ์ในการบริหาร (Human Relations) และการโน้มน้าวใจให้ผสมผสานเพื่อปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ 5) การประสานงาน หมายถึง การประสานงานเพื่อสร้างความสัมพันธ์

รูปแบบการสื่อสาร

ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป โดยมีวัตถุประสงค์ในการทำงานร่วมกัน คือ เพื่อใช้ทรัพยากรเพื่อพัฒนา พัฒนา การเรียนรู้ ให้เกิดผลดีและมีประสิทธิภาพให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่นักเรียนซึ่งเป็นผลผลิตของสถานศึกษาเป็นสำคัญ และใน การบริหารงานวิชาการ ผู้บริหารต้องใช้ภาวะผู้นำ และใช้ภาวะผู้นำแบบมีส่วนร่วมเพื่อร่วมกันพัฒนางานให้สอดคล้องกับพันธกิจและขอบเขตของงานวิชาการ เช่น การพัฒนาและการใช้หลักสูตร การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ส่งเสริมกิจกรรมวิชาการ การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ การใช้สื่อ อุปกรณ์ในการนิเทศการจัดการเรียนการสอน การติดตาม รวมทั้งการวัดและประเมินผลที่สอดคล้องกับหลักการบริหารและทฤษฎี จาก Gulick & Urwick ประถมศึกษา สังกัด แบบประเมินคู่มือคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานสำหรับผู้บริหารและผู้เชี่ยวชาญในรูปแบบ Google ฟอร์ม

แบบแผนการเกิดภาพประกอบเครือข่าย (Pattern of network)

รูปแบบการสื่อสาร

ลักษณะการเชื่อมโยงของเครือข่ายความร่วมมือ

ส าหรับแนวคิดกระบวนการบริหารของ Gulick & Urwick, (1973) ได้เสนอแนวคิด เชิงกระบวนการบริหารว่ามี 7 ขั้นตอน โดยใช้อักษรย่อว่า POSDCORB ได้แก่ การวางแผน (Planning) การจัดองค์กร (Organizing) การจัดคนเข้าท างาน (Staffing) การก ากับงาน (Directing) การประสานงาน (Coordinating) การประเมินงาน (Reporting) และการงบประมาณ (Budgeting) ส่วน Kast & Rosenzweig, (1988) ได้ระบุภารกิจของการบริหาร (The Management Task) ประกอบด้วย การก าหนดเป้าหมาย (Goal Setting) การวางแผน (Planning) การจัด ทรัพยากร (Assembling Resources) การจัดองค์กร (Organizing) การปฏิบัติงาน (Implementing) และการควบคุม (Controlling) นอกจากนี้ Kreitner, (1998) กล่าวถึงหน้าที่การบริหาร ได้แก่ การ วางแผน (Planning) การตัดสินใจ (Decision Marking) การจัดองค์กร (Organizing) การจัดคน เข้าท างาน (Staffing) การสื่อสาร (Communication) การจูงใจ (Motivating) การน า (Leading) และการควบคุม (Controlling). าของ ผู้อ านวยการ สถานศึกษาในการใช้กระบวนการและเทคนิคการท างานในการบริหารทรัพยากรในด้านต่าง ๆ ได้แก่ การบริหารงานด้านวิชาการ การบริหารงานด้านงบประมาณ การบริหารงานด้าน บริหารงาน บุคคล และการบริหารงานด้านบริหารทั่วไป ของเครือข่ายความร่วมมือสถานศึกษา เพื่อพัฒนา งานด้านวิชาการของสถานศึกษา ให้บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ โดยกระบวนการบริหารเครือข่าย ด้านวิชาการระหว่างสถานศึกษา ประกอบด้วย 1) การวางแผนการบริหารเครือข่าย 2) การจัด โครงสร้างเครือข่าย 3) การด าเนินงานการบริหารเครือข่าย และ 4) ประเมินผลการด าเนินงาน เครือข่าย. การวิเคราะห์ข้อมูลการประเมินคู่มือรูปแบบการบริหารเครือข่ายความร่วมมือทาง วิชาการโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กของส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สังกัด คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยการสอบถามความคิดเห็นผู้บริหารและครูโรงเรียน ประถมศึกษาขนาดเล็ก ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภาคกลาง สังกัดคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน จ านวน 9 คน ผู้วิจัยใช้การวิเคราะห์โดยการหาค่าเฉลี่ย (𝑥̅) และส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) โดยใช้เกณฑ์ตามแนวคิด ของบุญชม ศรีสะอาด (2553, น. 109) ดังนี้.

โมเดลการวัดองค์ประกอบเชิงยืนยัน (อันดับสอง) ของการพัฒนารูปแบบการ

Referensi

Dokumen terkait

Figure 2 Mediating Effect FINDINGS Profile of Respondents This study involved a total of 642 Islamic education teachers from 112 primary schools in five states represented by the