• Tidak ada hasil yang ditemukan

THE DEVELOPMENT OF A PROGRAM FOR ENHANCING COMPETENCY IN DEALING WITH AN RECREATIONAL PROGRAM FOR STUDENT LEADERS OF RAJAMANGALA UNIVERSITY OF TECHNOLOGY IN THE CENTRAL REGION

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "THE DEVELOPMENT OF A PROGRAM FOR ENHANCING COMPETENCY IN DEALING WITH AN RECREATIONAL PROGRAM FOR STUDENT LEADERS OF RAJAMANGALA UNIVERSITY OF TECHNOLOGY IN THE CENTRAL REGION"

Copied!
410
0
0

Teks penuh

In the first phase, the population of the study included 712 stakeholders in RMUT in the central region. The results of the research were as follows: (1) when the needs in the development of competences in the organization of a leisure program were analyzed and ranked in all four areas, it was found that the highest PNI values ​​in this study were the needs in the development of recreational programs is. (PNI = 0.12), followed by recreation program utilization, recreation program planning and recreation program readiness assessment, respectively; (2) a program; (2.1) the components of the program consisted of a learning unit of eight weeks, with learning content on the competence in recreation program management; (2.2) the results of the program experiment showed that the experimental group had higher knowledge, skills, attitudes and performance than before participating in the program.

แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาโปรแกรมนันทนาการ

ความหมายและความส าคัญของ โปรแกรมนันทนาการ

หลักการจัดโปรแกรมนันทนาการ

ทฤษฎีเกี่ยวกับการสร้างโปรแกรมด้วย APIE

แนวคิดและทฤษฎีการออกแบบโปรแกรมนันทนาการ

แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับนันทนาการ

ความหมายของนันทนาการ

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับนันทนาการ

ความส าคัญของนันทนาการ

ลักษณะของนันทนาการ

ประเภทของกิจกรรมนันทนาการ

ประโยชน์และคุณค่าของนันทนาการ

แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับสมรรถนะผู้น านันทนาการ

  • ความหมายของผู้น านันทนาการ
  • คุณลักษณะของผู้น านันทนาการ
  • ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับผู้น านันทนาการ
  • สมรรถนะผู้น านันทนาการ
  • สมรรถนะผู้น านันทนาการ ด้านการจัดโปรแกรม

Rossman และ Mckinney (2000) กล่าวถึงหลักการทำงานอย่างมืออาชีพ การจัดโปรแกรมนันทนาการ นันทนาการประกอบด้วยองค์ประกอบ 4 ส่วน ได้แก่ การประเมิน การวางแผนโปรแกรมนันทนาการ การดำเนินโปรแกรมนันทนาการ การประเมินโปรแกรมสันทนาการ โดยมีรายละเอียดดังนี้

แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับนันทนาการในสถานศึกษา

นันทนาการในสถานศึกษา

คุณค่าและประโยชน์ของนันทนาการในสถานศึกษา

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

ข้อมูลเกี่ยวกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

Rossman และ Schlatter (2015) ได้ประยุกต์แนวคิดและทฤษฎีการออกแบบ โปรแกรมนันทนาการของ Goffman และ Denzin (1975) เป็นองค์ประกอบหลักในการจัดโปรแกรมนันทนาการ เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโปรแกรมนันทนาการ ซึ่งมี 6 องค์ประกอบ ประกอบด้วย

กิจกรรมนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

ผู้น านักศึกษา ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

งานวิจัยในประเทศ

งานวิจัยต่างประเทศ

ตอนที่ 1.2 สภาพที่เป็นอยู่ในปัจจุบันเกี่ยวกับระดับสมรรถนะด้านการจัดโปรแกรมนันทนาการของผู้น านักศึกษา และความต้องการจ การพัฒนาสมรรถนะด้านการจัดโปรแกรมนันทนาการส าหรับผู้น านักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลในเขตภาคกลาง ตาราง 5 ผลการวิเคราะห์สภาพที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน และความต้องการจ าเป็นในการพัฒนาสมรรถนะด้านการจัดโปรแกรมนันทนาการส าหรับผู้น านัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลในเขตภาคกลาง ด้านการประเมินความพร้อมของโปรแกรมนันทนาการ (Assessment) (n = 712) จากตาราง5 พบว่า ระดับสมรรถนะ ในด้านการประเมินความพร้อมของโปรแกรมนันทนาการ สภาพที่เป็นอยู่ปัจจุบันโดยรวมอยู่ในระดับปาน (M = 3.45, S.D. = 0.96) สภาพที่ควรจะเป็นอยู่ในระดับมาก (M = 3.75, S.D. = 0.98) เมื่อเรียงตามล าดับความส าคัญ ล าดับที่ 1 ได้แก่ความสา การประเมินความต้องการกิจกรรมนันทนาการ ของประชากรกลุ่มเป้าหมาย (การประเมินรายบุคคล การประเมินรายกลุ่ม) (PNImodified= 0.09) ล ได้แก่ความสามารถในการประเมินทรัพยากรได้ (เช่น วัสดุ อุปกรณ์ สถานที่ รวมถึงงบประมาณ) (PNImodified= 0.08) ตามล าดับ. จากตาราง6 พบว่า ระดับสมรรถนะ ในด้านการวางแผนโปรแกรมนันทนาการ สภาพที่เป็นอยู่ปัจจุบันโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง(M= S.D. = 0.94) สภาพที่ควรจะเป็นอยู่ในระดับมาก (M= 3.82, S.D. = 0.85) เมื่อเรียงตามล าดับความส าคัญ ล าดับที่ 1 ได้แก่ ความสามารถในการ วัตถุประสงค์ และเป้าประสงค์ของการจัดโปรแกรมนันทนาการ และความสามารถในการประสานงานด้านกิจกรรม และด้านการบริการกับหน่วยง (PNImodified= 0.10) ล าดับที่ 2 ได้แก่ ความสามารถในการเลือกรูปแบบโปรแกรมนันทนาการ และก าหนดเนื้อหากิจกรรมตามวัตถุประสงค์และต ต้องการของประชากรกลุ่มเป้าหมาย, ความสามารถในการสามารถจัดท าแผนการด าเนินงานและการสร้างตารางเวลากิจกรรมรวมถึงการประเมิน ความสามารถในการปฐมนิเทศผู้เข้าร่วมโปรแกรมนันทนาการและการประเมินความเสี่ยงในการจัดกิจกรรมนันทนาการ (PNImodified= 0.09) และล า ได้แก่ความสามารถในการวิเคราะห์กิจกรรมส าหรับการจัดโปรแกรมนันทนาการ (PNImodified= 0.07) ตามล าดับ. รูปแบบและกระบวนการจัดโปรแกรม เหมาะสมและสามารถน าไปใช้ได้จริง 5.00 0.00 ผ่าน.

เว็บไซต์โปรแกรมสะอาดและเหมาะสมกับโปรแกรมมากน้อยเพียงใด 5.00 0.00 ส.ค.ส. มีค่าใช้จ่ายเท่าไร? เท่าไหร่จึงจะเหมาะสมในการอบรมแต่ละครั้ง 5.00 0.00 สร.เท่าไหร่? ในการอบรมทุกครั้งให้เข้าใจง่าย 5.00 0.00 ส4. เท่าไหร่.

หลักเกณฑ์ แนวทาง และข้อตกลงในการเข้าร่วมโปรแกรม การฝึกอบรมแต่ละครั้งมีส่วนช่วยในการพัฒนาความรู้ความสามารถของคุณในการจัดโปรแกรมสันทนาการให้คุณได้มากน้อยเพียงใด? การไหลของกิจกรรม และไม่มีอุปสรรคระหว่างกิจกรรม เท่าไหร่ 5.00 0.00 มากที่สุด จำเป็นต้องพัฒนาความสามารถในการจัดโครงการนันทนาการสำหรับผู้นำนักศึกษาใน 4 ด้าน ผู้นำนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลภาคกลางมีความต้องการสูง จำเป็นต้องมีการพัฒนาความสามารถในการจัดโปรแกรมนันทนาการในด้านการประเมินโปรแกรมนันทนาการสูงสุด (PNImodified = 0.12) รองลงมาคือด้านการดำเนินโปรแกรมนันทนาการ (PNImodified = 0.11) ด้านการวางแผนโปรแกรมนันทนาการและการประเมิน ความพร้อมของโปรแกรมนันทนาการ (PNI modified = 0.09) ตามลำดับ

Referensi

Dokumen terkait

ANNOTATION For the master's thesis on the theme: " Perfection of a control system by innovative activity of the enterprises in conditions of investment development of region" In