• Tidak ada hasil yang ditemukan

ขั้นตอนการสรางสรรค

ที่มา : จากการศึกษาของผูวิจัย

บทที่ 4

การสรางสรรคและพัฒนางานศิลปนิพนธ

ในการสรางสรรคผลงานศิลปนิพนธ “โนราและวิถีชีวิต” ชุดนี้เปนการนําเสนอลวดลาย ความงามของ นาฏศิลปโนราภาคใต โดยนําเสนอใหเห็นถึงคุณคาและวิถีชีวิตวัฒนธรรมของคน ภาคใต เปนเรื่องราวสําคัญเปนหลัก เพื่อใหสอดคลอง และกลมกลืนโดยอาศัยทัศนธาตุทางศิลปะ เปนการสื่อในการถายทอดแนวความคิด ซึ่งในการจะสรางสรรคผลงานออกมาไดสมบูรณนั้น จําเปนจะตองมีชวงเวลาการคนควา ทดลอง การแกปญหาตาง ๆ อยางตอเนื่อง ซึ่งมาจากการ สรางสรรค ดังนี้

การสรางสรรคผลงานระยะกอนศิลปนิพนธ

เปนการพัฒนาผลงานดานเทคนิคและเรื่องราวดวยพรอมกัน เนื่องจากเรื่องราวของ

ระยะแรกนั้น เปนเรื่องของคนในสังคมปจจุบัน ที่ชอบการนินทาวารายคนอื่นเปนหลัก เทคนิคการ เขียนก็เขียนอยูในสีโทนรอน แตโดยรูปแบบและเรื่องราวของผลงานนั้น เปนเรื่องที่ไกลตัวไป ทั้งนี้ขาพเจาไดศึกษารูปแบบและเนื้อหาแนวความคิดโดยไดรับคําแนะนําจากอาจารยผูสอนอยาง ตอเนื่อง รูปแบบและเนื้อหาแนวความคิดจึงเปนเปลี่ยนมาเรื่องของโนราในศิลปนิพนธ จึงทราบ ปญหาและสรุปได ดังนี้

ปญหาในการสรางสรรคผลงานระยะกอนศิลปนิพนธ

- ปญหาที่เกิดจากการทํางานในระยะแรก เปนเรื่องที่ไกลตัวเกินไป เปนเรื่องที่มี

ประสบการณกับตัวเองไมลึกซึ้งพอ จึงทําใหไมสามารถถายทอดออกมาไดเต็มที่เทาไหร

- ปญหาที่รูปแบบยังดูไมมีอารมณ ความรูสึกวาเปนอยางนั้นจริง ๆ จึงไมสามารถทําใหคน รูสึกวาในสิ่งที่ตองการสื่อออกมาได

- การจัดองคประกอบในภาพนั้นดูกระจัดกระจายไมสามารถบอกเหตุผลได หรือไม

สามารถเชื่อมโยงกันได และไมมีที่มาที่ไปในสิ่งที่หยิบยกขึ้นมาใชในงานได ภาพรวมของผลงาน จึงดูไมนาสนใจเทาไหร

43 - งานชวงหลังไดพัฒนามาและเปลี่ยนเนื้อหาของไปเปนนาฏศิลปพื้นบานคือ โนรา ทั้งตัว รูปแบบของงานและเนื้อหาก็ตองเปลี่ยน แตงานชุดนี้สามารถนํามาพัฒนาและเพิ่มเติมไดเยอะ ทั้ง ในเรื่องของเทคนิคการเขียน เทคนิคการรองพื้น ที่มีสีทองเขาชวย ทําใหงานนั้นมีมิติมากกวางาน ชุดกอน

- ปญหาชวงหลังจะคงมีอยูทั้งเรื่องของรูปทรงองคประกอบที่ยังดูขาด ๆ เกินไปบาง

- ลักษณะตัวโนราที่เขียนไปยังดูไมมีความนาหลงใหลสวยงามเทาไร และมีมือ หนา แขน เทา ที่ดูแลวเยอะจนเกินไป

ผลงานระยะศิลปนิพนธ

ผลงานศิลปนิพนธ เปนการสรางงานอยางตอเนื่องจากผลงานระยะกอนศิลปนิพนธ ซึ่งได

มีการพัฒนาปรับปรุงและแกไข ปญหาตาง ๆ ทั้งทางดานองคประกอบและมุมมอง ทัศนธาตุตาง ๆ เทคนิควิธีการที่ใชเพื่อผลงงานระยะศิลปนิพนธเกิดความสมบูรณมากที่สุด

ผลงานระยะกอนศิลปนิพนธ เปนการแสดงออกที่เห็นความสําคัญของวิถีชีวิตโนรา ในทางดานพิธีกรรมมากกวา จึงมีการพัฒนางานตอมาเรื่อย ๆ จนงานดูแลวมีทั้งความนาเชื่อถือและ รูสึกถึงพิธีกรรมความสวยงามอยางชัดเจน อีกทั้งงานชุดนี้พัฒนาเทคนิควิธีการกระบวนการทํางาน บางบางสวน เพื่อเพิ่มรูปแบบใหชิ้นงานดูสมบูรณมากขึ้น ซึ่งขาพเจาไดสรางผลงานออกมา 2 ชิ้น ผลงานระยะศิลปนิพนธ ชิ้นที่ 1

เสนองานจิตรกรรมไทยประเพณี โดยผานเรื่องราววิถีชีวิตของชาวภาคใต ผลงานชิ้นนี้มี

ลวดลายเปนหลัก เพื่อใหรูสึกวาโนรากําลังเคลื่อนไหว กําลังรําอยู ขาพเจาจัดองคประกอบใหตัว โนราอยูตรงกลาง ใชลายเคลื่อนไหวอยูดานขางทั้งซายและขวา ใหรูสึกถึงการมีชีวิตของตัวโนรา พรอมทั้งสีที่มีเหลือง ทอง แดง ดํา ที่เปนสวนที่ทําใหงานเปนไปตามที่จินตนาการ และมีที่วางสี

ขาวที่ทําตัวงานไมรูสึกแนนจนเกินไป มีอากาศใหตัวลายไดเคลื่อนไหวอยางสมบูรณ

44 ผลงานระยะศิลปนิพนธ ชิ้นที่ 2

เรื่องราวของผลงานชิ้นนี้ จะแตกตางกันจากชิ้นแรกที่การจัดองคประกอบของตัวโนรา ซึ่ง เปลี่ยนทานั่งอยูมุมซายลางของเฟรม ใหตัวเดนกวา สวนสีสันของงานยังเหมือนกันทั้งในเรื่องของ เทคนิควิธีการ

ปญหาในการสรางสรรคงานระยะศิลปนิพนธ

การทํางานศิลปะในทัศนะของขาพเจ า เปนการทํางานที่มีการพัฒนาทางความคิดของ ตนเอง และพัฒนารูปแบบของงานไปเรื่อย ๆ พรอมกับมีความจําเปนที่ตองเสาะหาวิธีการใหม เพื่อ การนําเสนอผลงานอยูตลอดเวลา ซึ่งในการทํางานมีอุปสรรคปญหาแตก็ลวนกลับเปนแรงผลักดัน ใหอยากทํางานและคนควาที่ทดลองปฏิบัติตอไป

สําหรับในการปฏิบัติงานศิลปนิพนธครั้งนี้ คือ

-ปญหาของผลงานศิลปนิพนธระยะสุดทายนี้ จะเปนเรื่องของรายละเอียดและความ สมบูรณของงานยังขาดอยู ลวดลายยังกระจัดกระจาย ยังขาด ๆ เกิน ๆ อยูบาง

ดังนั้นจากปญหาทั้งหมดที่กลาวมา ขาพเจาไดพยายามปรับปรุงแกไ ขเพื่อใหงานเสร็จ สมบูรณตรงกับแนวความคิด เทคนิควิธีการ เพื่องานศิลปะนิพนธชุดนี้ เกิดความสมบูรณที่สุด

45