• Tidak ada hasil yang ditemukan

PDF Nora's the southern life - Silpakorn University

N/A
N/A
Nguyễn Gia Hào

Academic year: 2023

Membagikan "PDF Nora's the southern life - Silpakorn University"

Copied!
85
0
0

Teks penuh

(1)

โนราและวิถีชีวิต

(Nora’s the southern life)

โดย

นายธีระยุทธ พรมดี

ศิลปนิพนธฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปบัณฑิต ภาควิชาศิลปไทย

คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2552

(2)

Nora’s the southern life

By

Mr. Teerayut Promdee

A Thesis Submitted in Partial of the Requirements for the Degree Bachelor of Fine Art (B.F.A.)

Department of Thai Art,

THE FACULTY OF PAINTING SCULPTURE AND GRAPHIC ARTS SILPAKORN UNIVERSITY

2009

(3)

คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัย ศิลปากร อนุมัติใหนับเอกสาร ศิลปนิพนธฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตา มหลักสูตรปริญญาศิลปบัณฑิต สาขาวิชาศิลป ไทย

...

( รองศาสตราจารยปริญญา ตันติสุข ) คณบดีคณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ

.../.../...

คณะกรรมการตรวจศิลปนิพนธ...ประธานกรรมการ ( ศาสตราจารยชลูด นิ่มเสมอ )

.../.../...

...กรรมการ ( รองศาสตราจารยปริญญา ตันติสุข )

.../.../...

...กรรมการ ( อาจารยธงชัย ศรีสุขประเสริฐ )

.../.../...

...กรรมการ ( อาจารยสาครินทร เครือออน )

.../.../...

...กรรมการและเรขานุการ ( ผูชวยศาสตราจารยวิรัญญา ดวงรัตน )

.../.../...

ผูควบคุมศิลปนิพนธ ...

( อาจารยธงชัย ศรีสุขประเสริฐ ) .../.../...

(4)

หัวขอศิลปนิพนธ โนรา และวิถีชีวิต ชื่อนักศึกษา นายธีระยุทธ พรมดี

สาขาวิชา ศิลปไทย

ภาควิชา ศิลปไทย ปการศึกษา 2552

บทคัดยอ

การสรางสรรคผลงานศิลปนิพนธภายใตหัวขอ “โนราและวิถีชีวิต”เปนการศึกษาคนควา เพื่อแสดงออกทางทัศนศิลป โดยมีที่มาจากการแสดงโนรา ซึ่งเปนศิลปวัฒนธรรมที่มีเอกลักษณพื้น ถิ่นภาคใต และที่สําคั ญโนราเกี่ยวของผูกพันกับครอบครัวของขาพเจาโดยตรงจึงไดนําเอาแรง บันดาลใจจากวิถีชีวิตครอบครัวที่กลมกลืนกับวิถีโนรามาแสดงออกในลักษณะของการผสมผสาน ระหวางรูปราง รูปทรงธรรมชาติกับลวดลายผา เครื่องแตงกายโนรา เพื่อแสดงความคิด อารมณ

และความรูสึก รวมถึงจิตวิญญาณ ดวยทวงทีลีลาจากความเคลื่อนไหวในลวดลายและการใชสีใน เชิงของจิตรกรรมแนวประเพณีไทย

(5)

Thesis TiTle Nora’s the southern life Name Mr.Teerayut Promdee Concentration Thai art

Department Thai art Academic Year 2009

Abstract

I create art under the topic “Norah’s the southern life”. It is the study to express in the artistic way which comes from “Norah”, is the traditional performance of the southern. And it is directly connected to the relationship among my family life which is intimate with “Norah” to express in the well blended way in figure, natural shape and the texture of the dress of Norah to express thought emotion and feeling including spirit though the style of the movement in the design and the use of color in the Thai traditional painting.

(6)

กิตติกรรมประกาศ

ผลงานศิลปะนิพนธ “โนราและวิถีชีวิต ” เปนผลงานที่จําเปนตองอาศัยขอมูลและ สวนประกอบที่สําคัญตางๆซึ่งไดรับอนุเคราะหจากบุคคลหลายทานทั้ง ญาติ ครอบครัวที่ใหความ เมตตาเอื้อเฟอขอมูลที่มีความสําคัญสําหรับการทําศิลปะนิพนธชิ้นนี้

อาจารย ธงชัย ศรีสุขประเสริฐ อาจารยที่ปรึกษาโครงการศิลปะนิพนธ ศาตราจารย ชลูด นิ่มเสมอและคณาจารยทุกทานอีกทั้งครูบาอาจารย พอแก ครูโนรา ผูซึ่งประสิทธประศาสนวิชา ความรูความเขาใจในงานศิลปะทั้งในดานทฤษฎีและปฎิบัติ

โดยเฉพาะอยางยิ่ง คุณพอ คุณแม ที่ใหความอนุเคราะหในเรื่องทุนทรัพย และกําลังใจใน การทํางานและญาติมิตรสหายทุกคนผูเปนกําลังใจและใหความชวยเหลือในทุกๆดานรวมทั้งผูให

ความอนุเคราะหทานอื่นๆที่ไดกลาวมา ณ ที่นี้ดวย

(7)

คํานํา

เอกสารฉบับนี้เปนสวนประกอบของผลงานศิลปะนิพนธ สาขาจิตรกรรมไทย ปการศึกษา 2552ของคณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยวัตถุประสงคใน การเขียนเพื่ออธิบายขั้นตอนกระบวนก ารทํางานการสรางสรรคผลงานศิลปะนิพนธ ตามหัวขอ โนราและวิถีชีวิต ตั้งแตขั้นตอนการศึกษาหาแรงบันดาลใจ การคิดวิเคราะหรวบรวมขอมูลและ ขั้นตอนในการแสดงออกในผลงาน การแกปญหาและการพัฒนาผลงานโดยคาดหวังวาจะเกิด ประโยชนตอผูสนใจศึกษาศิลปะทั่วไป

(8)

สารบัญ

หนา

บทคัดยอภาษาไทย……….ง บทคัดยอภาษาอังกฤษ………จ กิตติกรรมประกาศ………...ฉ คํานํา………...ช สารบัญรูปภาพ………..ญ บทที่

1 บทนํา……….1

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา……….1

วัตถุประสงคของการสรางสรรค………....2

แนวความคิดในการสรางสรรค………..2

ขอบเขตในการสรางสรรค………...3

แหลงขอมูลในการสรางสรรค………...3

อุปกรณที่ใชในการทําศิลปนิพนธ………..3

2. ขอมูลเกี่ยวกับการสรางสรรค………....4

ที่มาของแนวความคิดและแรงบันดาลใจ……….…..4

ขอมูลเบื้องตนของการแสดงโนราที่ใหอิทธิพลตอการสรางสรรค………....4

อิทธิพลจากสภาพสังคมปจจุบันที่มีตอแนวความคิด……….9

อิทธิพลที่ไดรับจากทฤษฎีลวดลายประดิษฐ………...10

3 การพัฒนากระบวนการสรางสรรค……….. 30

ขั้นตอนการสรางสรรค………....30

แหลงขอมูล………..30

วิเคราะหขอมูล………...30

การรางแบบสเกต………...31

การปฏิบัติงานจริง………....31

ทัศนธาตุที่ใชในการสรางอารมณ………31

4 การสรางสรรคและพัฒนางานศิลปะนิพนธ………...42

การสรางสรรคผลงานระยะกอนศิลปะนิพนธ………...42

ปญหาในการสรางสรรคผลงานระยะกอนศิลปะนิพนธ……….…..42 ซ

(9)

ผลงานระยะศิลปะนิพนธ……….. 43

ผลงานระยะศิลปนิพนธ ชิ้นที่ 1………...………...…. 43

ผลงานระยะศิลปนิพนธ ชิ้นที่ 2………... .44

ปญหาในการสรางสรรคงานระยะศิลปะนิพนธ……….…. .44

5. สรุปผลงาน………... .... 72

ภาพประกอบศิลปะนิพนธ……….…... 11

ภาพผลงานกอนศิลปะนิพนธ………..….. 45

ภาพผลงานศิลปะนิพนธ………... . 45

บรรณานุกรม……….... 73

ประวัติการศึกษา……….. 74

(10)

สารบัญภาพ

ภาพที่ หนา

1. ภาพขอมูลเกี่ยวกับการสรางสรรค………..11

2. ภาพขอมูลเกี่ยวกับการสรางสรรค...12

3. ภาพขอมูลเกี่ยวกับการสรางสรรค………..13

4. ภาพขอมูลเกี่ยวกับการสรางสรรค...14

5. ภาพขอมูลเกี่ยวกับการสรางสรรค………..15

6. ภาพขอมูลเกี่ยวกับการสรางสรรค………..16

7. ภาพขอมูลเกี่ยวกับการสรางสรรค………..17

8. ภาพขอมูลเกี่ยวกับการสรางสรรค………..18

9. ภาพขอมูลเกี่ยวกับการสรางสรรค………..19

10. ภาพขอมูลเกี่ยวกับการสรางสรรค………..20

11. ภาพขอมูลเกี่ยวกับการสรางสรรค………..21

12. ภาพขอมูลเกี่ยวกับการสรางสรรค……….22

13. ภาพขอมูลเกี่ยวกับการสรางสรรค……….23

14. ภาพขอมูลเกี่ยวกับการสรางสรรค...24

15. ภาพขอมูลเกี่ยวกับการสรางสรรค...25

16. ภาพขอมูลเกี่ยวกับการสรางสรรค……….26

17. ภาพขอมูลเกี่ยวกับการสรางสรรค……….27

18. ภาพขอมูลเกี่ยวกับการสรางสรรค……….28

19. อุปกรณในการสรางสรรค……….32

20. อุปกรณในการสรางสรรค………...33

21. ภาพราง………...34

22. ภาพราง...35

23. ขั้นตอนการเตรียมพื้น………..36

24. ขั้นตอนการสรางสรรค………...37

25. ขั้นตอนการสรางสรรค………....38

26. ขั้นตอนการสรางสรรค………...39

(11)

หนา

27. ขั้นตอนการสรางสรรค………...…...40

28. ขั้นตอนการสรางสรรค………...41

29. ผลงานระยะแรกชิ้นที่ 1………...45

30. รายละเอียดของผลงานระยะแรกชิ้นที่ 1………46

31. รายละเอียดของผลงานระยะแรกชิ้นที่ 1... ………...47

32. รายละเอียดของผลงานระยะแรกชิ้นที่ 1………48

33. ผลงานระยะแรกชิ้นที่ 2……….... 49

34. รายละเอียดผลงานระยะแรกชิ้นที่ 2………..50

35. รายละเอียดผลงานระยะแรกชิ้นที่ 2………..51

36. รายละเอียดผลงานระยะแรกชิ้นที่ 2………..52

37. ผลงานระยะแรกชิ้นที่ 3………...53

38. ผลงานกอนศิลปนิพนธชิ้นที่ 1………...54

39. รายละเอียดผลงานกอนศิลปนิพนธชิ้นที่ 1………...55

40. รายละเอียดผลงานกอนศิลปนิพนธชิ้นที่ 1………...56

41. ผลงานกอนศิลปนิพนธชิ้นที่ 2………...57

42. รายละเอียดผลงานกอนศิลปนิพนธชิ้นที่ 2...58

43. รายละเอียดผลงานกอนศิลปนิพนธชิ้นที่ 2………...59

44. รายละเอียดผลงานกอนศิลปนิพนธชิ้นที่ 2………...60

45. ผลงานกอนศิลปนิพนธชิ้นที่ 3………...61

46. รายละเอียดผลงานกอนศิลปนิพนธชิ้นที่ 3...62

47. ผลงานกอนศิลปนิพนธชิ้นที่ 4………...63

48. ผลงานศิลปนิพนธชิ้นที่ 1………....64

49. รายละเอียดผลงานศิลปนิพนธชิ้นที่ 1………..65

50. รายละเอียดผลงานศิลปนิพนธชิ้นที่ 1………..66

51. รายละเอียดผลงานศิลปนิพนธชิ้นที่ 1………..67

52. ผลงานศิลปนิพนธชิ้นที่ 2………68

53 รายละเอียดผลงานศิลปนิพนธชิ้นที่ 1……….69

54. รายละเอียดผลงานศิลปนิพนธชิ้นที่ 1……….70

55. รายละเอียดผลงานศิลปนิพนธชิ้นที่ 1……….71 ฎ

(12)

บทที่ 1

บทนํา

วิถีชีวิตของคนไทยในอดีตมีการรองรําทําเพลงและระบํารําเตนเพื่อการบันเทิงและแสดง พิธีกรรมเปนจุดเริ่มตนในการพัฒนาจนเกิดเปนนาฏศิลปขึ้นไมวาจะเปนภาคใดก็ตามในแตละยุค สมัยบทบาทของนาฏศิลปในดานพิธีกรรมเปนปจจัยหลักที่สนับสนุนให เกิดวิวัฒนาการนาฏกรรม ไทยตลอด7รัชกาล ซึ่ง ในทุกพื้นถิ่นมีพัฒนาการและมีวิวัฒนาการที่ดีมาตลอด ซึ่งก็รวมไปถึงถึง โนรา ของภาคใตดวยจึงพูดไดวาโนราคือ ศิลปะการแสดงดั้งเดิมและเปนศิลปะประเพณีที่มีแบบ แผนของภาคใตโดยแทจริง โนราเปนมหรสพพื้นบานภาคใต มีขนบนิยมในก ารแสดงและสืบถอด ตอกันมาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน ลักษณะการแสดงโนราประกอบดวย การรํา การรองการแสดง เปนเรื่องราวและการรํา ที่ถือวามีความสําคัญอยางยิ่งและมีเอกลักษณทางศิลปะอยางหนึ่งของโนรา ปจจุบันบทบาทของโนรานั้น เคยแสดงเพื่อประกอบพิธีกรรมที่สํา คัญเปลี่ยนแปรไปมีการ จัดแสดงเพื่อสรางความบันเทิงแกชุมชนมากขึ้น พิธีกรรมและคตินิยมที่เคยยึดมั่น จึงคอยๆสูญ หายไปอาจเนื่องมาจากผลกระทบทางสังคม เศรษฐกิจและวัฒนธรรมที่สงผลตออิทธิพลของโนรา อยางรวดเร็วและนั่นเองที่ทําใหขาพเจา สะเทือนใจนํามาเปนแรงบันดาลใจที่ จะสรางสรรคผลงาน ตามความรูสึกนึกคิด ผานงานจิตรกรรมไทยแนวประเพณีไทย

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

การแสดงโนราของชาวจังหวัดภาคใตนั้น เกิดขึ้นมานานแลว และมีลักษณะการแสดง คลายคลึงกับการแสดงของพมาและชวา ซึ่งตางก็เลนตามตําราของอินเดีย คือ ใชผูชา ยแสดงลวน เพียง 3 คน คือ นายโรง หรือตัวพระ,ตัวนาง และตัวจําอวด ฉะนั้นทฤษฎีความเปนมาของโนราจึง เกิดเปนปญหาวา โนราที่แทจริงนั้นจะรับแบบแผนมาจากอินเดียโดยตรงหรือไม หรือ อาจจะรับผาน มาทางชวา ซึ่งปญหาก็คือการที่ในยุคปจจุบันไมคอยมีใครเขาจะสนใจเพราะการแสด งโนรานั้นไม

คอยจะมีโอกาสที่จะแสดงไดเหมือนกับเมื่อกอนและนี้คืออีกสาเหตุหนึ่งที่ทําใหชาวบานลืมการ แสดงมโนราแตมันอาจเกิดขึ้นเพราะวาเกี่ยวกับเศรษฐกิจและสังคมที่มีบทบาทที่ทําใหชาวบานและ

(13)

2

คนในชนบทเปลี่ยนความตองการที่จะดูโนรากลับไมสนใจกอเพราะวามีสิ่งใหมที่ดึงดูดไดดีกวาและ ถาจะพูดถึงในทางดานของศิลปะยิ่งไมมีเลยจึงมีความจําเปนที่จะตองทําใหศิลปะการแสดงโนรา กลับมาอีกโดยผานทางงานศิลปะที่มีรูปแบบของโนราและความกลิ่นอายของวัฒนธรรมพื้นบาน ภาคใตอยางเต็มที่มันจะสอดคลองกันทั้งในทางของรูปแบบเนื้อหาสาระความสําคัญของงานศิลปะ และความสําคัญของตัวโนราจริงๆ

วัตถุประสงคของการสรางสรรค

1.เพื่อศึกษาความเปนมาของโนราโดยจะแสดงออกมาในลักษณะของการผสมผสานกัน ระหวางรูปทรงทัศนธาตุกับความเชื่อพิธีกรรม

2. เพื่อจะไดสรางสรรคผลงานทัศนศิลปที่มีแนวคิดที่มาจากรูปแบบศิลปะพื้นบานการรํา โนรา

3. เพื่อจะไดเสนอความงามทางความเชื่อและพิธีกรรมตางๆของโนราในรูปแบบของงาน จิตรกรรม

แนวความคิดในการสรางสรรค

การสรางสรรคผลงานศิลปะนิพนธ ภายใตหัวขอ "โนราและวิถีชีวิต" เปนการศึกษาคนควา เพื่อแสดงออกทางทัศนศิลป โดยมีที่มาจากการแสดงโนรา ซึ่งเปนศิลปวัฒนธรรมที่มีเอกลักษณพื้น ถิ่นภาคใต และที่สําคัญโนราเกี่ยวของผูกพันกับครอบครัวของขาพเจาโดยตรง จึงไดนําเอาความ บันดาลใจในวิถีชีวิตครอบครัวที่กลมกลืนกับวิถีโนรามาแสดงออกในลักษณะของการผสมผสาน ระหวางรูปราง รูปทรงธรรมชาติกับลวดลายผา เครื่องแตงกายโนรา เพื่อแสดงความคิด อารมณและ ความรูสึก รวมถึงจิตวิญญาณ ดวยทวงทีลีลาจากความเคลื่อนไหวในลวดลายและการใชสีในเชิงของ จิตรกรรมแนวประเพณีไทย

(14)

3

ขอบเขต

- เนื้อหาสาระเปนเรื่องราวจากรูปลักษณโนราประเพณีพื้นบานไทยภาคไต

- รูปแบบเปนงานจิตรกรรมแนวประเพณีไทย

เวลาที่ใชในการทําศิลปนิพนธ

ภาคการศึกษา ปลาย ประจําปการศึกษา 2552 แหลงขอมูล

1.ศึกษา สังเกต และบันทึกตามสถานที่บาน 2.หอสมุดแหงชาติ

3.หองสมุดมหาวิทยาลัยศิลปากร

อุปกรณที่ใชในการทําศิลปะนิพนธ

-สีอะคริลิค -พูกัน -กาวลาเท็กซ -แปรงทาสี -ผาใบ

คาใชจายในการทําศิลปะนิพนธ

20,000 บาท (สองหมื่นบาทถวน)

(15)

บทที่ 2

ขอมูลเกี่ยวกับการสรางสรรค

ที่มาของแนวความคิดและแรงบันดาลใจ

โดยครอบครัวของขาพเจานั้นเปนครอบครัวของโนราขาพเจาจึงมีความผูกพันตั้งแตเด็ก โดยแมของขาพเจาเองเปนคนสืบทอดศิลปะการแสดงจึงรูสึกถึงความงดงามของลีลาทาทางแสงสีที่

สวยงามสิ่งเหล านี้เองที่หลอหลอมใหรับรูถึง ความรัก ความอบอุน ความหวงใยของคนใน ครอบครัวที่มีตอขาพเจาซึ่งเปนความผูกพันที่งดงามและงอกงามจนไมสามารถแยกกันได ดูอบอุน และลึกซึ้งจนไมสามารถบอกมาเปนคําพูดไดมากมายได การสรางสรรคงานจึงใชวิถีชีวิตความเปน จริงของครอบ ครัวที่เปนสายเลือดโนราและหัตกรรมพื้นบานลายผาปะเตะมาเปนรูปแบบในการ สรางสรรค โดยใชทัศนธาตุเปนตัวสรางรูปแบบใหเกิดความสมบรูณและสามารถแสดงออกถึง อารมณใหรูสึกถึงพิธีกรรมของโนราอันพิธีที่แสดงออก ถึงสายใย ความรัก ความผูกพันของ ครอบครัวทั้งคนที่ยังอยูและลวงลับไปแลว เพราะฉะนั้นการแสดงออกถึงความรูสึกที่สอดคลองกัน ระหวางเนื้อหา รูปแบบ เทคนิควิธีการมีความสัมพันธจึงสามารถพัฒนาออกมาเปนงานสองมิติได

ขอมูลเบื้องตนของการแสดงโนราที่ใหอิทธิพลตอการสรางสรรค

องคประกอบหลักของการแสดงโนรา

องคประกอบหลายอยางที่ทําใหเคยแรงบันดาลใจตั้งการไดดูไดเห็นตั้งแตยังเด็กรวมถึง ความใกลชิด สิ่งเหลานี้จึงทําใหเกิดการรําลึกนึกคิดอยูเปนประจําจึงทําใหตัวของขาพเจามองเห็น และรูวามันเปนสิ่งที่ขาพเจารูอยูแคใจ อีกทั้งแสง สี เสียงลีลาทาทางตางๆลวนทําใหรูสึกรับรูไดเลย วาสิ่งเหลานี้เองที่หลอเลี้ยงขาพเจามาใหรับรูถึงคุณคาของวัฒนธรรมพื้นบานของเราเองสิ่งเหลานี้มี

ที่มาและแบงออกไดดังนี้

การรํา

โนราแตละตัวตองรําอวดความชํานาญและความสามารถเฉพาะตนโดยการรําผสมทาตางๆ เขาดวยกันอยางตอเนื่องกลมกลืนแตละทามีความถูกตองตามแบบฉบับมีความคลองแคลวชํานาญที่

จะเปลี่ยนลีลาใหเขากับจังหวะดนตรีและตองรําใหสวยงามออนชอยหรือกระฉับกระเฉงเหมาะแก

(16)

5

กรณีบางคนอาจอวดความสามารถในเชิงรําเฉพาะดานเชนการเลนแขน การทําใหตัวออน การรําทา พลิกแพลง เปนตน

การรอง

โนราแตละตัวจะตองอวดลีลาการรองขับบทกลอนในลักษณะตางๆ เชน เสียงไพเราะดัง ชัดเจน จังหวะการรองขับถูกตองเราใจ มีปฏิภาณในการคิดกลอนรวดเร็ว ไดเนื้อหาดี สัมผัสดี มี

ความสามารถในการรองโตตอบ แกคําอยางฉับพลันและคมคาย เปนตน การรําเฉพาะอยาง

นอกจากโนราแตละคนจะตองมีคว ามสามารถในการรํา การรอง และการทําบทดังกลาว แลวยังตองฝกการําเฉพาะอยางใหเกิดความชํานาญเปนพิเศษดวยซึ่งการรําเฉพาะอยางนี้ อาจใช

แสดงเฉพาะโอกาส เชน รําในพิธีไหวครู หรือพิธีแตงพอกผูกผาใหญ บางอยางใชรําเฉพาะเมื่อมีการ ประชันโรง บางอยางใชในโอกาสรําลงครูหรื อโรงครู หรือรําแกบน เปนตน การรําเฉพาะอยาง มี

ดังนี้

1. รําบทครูสอน 2. รําบทปฐม

3. รําเพลงทับเพลงโทน 4. รําเพลงป

5. รําเพลงโค 6. รําขอเทริด

7. รําเฆี่ยนพรายและเหยียบลูกนาว (เหยียบมะนาว) 8. รําแทงเข

9. รําคลองหงส

10. รําบทสิบสองหรือรําสิบสองบท เครื่องแตงกายโนรา มีดังตอไปนี้

- เทริด (อานวาเซิด) เปนเครื่องประดับศีรษะของตัวนายโรงหรือโนราใหญหรือตัวยืนเครื่อง ( โบราณไมนิยม ใหนางรําใช) ทําเปนรูปมงกุฎเตี้ย มีกรอบหนา มีดายมงคลประกอบ

เครื่องรูปปด เครื่องรูปปดจะรอยดวยลูกปดสีเปนลายมีดอกดวง ใชสําหรับสวมลําตัวทอน บนแทนเสื้อ ประกอบดวยชิ้นสําคัญ 5 ชิ้น คือ

- บา สําหรับสวมทับบนบาซาย-ขวา รวม 2 ชิ้น

(17)

6

-ปงคอ สําหรับสวมหอยคอหนา-หลังคลายกรองคอหนา-หลัง รวม 2 ชิ้น พานอก รอยลูกปดเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา ใชพันรอบตัวตรงระดับอกบางถิ่น เรียกวา"พานโครง"บางถิ่นเรียกวา"รอบอก"

เครื่องลูกปดดังกลาวนี้ใชเหมือนกันทั้งตัวยืนเครื่องและตัวนาง(รํา) แตมีชวงหนึ่งที่

คณะโนราชาตรีในมณฑลนครศรีธรรมราชใชอินทรธนู ซับทรวง (ทับทรวง) ปกเหนงแทนเครื่อง ลูกปดสําหรับตัวยืนเครื่อง

ปกนกแอน หรือ ปกเหนง มักทําด วยแผนเงินเปนรูปคลายนกนางแอนกําลังกางปก ใช

สําหรับโนราใหญหรือตัวยืนเครื่อง สวมติดกับสังวาลอยูที่ระดับเหนือสะเอวดานซายและขวา คลาย ตาบทิศของละคร

ซับทรวง หรือ ทับทรวง หรือ ตาบ สําหรับสวมหอยไวตรงทรวงอกนิยม ทําดวยแผนเงิน เปนรูป คลายขนมเปยกปูนสลั กเปนลวดลายและอาจฝงเพชรพลอยเปนดอกดวงหรืออาจรอยดวย ลูกปดนิยมใชเฉพาะตัวโนราใหญหรือตัวยืนเครื่อง ตัวนางไมใชซับทรวง

ปก หรือที่ชาวบานเรียกวา หาง หรือ หางหงส นิยมทําดวยเขาควายหรือโลหะเปนรูป คลายปกนก 1 คู ซาย-ขวาประกอบกัน ปลายปกเชิดงอนขึ้นและผูกรวมกันไวมีพูทําดวยดายสีติดไว

เหนือปลายปก ใชลูกปดรอยหอยเปนดอกดวงรายตลอดทั้งขางซายและขวาใหดูคลายขนของนก ใชสําหรับสวมคาดทับผานุงตรงระดับสะเอว ปลอยปลายปกยื่นไปดานหลังคลายหางกินรี

ผานุง เปนผายาวสี่เหลี่ยมผืนผา นุงทับชายแลวรั้งไปเหน็บไ วขางหลัง ปลอยปลายชายให

หอยลงเชนเดียวกับหางกระเบน เรียกปลายชายที่พับแลวหอยลงนี้วา "หางหงส"(แตชาวบาน สวนมากเรียกวา หางหงส) การนุงผาของโนราจะรั้งสูงและรัดรูปแนนกวานุงโจมกระเบน

หนาเพลา เหน็บเพลา หนับเพลา ก็วา คือสนับเพลาสําหรับสวมแลวนุงผา ทับ ปลายขาใช

ลูกปดรอยทับหรือรอยทาบ ทําเปนลวดลายดอกดวง เชน ลายกรวยเชิง รักรอย

ผาหอย คือ ผาสีตางๆ ที่คาดหอยคลายชายแครงแตอาจมีมากกวา โดยปกติจะใชผาที่

โปรงผาบางสีสด แตละผืนจะเหน็บหอยลงทั้งดานซายและดานขวาของหนาผา

(18)

7

หนาผา ลักษณะเดียวกับชายไหว ถาเปนของโนราใหญหรือนายโรงมักทําดวยผาแลวรอย ลูกปดทาบเปนลวดลาย ที่ทําเปนผา 3 แถบคลายชายไหวลอมดวยชายแครงก็มี ถาเปนของนางรํา อาจใชผาพื้นสีตางๆ สําหรับคาดหอยเชนเดียวกับชายไหว

กําไลตนแขนและปลายแขน กําไลสวมตนแขน เพื่อขบรัดกลามเนื้อใหดูทะมั ดทะแมง และเพิ่มใหสงางามยิ่งขึ้น

กําไล กําไลของโนรามักทําดวยทองเหลือง ทําเปนวงแหวน ใชสวมมือและเทาขางละ หลายๆ วง เชน แขนแตละขางอาจสวม 5-10 วงซอนกัน เพื่อเวลาปรับเปลี่ยนทาจะไดมีเสียงดังเปน จังหวะเราใจยิ่งขึ้น

เล็บ เปนเครื่องสวมนิ้วมือใหโคงงามคลายเล็บกินนร กินรี ทําดวยทองเหลืองหรือเงิน อาจ ตอปลายดวยหวายที่มีลูกปดรอยสอดสีไวพองาม นิยมสวมมือละ 4 นิ้ว (ยกเวนหัวแมมือ)

เครื่องแตงกายโนราตามรายการที่ (1) ถึง (12) รวมเรียกวา "เครื่องใหญ" เปนเครื่องแตงกายของตัว ยืนเครื่องหรือโนราใหญ สวนเครื่องแตงกายของตัวนางหรือนางรําเรียกวา "เครื่องนาง" จะตัดเครื่อง แตงกายออก 4 อยางคือ เทริด (ใชผาแถบสีสดหรือผาเช็ดหนาคาดรัดแทน) กําไลตนแขน ซับทรวง และปกนกแอน (ปจจุบันนางรําทุกคนนิยมสวมเทริดดวย)

หนาพราน เปนหนากากสําหรับตัว "พราน" ซึ่งเปนตัวตลก ใชไมแก ะเปนรูปใบหนา ไมมี

สวนที่เปนคาง ทําจมูกยื่นยาว ปลายจมูกงุมเล็กนอย เจาะรูตรงสวนที่เปนตาดํา ใหผูสวมมองเห็นได

ถนัด ทาสีแดงทั้งหมด เวนแตสวนที่เปนฟนทําดวยโลหะสีขาว หรือทาสีขาว หรืออาจลี่ยมฟน (มี

เฉพาะฟนบน) สวนบนตอจากหนาผากใชขนเปดหรือหานสีขาวติดทาบไวตางผมหงอก หนาทาสี เปนหนากากของตัวตลกหญิง ทําเปนหนาผูหญิง มักทาสีขาวหรือสีเนื้อ เครื่องดนตรีในการแสดงมโนราห

ทับ (โทนหรือทับโนรา) เปนคู เสียงตางกันเล็กนอย ใชคนตีเพียงคนเดียว เปนเครื่องตีที่

สําคัญที่สุด เพราะทําหนาที่ คุมจังหวะและเปนตัวนําในการเปลี่ยนจังหวะทํานอง (แตจะตองเปลี่ยน ตามผูรํา ไมใชผูรํา เปลี่ยน จังหวะลีลาตามดนตรี ผูทําหนาที่ตีทับจึงตองนั่งใหมอง เห็นผูรํา

ตลอดเวลา และตองรูเชิง ของผูรํา)

(19)

8

กลอง เปนกลองทัดขนาดเล็ก (โตกวากลองของหนังตะลุงเล็กนอย) 1 ใบทําหนาที่เสริมเนน จังหวะและลอเสียงทับ

ป เปนเครื่องเปาเพียงชิ้นเดียวของวง นิยมใชปใน หรือ บางคณะอาจใชปนอก ใชเพียง 1 เลา ปมีวิธีเปาที่คลายคลึงกับขลุย ปมี 7 รูแตสามารถกําเนิดเสียงได ถึง 21 เสียงซึ่งคลายคลึงกับเสียงพูด มากที่สุด

โหมง คือ ฆองคู เสียงตางกั นที่เสียงแหลม เรียกวา "เสียงโหมง " ที่เสียงทุม เรียกวา

"เสียงหมุง" หรือ บางครั้งอาจจะเรียกวาลูกเอกและลูก ทุมซึ่งมีเสียงแตกตางกันเปน คูแปดแตดั้งเดิม แลวจะใชคูหา

ฉิ่ง หลอดวยโลหะหนารูปฝาชีมีรูตรงกลางสําหรับรอยเชือก สํารับนึงมี 2 อัน เรียกวา 1 คู

เปนเครื่องตีเสริมแตงและเนนจังหวะ ซึ่งการตีจะแตกตางกับการตีฉิ่ง ในการกํากับจังหวะของดนตรี

ไทย

แตระ หรือ แกระ คือ กรับ มี ทั้งกรับอันเดียวที่ใชตีกระทบกับรางโหมง หรือกรับคู และมีที่

รอยเปนพวงอยางกรับพวง หรือใชเรียวไมหรือลวด เหล็กหลาย ๆ อันมัดเข าดวยกันตีใหปลาย กระทบกัน

ทารํา

ทารําของโนราที่เปนทาแบบ หรือทาหลัก สืบไดไมลงรอยกัน เพราะตาง ครูตางตํารากัน และเนื่องจากสมัยกอนผูประดิษฐทาเพิ่มเติมอยูเรื่อย ๆ ทารําของโนราที่ ตางสายตระกูลและตางสมัย กันจึงผิดแปลกแตกตางกัน แมบางทาที่ชื่ออยางเดียวกัน บาง ครูบางตําราก็กําหนดทารําตางกันไป ทารําที่สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงรวบรวมไดจากคําชี้แจงของนายจง ภักดี (ขาว) ผู

เคยเลนละดรชาตรีอยู ที่เมืองตรังในบทพระนิพนธตํานานละครอิเหนา วามีดังนี้

1.ทาแมลาย หรือทา แมลายกนก 2.ทาผาลา (ผา หลา)

3.ทาลงฉาก

4.ทากินนร หรือกินนรรํา (ทาขี้หนอน) 5.ทาฉากนอย

6.ทาราหูจับจันทร หรือทาเขาควาย

(20)

9

7.ทา บัวแยม 8.ทาบัวบาน 9.ทาบัวคลี่

10.ทาบัวตูม 11.ทาแมงมุมชักใย 12.ทาจับระบํา

ทารําเหลานี้สืบได วาเปนทาที่เรียกตางกันออกไปก็มี แตกตอเปนทายอย ๆ ออกไปก็มี เชน ทาแมลาย บางตําราเรียก ทาเทพนม (คือ แมของลายไทย ) แตกตอเปนทาเครือวัลย บาง เปนทา พรหมสี่หนาบาง หรือทาลงฉาก บางครูแตกยอยเปนทาสอดสรอย เปนตน

ทารํา หลักของโนรายัง ปรากฏในบทครูสอน บทสอน รํา และบททาปฐม ซึ่งบทเหลานี้จะประกอบ ดวยทาตาง ๆ แตกตางกันไปและเมื่อตาง ครูตางประดิษฐ ทารําของชื่อทานั้นๆก็จะ ผิดแปลกกัน เชน ทาแมงมุมชักใย บางครู ยืนรํา ใชมือเลียนทาแมงมุมชักใย บาง ครูรําแบบ ตัวออนแอนหลังแลว มวนตัวลอด ใตขา เปนตน

ครูโนราสมัยตอ ๆ มาคงคิด ประดิษฐ ทารําเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จึงมีจํานวนทา และชื่อทาเพิ่มขึ้น และแตกตางกันเพราะตาง ครูตางตํารากัน เชนทารําที่สมเด็จฯ กรม พระยาดํารงราชานุภาพ รวบรวม ไดจากที่ครูโน ราชาตรีเมืองนครศรีธรรมราชจําไวได และทรงรวมไว ทารําตาง ๆ ที่คิดประดิษฐ ขึ้น จะเห็น วา เกิดจากสิ่งบันดาลใจตางกัน สวนใหญได จากการสังเกตธรรมชาติ เชนชะนีรายไม กวาง โยน ตัว พระจันทรทรงกลด ไดจากจิตรกรรมก็มี เชน แมลายกนก เครือวัลย จากดุริยางคศิลปก็ มี

เชน สีซอสามสาย จากวรรณคดีก็มี เชน พระรถโยนสาร รามานาวศิลป พระลักษมณแผลง ศร ได

จากวิถีการดําเนินชีวิตก็มี เชน ชา นางนอน พิสมัยเรียงหมอน ฯลฯ อิทธิพลจากสภาพสังคมปจจุบันที่มีตอแนวความคิด

สภาพแวดลอมทําใหมีอิทธิพลตอแนวทางการดําเนินชีวิตของมนุษย มนุษยตองปรับตัวให

เขาสอดคลองกับสภาพแวดลอม ทําใหวิถีชีวิตของมนุษยของคนพื้นบานทางภาคใตมีความนิยม ชมชอบที่ลดลงจึงสงผลตอวัฒนธรรมประเพณีความเชื่อที่สืบตอกันมายาวนาน ซึ่งชวงเวลานี้ได

เห็นการเปลี่ยนแปลงของโนราซึ่งเปนสาเหตุสําคัญที่กอใหเกิดความบันดาลใจในการสรางสรรค

ผลงานของขาพเจา

(21)

10

อิทธิพลที่ไดรับจากทฤษฎีลวดลายประดิษฐ

ทฤษฎีลวดลายประดิษฐเปนทฤ ษฎีมีที่มาจาก ( ART NOUVEAUO) เปนลักษณะ สถาปตยกรรมและศิลปะประยุกต โดยมีจุดเดนคือใชรูปแบบธรรมชาติโดยเฉพาะดอกไมและพืชมา ทําเปนลวดลายโคงที่ออนชอยลักษณะรูปแบบจะเปนการลดทอนรูปแบบรุกชาติแมลงและเปลือก ใบไม เถาวัลย ตามธรรมชาติ นํามาประดิษฐเปนลวดลายประดับภายในภายนอก

งานศิลปนิพนธชินนี้มีจุดเดนตรงลวดลายที่เปนลายผาปะเตะภาคใตและกับเนื้อหา ความสําคัญทางวัฒนธรรมศิลปะการแสดงของโนราผสมผสานกันจึงเกิดเปนภาษาศิลปะที่งดงาม ดวยการใชลักษณะเฉพาะดวยลวดลายจากเสน สี โดยการประสานทัศนธาตุใหเขากับอารมณและ ความรูสึกที่มีพื้นฐานของความผูกพันธุอยางอยางกลมกลืน

(22)

11

ภาพที่ 1 ภาพขอมูลเกี่ยวกับการสรางสรรค

ที่มา : จากการศึกษาของผูวิจัย

(23)

12

ภาพที่ 2 ภาพขอมูลเกี่ยวกับการสรางสรรค

ที่มา : จากการศึกษาของผูวิจัย

(24)

13

ภาพที่ 3 ภาพขอมูลเกี่ยวกับการสรางสรรค

ที่มา : จากการศึกษาของผูวิจัย

(25)

14

ภาพที่ 4 ภาพขอมูลเกี่ยวกับการสรางสรรค

ที่มา : จากการศึกษาของผูวิจัย

(26)

15

ภาพที่ 5 ภาพขอมูลเกี่ยวกับการสรางสรรค

ที่มา : จากการศึกษาของผูวิจัย

(27)

16

ภาพที่ 6 ภาพขอมูลเกี่ยวกับการสรางสรรค

ที่มา : จากการศึกษาของผูวิจัย

(28)

17

ภาพที่ 7 ภาพขอมูลเกี่ยวกับการสรางสรรค

ที่มา : จากการศึกษาของผูวิจัย

(29)

18

ภาพที่ 8 ภาพขอมูลเกี่ยวกับการสรางสรรค

ที่มา : จากการศึกษาของผูวิจัย

(30)

19

ภาพที่ 9 ภาพขอมูลเกี่ยวกับการสรางสรรค

ที่มา : จากการศึกษาของผูวิจัย

(31)

20

ภาพที่ 10 ภาพขอมูลเกี่ยวกับการสรางสรรค

ที่มา : จากการศึกษาของผูวิจัย

(32)

21

ภาพที่ 11 ภาพขอมูลเกี่ยวกับการสรางสรรค

ที่มา : จากการศึกษาของผูวิจัย

(33)

22

ภาพที่ 12 ภาพขอมูลเกี่ยวกับการสรางสรรค

ที่มา : จากการศึกษาของผูวิจัย

(34)

23

ภาพที่ 13 ภาพขอมูลเกี่ยวกับการสรางสรรค

ที่มา : จากการศึกษาของผูวิจัย

(35)

24

ภาพที่ 14 ภาพขอมูลเกี่ยวกับการสรางสรรค

ที่มา : จากการศึกษาของผูวิจัย

(36)

25

ภาพที่ 15 ภาพขอมูลเกี่ยวกับการสรางสรรค

ที่มา : จากการศึกษาของผูวิจัย

(37)

26

ภาพที่ 16 ภาพขอมูลเกี่ยวกับการสรางสรรค

ที่มา : จากการศึกษาของผูวิจัย

(38)

27

ภาพที่ 17 ภาพขอมูลเกี่ยวกับการสรางสรรค

ที่มา : จากการศึกษาของผูวิจัย

(39)

28

ภาพที่ 18 ภาพขอมูลเกี่ยวกับการสรางสรรค

ที่มา : จากการศึกษาของผูวิจัย

(40)

บทที่ 3

การพัฒนากระบวนการสรางสรรค

ผลงานการสรางสรรคของขาพเจาเกิดจากความประทับใ จในวิถีชีวิตความเปนอยูของ ครอบครัวของขาพเจา จึงนําเรื่องดังกลาวมาสรางสรรคโดยใชเรื่องในชีวิตจริงเปนหลักแทรกดวย ลายผาปะเตะงานหัตกรรมพื้นบาน โดยใชเทคนิคการรองพื้นสี ทองและเขียนโดยใชสีอะคริลิกซึ่ง เปนในลักษณะจิตรกรรทไทยแบบแนวประเพณี

1. ขั้นตอนการสรางสรรค

ศึกษาวิเคราะหเทคนิคและกระบวนการสรางสรรคที่ตรงกับงาน ที่สัมพันธกับของของ ขาพเจามากที่ศึกษาจากงานศิลปกรรมที่สอดคลองกับงาน

2 .แหลงขอมูล

แหลงขอมูลแบงออกเปน 2 ประเภท

1. ศึกษาขอมูลจากตําราเอกสารตางๆ ทางวิชาการที่สัมพันธ เชื่อมโยง กับ ศิลปวัฒนธรรมประเพณีของไทย

2.การหาแหลงขอมูลจริงตามสถานที่ตางๆในจังหวัดพัทลุง ชุมชนยานครอบครัวที่

เปนโนราศึกษาจากคนเฒาคนแกเพื่อใหเขาใจสภาพความเปนอยูของผูค นในทองถิ่น และทําความ เขาใจถึงผูคนในแตละที่เพื่อเขาถึงและรูลึกถึงวิถีชีวิตของโนรา

3. วิเคราะหขอมูล

การนําขอมูลขางตนมาวิเคราะหรวมกันและหาเปาหมายที่สนใจ ตรงกับการแสดงออกทาง ความรูสึกสวนตนใหชัดเจนยิ่งขึ้นเพื่อนําไปพัฒนาเปนผลงานสรางสรรค

(41)

30 4. การรางแบบสเกต

เมื่อไดศึกษาขอมูลจากในดานตาง ๆ แลวเขาสูขั้นตอน การเริ่มงานจริงโดยการเขียนภาพ ราง

4.1 การรางแบบดวยเสนดินสออยางเรียบงาย เพื่อเปนการศึกษาโดยสรางโดยรวมกอ ปฏิบัติงาน

4.2 เมื่อไดโครงสรางที่ตองการแลว ตอมาเปนขั้นตอนการลงสีเพื่อความสมบูรณ

5.การปฏิบัติงานจริง

- หลังจากไดภาพรางแบบสเกตแลว จึงนํามาเปนแบบเพื่อรางแบบงานจริงลงบนเฟรม ที่

เตรียมพื้นงานไวเรียบรอยแลว

- ขึ้นรูปงานโดยใชสีอะคริลิก (Gloss Medium) เคลือบงานเมื่อใหสีติดทน

6.ทัศนธาตุที่ใชในการสรางอารมณ

ในการแสดงออกผานผลงานของขาพเจา ไดศึกษาคนควาจากแหลงขอมูลจริง รวมทั้ง เอกสารตําราทางวิชาการ ที่เกี่ยวเนื่องกับการดําเนินวิถีชีวิตของโนรา เมื่อนําเนื้อหาดังกลาวมาผนวก เปนความคิดรวบยอดแลว ผสมผสานกับการแสดงออกเฉพาะตนออกมา เปนผลงานจิตรกรรมไทย ประเพณี โดยกําหนดดานองคประกอบดวยทัศนธาตุตาง ๆ ในงานจริง ดังนี้

6.1 เสน (Line)

การใชเสนในงานของขาพเจา เปนลักษณะการตัดเสนในงานจิตรกรรมไทย ซึ่งมีการตัด เสนทั้งในตัวภาพ ธรรมชาติ ลวดลายผา สิ่งเหลานี้เปนจุดเดนและสําคัญของงาน

(42)

31 6.1 สีและน้ําหนัก (Colour and Tone)

การใชสีในองคประกอบเปนไปตามลักษณะที่ขาพเจาตองการ สื่อใหเห็นถึงความ เคลื่อนไหวของลวดลายและตัวภาพ คือ จะใชพื้นหลังตั้งแตรองพื้นไวตั้งแตขางตน เปนสีเหลือง ทองและใชสีแดงเปนตัวทําใหน้ําหนักเดนขึ้นมา ใชดําเปนตัวคัดน้ําหนักสุดทาย ผลงานโดยรวมจึง ออกมาในสีโทนรอน สลับ เหลือง ทอง แดง ดํา และมีสวนที่วางดานบนของงานเปนสีขาว ซึ่ง ทําใหงานรูสึกมีระยะมากขึ้น

6.3 พื้นที่วาง (Space)

พื้นที่วางในงานขึ้นอยูในแตละภาพวาจะเยอะนอยแคไหน สีขาวจึ้งขึ้นอยูกับความตองการ วาตองการมากนอยแคไหน การจัดองคประกอบใหเห็นพื้นที่วางสีขาวจึงมีความจําเปนตอผลงาน และใหเห็นความนาสนใจในลวดลายและสีของงาน

6.4 องคประกอบ (Composition)

องคประกอบที่เกิดขึ้นในงานของขาพเจาพึงหลักการจัดตามแบบจิตรกรรมลวดลาย ประดิษฐ (Art Nouveau) มาจัดใหมีลักษณะมุ มมองแบบลวดลายผาปาเตะภาคใต ใหรูสึกถึง อารมณกลิ่นอายของภาคใต

(43)

32

ภาพที่ 19 อุปกรณในการสรางสรรค

ที่มา : จากการศึกษาของผูวิจัย

(44)

33

ภาพที่ 20 อุปกรณในการสรางสรรค

ที่มา : จากการศึกษาของผูวิจัย

(45)

34

ภาพที่21 ภาพราง ที่มา : จากการศึกษาของผูวิจัย

(46)

35

ภาพที่ 22 ภาพราง ที่มา : จากการศึกษาของผูวิจัย

(47)

36

ภาพที่ 23 ขั้นตอนการเตรียมพื้น ที่มา : จากการศึกษาของผูวิจัย

(48)

37

ภาพที่ 24 ขั้นตอนการสรางสรรค

ที่มา : จากการศึกษาของผูวิจัย

Referensi

Dokumen terkait