• Tidak ada hasil yang ditemukan

THE STRUCTURAL MODEL AND EFFECTIVENESS OF THE LEISURE BEHAVIORDEVELOPMENT PROGRAM FOR SELF DEVELOPMENT SENIOR HIGH SCHOOLOF THE SECONDARY EDUCATIONAL SERVICE NAKHON RATCHASIMA

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "THE STRUCTURAL MODEL AND EFFECTIVENESS OF THE LEISURE BEHAVIORDEVELOPMENT PROGRAM FOR SELF DEVELOPMENT SENIOR HIGH SCHOOLOF THE SECONDARY EDUCATIONAL SERVICE NAKHON RATCHASIMA"

Copied!
393
0
0

Teks penuh

THE STRUCTURAL MODEL AND EFFECTIVENESS OF THE LEISURE BEHAVIORAL DEVELOPMENT PROGRAM FOR SENIOR HIGH SCHOOL SELF-DEVELOPMENT. A Dissertation Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree DOCTOR OF PHILOSOPHY. The purpose of this sequential quantitative method research is to develop a structural model and the effectiveness of the leisure behavior development program for self-development senior high school students in the secondary educational service in Nakhon Ratchasima.

In the first phase, the samples were 340 high school students using the multistage sampling method. The data were collected using nine questionnaires, and in the final stage, the samples consisted of high school students at Than Prasat Phet Wittaya School in Nakhon Ratchasima Province. The decision to choose activities had a direct influence on leisure behavior with an influence value of .41.

It was found that the students who took the leisure time behavior development program for self-development, including positive activities, such as freedom and happiness. This will be helpful for teachers and those involved in students and the education system to develop students' leisure behavior for self-development or for individuals in different groups to be effective.

สารบัญรูปภาพ

องค์ประกอบ

รูปแบบกิจกรรมการใช้เวลาว่าง

การพัฒนาตนเอง

  • ความหมายพฤติกรรมการใช้เวลาว่าง
  • องค์ประกอบของพฤติกรรมการใช้เวลาว่าง

องค์ประกอบของพฤติกรรมการใช้เวลาว่าง

ตาราง 1 (ต่อ)

  • การวัดพฤติกรรมการใช้เวลาว่าง
  • การพัฒนาตนเอง
    • ความหมายการพัฒนาตนเอง
    • องค์ประกอบของการพัฒนาตนเอง
    • วิธีวัดการพัฒนาตนเอง
  • สาเหตุของพฤติกรรมการใช้เวลาว่าง
  • ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
    • ความหมายของปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
    • องค์ประกอบของปฏิสัมพันธ์ทางสังคม

ความเป็นอิสระ ของเวลา. เวลาในการท า กิจกรรมนอก หลักสูตรของ โรงเรียน. เวลาในการท า กิจกรรมนอก หลักสูตรของ โรงเรียน. เวลาว่างเป็นการ ท ากิจกรรมที่. ไม่ใช่เวลาท างาน. กิจกรรมตาม ความพอใจ. ความเป็น อิสระของเวลา. นอกเหนือจาก ภาระหน้าที่. เป็นไปอย่าง เต็มใจและ สมัครใจ. เป็นประโยชน์. การใช้เวลาว่าง เป็นการใช้เวลา อิสระที่ไม่ใช่. เวลาท างาน. กิจกรรมตาม ความพึงพอใจ ของตนเอง. เป็นประโยชน์. ขยายความรู้. ความเป็น อิสระของ เวลา. มีการแสดงออกให้. เลือกโดยอิสระ. ความเป็น อิสระของเวลา. เป็นการใช้เวลา ที่นอกเหนือจาก เวลาการท างาน. ความเป็นอิสระ ของเวลา. ตอบสนอง ความต้องการ ของตนเอง เกิดความพึง พอใจ. วัตถุประสงค์. 1.1.3 การวัดพฤติกรรมการใช้เวลาว่าง. เวลาว่างด้านการออกก าลังกายคล้ายกับคนอื่นๆ โดยใช้แบบสอบถามการออกก าลังกายนานาชาติ. การรับรู้ความเป็นอิสระในการใช้เวลาว่าง เสรีภาพในการรับรู้. Department Labor, 2015)และ เพสซาเวนโต และแอชตัน (Pesavento & Ashton, 2011) ได้กล่าวถึงองค์ประกอบของการใช้เวลาว่าง โดยกล่าวเพิ่มขึ้นมาในด้านของความถี่ความ สม ่าเสมอในการท ากิจกรรมการใช้เวลาว่าง ซึ่งในการมีพฤติกรรมการใช้เวลาว่าง จะเป็นต้องมีการ เกิดพฤติกรรมโดยมีการท ากิจกรรมเป็นประจ าอย่างสม ่าเสมอ ดังนั้นพฤติกรรมการใช้เวลาว่างจึง สามารถสังเกตได้จาก ระยะเวลา ความถี่ในการท ากิจกรรมการใช้เวลาว่าง ซึ่งท าให้สามารถบอก ถึงระดับของพฤติกรรมการใช้เวลาว่างได้ โดยในการสังเกตเวลาในการท ากิจกรรม จะสังเกต จ านวนเวลาในการท ากิจกรรมใน 1 สัปดาห์ และสามารถวัดและแปลงระยะเวลาในการท ากิจกรรม ในแต่ละสัปดาห์เป็นคะแนนของพฤติกรรม เช่น แฮบเบอร์สติก และคนอื่นๆ (B.C. Haberstick et al., 2005) ท าการวัดจากเวลาในการท ากิจกรรม ซึ่งมีระดับของคะแนนคือ ไม่มีการใช้เวลาในการ ท ากิจกรรมได้ 0 คะแนน ท ากิจกรรมหนึ่งชั่วโมงหรือน้อยกว่าได้ 1 คะแนน สองถึงสามชั่วโมงได้ 2 คะแนน สี่ถึงห้าชั่วโมงได้ 4 คะแนน หกถึงเจ็ดชั่วโมงได้ 5 คะแนน และ แปดชั่วโมงหรือมากกว่า ได้ 6 คะแนน นอกจากนี้ยังมีอีกหลายท่านที่ได้ศึกษาการใช้เวลาว่าง โดยมีการศึกษาถึงระยะเวลา ในการท ากิจกรรมการใช้เวลาว่างด้วย เช่น คอลด์เวลล์ และวิทท์ (Caldwell & Witt, 2011), ดิแอส และคนอื่นๆ (Dias et al., 2015), ฟาวเซต (Fawcett, 2007), ฟินน์ (Finn, 2006), แฮนเซนและเซา (Hansen & Tsao, 2010), เคนเนท (Kenneth, 2018), เพสซาเวนโต และแอชตัน (Pesavento &. Leisure Education Curriculum developed by the National Curriculum Development Commission for the State of Israel. ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม (Social interaction) 5. เข้าใจความหมายค าว่าการใช้เวลาว่าง และสามารถประยุกต์ใช้ในชีวิตได้. Understands the concept of leisure and is able to apply it to one's life.).

ระบุประสบการณ์การพักผ่อนที่เป็นไปได้ที่หลากหลาย ตระหนักและยอมรับผลของการใช้เวลาว่าง (รับทราบและยอมรับความรับผิดชอบส่วนบุคคลสำหรับการใช้เวลาว่าง) นำไปสู่ความพึงพอใจ (ระบุระดับปัจจุบันของความพึงพอใจในการใช้เวลาว่างและปัจจัยที่สนับสนุนหรือเบี่ยงเบนจากสิ่งนี้)

ใช้กระบวนการตัดสินใจ การแก้ปัญหา การวางแผน และการประเมินผล เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการพักผ่อน (ใช้การตัดสินใจ การแก้ปัญหา การวางแผน และกระบวนการประเมินผลเพื่อบรรลุเป้าหมายการพักผ่อน ชี้แจงประเด็นด้านคุณค่าที่เกี่ยวข้องกับเป้าหมายการพักผ่อน) เช่นหลักสูตรการศึกษา การพัฒนาการใช้เวลาว่าง' จุดมุ่งหมายและลำดับของการศึกษายามว่าง.

องค์ประกอบของปฏิสัมพันธ์ทางสังคม

  • การวัดปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
  • องค์ประกอบของทักษะการใช้เวลาว่าง
  • สมรรถนทักษะ หมายถึง ความสามารถความช านาญ ในการท างานที่ได้

องค์ประกอบของทักษะการใช้เวลาว่าง

  • การวัดทักษะการใช้เวลาว่าง
  • องค์ประกอบของการตัดสินใจเลือกกิจกรรม
  • การวัดการตัดสินใจเลือกกิจกรรม
  • การรับรู้ความหมาย ประเมินทางเลือก
  • การรับรู้ประโยชน์
  • การรวบรวมข้อมูล 5.2 การสร้างทางเลือก
  • การท ากิจกรรมทางกาย 6.2 การท ากิจกรรมทางอารมณ์
  • การท ากิจกรรมทางสังคม 6.4 การท ากิจกรรมทางสติปัญญา

กรอบแนวคิดในการวิจัยระยะที่ 1

กระบวนการปรับพฤติกรรมทางปัญญา

  • ทฤษฎีการก าหนดตนเอง (Self-Determination Theory)

แนวคิดการตัดสินใจด้วยตัวเอง

  • กิจกรรมกลุ่ม
  • ขั้นค้นคว้าหาความรู้
  • ขั้นทดลองปฏิบัติ
  • องค์ประกอบด้านอื่นๆ ในการจัดกิจกรรม
  • การวิจัยระยะที่ 1
    • การน าผลจากการศึกษาในระยะที่ 1 ไปใช้
  • การวิจัยระยะที่ 2
    • การจัดกระท าและวิเคราะห์ข้อมูล
    • การก าหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1) ประชากร

ตอนที่ 8 แบบสอบถามการตัดสินใจเลือกกิจกรรม

การหาคุณภาพเครื่องมือ

การเก็บรวบรวมข้อมูล

การวิเคราะห์ข้อมูล

กลุ่มตัวอย่างในระยะที่ 2

ระยะเตรียมการทดลอง

ระยะทดลอง

การพัฒนาด้านทักษะการใช้เวลาว่าง

การพัฒนาปฏิสัมพันธ์ทางสังคม

การพัฒนาการตัดสินใจเลือกกิจกรรม

ต่อ) คาบ

  • การด าเนินการปฏิบัติตามโปรแกรม

Referensi

Dokumen terkait

Maka dari itu peneliti tertarik meneliti Perkembangan Ekowisata Green Talao Park Nagari Ulakan Kabupaten Padang Pariaman Berbasis Masyarakat (2016-2022) dengan menitikberatkan