• Tidak ada hasil yang ditemukan

ภาพขอมูลเกี่ยวกับการสรางสรรค

ที่มา : จากการศึกษาของผูวิจัย

บทที่ 3

การพัฒนากระบวนการสรางสรรค

ผลงานการสรางสรรคของขาพเจาเกิดจากความประทับใ จในวิถีชีวิตความเปนอยูของ ครอบครัวของขาพเจา จึงนําเรื่องดังกลาวมาสรางสรรคโดยใชเรื่องในชีวิตจริงเปนหลักแทรกดวย ลายผาปะเตะงานหัตกรรมพื้นบาน โดยใชเทคนิคการรองพื้นสี ทองและเขียนโดยใชสีอะคริลิกซึ่ง เปนในลักษณะจิตรกรรทไทยแบบแนวประเพณี

1. ขั้นตอนการสรางสรรค

ศึกษาวิเคราะหเทคนิคและกระบวนการสรางสรรคที่ตรงกับงาน ที่สัมพันธกับของของ ขาพเจามากที่ศึกษาจากงานศิลปกรรมที่สอดคลองกับงาน

2 .แหลงขอมูล

แหลงขอมูลแบงออกเปน 2 ประเภท

1. ศึกษาขอมูลจากตําราเอกสารตางๆ ทางวิชาการที่สัมพันธ เชื่อมโยง กับ ศิลปวัฒนธรรมประเพณีของไทย

2.การหาแหลงขอมูลจริงตามสถานที่ตางๆในจังหวัดพัทลุง ชุมชนยานครอบครัวที่

เปนโนราศึกษาจากคนเฒาคนแกเพื่อใหเขาใจสภาพความเปนอยูของผูค นในทองถิ่น และทําความ เขาใจถึงผูคนในแตละที่เพื่อเขาถึงและรูลึกถึงวิถีชีวิตของโนรา

3. วิเคราะหขอมูล

การนําขอมูลขางตนมาวิเคราะหรวมกันและหาเปาหมายที่สนใจ ตรงกับการแสดงออกทาง ความรูสึกสวนตนใหชัดเจนยิ่งขึ้นเพื่อนําไปพัฒนาเปนผลงานสรางสรรค

30 4. การรางแบบสเกต

เมื่อไดศึกษาขอมูลจากในดานตาง ๆ แลวเขาสูขั้นตอน การเริ่มงานจริงโดยการเขียนภาพ ราง

4.1 การรางแบบดวยเสนดินสออยางเรียบงาย เพื่อเปนการศึกษาโดยสรางโดยรวมกอ ปฏิบัติงาน

4.2 เมื่อไดโครงสรางที่ตองการแลว ตอมาเปนขั้นตอนการลงสีเพื่อความสมบูรณ

5.การปฏิบัติงานจริง

- หลังจากไดภาพรางแบบสเกตแลว จึงนํามาเปนแบบเพื่อรางแบบงานจริงลงบนเฟรม ที่

เตรียมพื้นงานไวเรียบรอยแลว

- ขึ้นรูปงานโดยใชสีอะคริลิก (Gloss Medium) เคลือบงานเมื่อใหสีติดทน

6.ทัศนธาตุที่ใชในการสรางอารมณ

ในการแสดงออกผานผลงานของขาพเจา ไดศึกษาคนควาจากแหลงขอมูลจริง รวมทั้ง เอกสารตําราทางวิชาการ ที่เกี่ยวเนื่องกับการดําเนินวิถีชีวิตของโนรา เมื่อนําเนื้อหาดังกลาวมาผนวก เปนความคิดรวบยอดแลว ผสมผสานกับการแสดงออกเฉพาะตนออกมา เปนผลงานจิตรกรรมไทย ประเพณี โดยกําหนดดานองคประกอบดวยทัศนธาตุตาง ๆ ในงานจริง ดังนี้

6.1 เสน (Line)

การใชเสนในงานของขาพเจา เปนลักษณะการตัดเสนในงานจิตรกรรมไทย ซึ่งมีการตัด เสนทั้งในตัวภาพ ธรรมชาติ ลวดลายผา สิ่งเหลานี้เปนจุดเดนและสําคัญของงาน

31 6.1 สีและน้ําหนัก (Colour and Tone)

การใชสีในองคประกอบเปนไปตามลักษณะที่ขาพเจาตองการ สื่อใหเห็นถึงความ เคลื่อนไหวของลวดลายและตัวภาพ คือ จะใชพื้นหลังตั้งแตรองพื้นไวตั้งแตขางตน เปนสีเหลือง ทองและใชสีแดงเปนตัวทําใหน้ําหนักเดนขึ้นมา ใชดําเปนตัวคัดน้ําหนักสุดทาย ผลงานโดยรวมจึง ออกมาในสีโทนรอน สลับ เหลือง ทอง แดง ดํา และมีสวนที่วางดานบนของงานเปนสีขาว ซึ่ง ทําใหงานรูสึกมีระยะมากขึ้น

6.3 พื้นที่วาง (Space)

พื้นที่วางในงานขึ้นอยูในแตละภาพวาจะเยอะนอยแคไหน สีขาวจึ้งขึ้นอยูกับความตองการ วาตองการมากนอยแคไหน การจัดองคประกอบใหเห็นพื้นที่วางสีขาวจึงมีความจําเปนตอผลงาน และใหเห็นความนาสนใจในลวดลายและสีของงาน

6.4 องคประกอบ (Composition)

องคประกอบที่เกิดขึ้นในงานของขาพเจาพึงหลักการจัดตามแบบจิตรกรรมลวดลาย ประดิษฐ (Art Nouveau) มาจัดใหมีลักษณะมุ มมองแบบลวดลายผาปาเตะภาคใต ใหรูสึกถึง อารมณกลิ่นอายของภาคใต

32