• Tidak ada hasil yang ditemukan

ATTITUDES OF PARTICIPANTS IN MAULID AL-NABI FOR THE ACADEMIC YEAR 2020 PRINCESS OF NARADHIWAS UNIVERSITY IN THE SITUATION OF THE CORONAVIRUS PANDEMIC DISEASE 2019 (COVID-19)

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "ATTITUDES OF PARTICIPANTS IN MAULID AL-NABI FOR THE ACADEMIC YEAR 2020 PRINCESS OF NARADHIWAS UNIVERSITY IN THE SITUATION OF THE CORONAVIRUS PANDEMIC DISEASE 2019 (COVID-19)"

Copied!
24
0
0

Teks penuh

(1)

Ku Abdul Muhaimin Yusof; Tohir Malee; Moohammad Waleng Lecturer Academy of Islamic and Arabic Studies PNU

Muhaimin.y@pnu.ac.th; tohiruum2018@gmail.com; Maazaam@yahoo.com

Abstract: This research aims to To study the level of attitudes of the people who attended the Maulid Relationship towards Peace in the Covid-19 era, held at Princess of Naradhiwas University. The population used in this research was staff and students Princess of Naradhiwas University and people in nearby communities 400 participants who attended this event. The sample size was determined by calculating according to the ready-made tables of R.V. Krejcie and D.W. Morrgan totaling 1 9 6 sampling. The data were collected by a questionnaire, and the statistical analysis was the percentage (%), mean (x̅), and standard deviation (SD). The attitude level of the people who attended the Maulid relationship towards peace in the Covid-1 9 era of 2 0 2 0 in all 4 aspects was at a good level. Sorted from most to least as follows: building relationships between students Princess of Naradhiwas University staff and the general public Promotion of the Remembrance of the Biography of Prophet Muhammad (SAW) peace building and in terms of understanding biographical/praise to the Prophet in Arabic/Malay. The results also found that Although the event will be held in the midst of the COVID-19 epidemic situation which must be prepared to take care of safety and take a number of measures to ensure smooth and safe operations. But the people who attended the event gave importance and cooperate in activities as well In addition, the event will also create an interesting way to learn more about the history and remembrance of the Prophet Muhammad (PBUH), raising public awareness of their daily responsibilities. according to the example of the Prophet People place importance on building a peaceful society by following the teachings of Islam. and the Prophet Muhammad (SAW) was a role model in life.

Keywords: Maulid relations, peace

บทคัดย่อ

ก า ร วิ จั ย นี้ มี วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์

เพื่อศึกษาระดับทัศนคติของประชาชนผู้มาร่วมงานเมาลิดสัมพันธ์สู่ความสันติ

ภาพยุคโควิด 19 โดยจัดขึ้น ณ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์

ป ร ะ ช า ก ร ที่ ใ ช้ ใ น ก า ร วิ จั ย ค รั้ ง นี้ คื อ บุ ค ล า ก ร แ ล ะ นัก ศึ ก ษ า ม ห า วิ ท ย า ลัย น ร า ธิ ว า ส ร า ช น ค ริ น ท ร์

และประชาชนในชุม ชนใกล้เคียง ที่เข้าร่วมงาน จ านวน 400 ราย ก าหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยการค านวณตามตารางส าเร็จรูปของ R.V.

Krejcie แ ล ะ D.W. Morrgan จ า น ว น 1 9 6 ร า ย

แ ล ะ จ ะ ใ ช้ วิ ธี ก า ร สุ่ ม ตัว อ ย่ า ง แ บ บ ส ะ ด ว ก ( convenience sampling) เ ค รื่ อ ง มื อ ที่ ใ ช้ ใ น ก า ร ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล คื อ แ บ บ ส อ บ ถ า ม

(2)

40

สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าร้อยละ (%) ค่าเฉลี่ย (x̅) และค่าส่- ว น เ บี่ ย ง เ บ น ม า ต ร ฐ า น ( S.D.) ผ ล ก า ร วิ จั ย พ บ ว่ า ระดับทัศนคติของประชาชนผู้มาร่วมงานเมาลิดสัมพันธ์สู่ความสันติภาพยุคโค วิด 19 ปี 2563 ทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับดี เรียงล าดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้

ด้านการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างนักศึกษา บุคลากรมหาวิทยาลัยนราธิวาสฯ และประชาชนทั่วไป ด้านการส่งเสริมการร าลึกถึงชีวประวัติท่านศาสดามูฮัมมัด ( ศ . ล . ) ด้ า น ก า ร เ ส ริ ม ส ร้ า ง ค ว า ม สั น ติ ภ า พ และด้านการสร้างความเข้าใจในชีวประวัติ/สรรเสริญต่อศาสดาในภาษาอาหรั

บ / ภ า ษ า ม ล า ยู ผ ล ก า ร วิ จั ย ยั ง พ บ ว่ า ถึงแม้การจัดงานดังกล่าวจะจัดขึ้นท่ามกลางสถานการณ์การแพร่ระบาดของโร คติดเชื้อ COVID-19 ซึ่งต้องเตรียมความพร้อมด้านการดูแลความปลอดภัย และใช้มาตรการหลายๆอย่างเพื่อให้การด าเนินงานลุล่วงอย่างราบรื่นและปลอด ภั ย แ ต่ ป ร ะ ช า ช น ผู้ เ ข้ า ร่ ว ม ง า น ก็ ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ แ ล ะ ใ ห้ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ใ น กิ จ ก ร ร ม เ ป็ น อ ย่ า ง ดี น อ ก จ า ก นี้

กิจกรรมดังกล่าวยังเป็นการสร้างความน่าสนใจในการที่จะเรียนรู้เกี่ยวกับประวั

ติ ศ า ส ต ร์ แ ล ะ ก า ร ร า ลึ ก ถึ ง ท่ า น ศ า ส ด า มู ฮัม มัด ( ศ . ล . ) ม า ก ขึ้ น ท าให้ประชาชนเกิดความตระหนักในหน้าที่ความรับผิดชอบในชีวิตประจ าวันต า ม แ บ บ อ ย่ า ง ข อ ง ท่ า น ศ า ส ด า ประชาชนให้ความส าคัญในการสร้างสังคมสันติภาพโดยการปฏิบัติตามหลักค า ส อ น ข อ ง ศ า ส น า อิ ส ล า ม แ ล ะ มี ท่ า น ศ า ส ด า มู ฮัม มัด ( ศ . ล . ) เป็นแบบอย่างในการด ารงชีวิต

ค าส าคัญ : เมาลิดสัมพันธ์, สันติภาพ 1. บทน า

เมาลิดสัมพันธ์ เป็นประเพณีร าลึกถึงท่านศาสดามูฮัมหมัด (ซล.) ซึ่งเป็นศาสดาของศาสนาอิสลาม ตรงกับวันที่ 12 เดือนรอบีอุลเอาวัล ซึ่งเป็นเดือนที่ 3 ตามปีปฏิทินอิสลาม โดยค าว่า “เมาลิด” หรือ “มีลาด”

มี ร า ก ศัพ ท์ ม า จ า ก ภ า ษ า อ า ห รับ แ ป ล ว่ า วัน เ กิ ด1 ห รื อ ก า ร เ กิ ด ส่ ว น ใ ห ญ่ ป ร ะ เ พ ณี ดัง ก ล่ า ว จ ะ จั ด ขึ้ น โ ด ย ช า ว มุ ส ลิ ม ทั่ว โ ล ก2

1 Susi Wirdani Ningsih, ‘Perayaan Maulid Nabi Muhammad SAW Dalam Perspektif Dakwah (Studi Di Keumumu Hulu Kecamatan Labuhanhaji Timur Kabupaten Aceh Selatan)’ (UIN Ar-Raniry Banda Aceh, 2018.).

2 Zunly Nadia STAIN Jember, ‘Tradisi Maulid Pada Masyarakat Mlangi Yogyakarta’, ESENSIA: Jurnal Ilmu-Ilmu Ushuluddin 12, no. 2 (2011): 367–77, http://ejournal.uin- suka.ac.id/ushuluddin/esensia/article/view/718.

(3)

41

จั ด ใ ห้ มี ง า น เ ฉ ลิ ม ฉ ล อ ง เ พื่ อ เ ป็ น ก า ร ร า ลึ ก ถึ ง ท่ า น ศ า ส ด า ด้วยการน าชีวประวัติของท่านศาสดาตั้งแต่วันประสูติจนถึงวันวากาฟ (ถึงแก่กรรม) น ามาเสนอหลากหลายรูปแบบ อาทิ การน าบทกวี (บัรซัญญี ) ที่ ก ล่ า ว ถึ ง ชี ว ป ร ะ วั ติ ข อ ง ท่ า น ม า อ่ า น เพื่อน ามาเป็นแนวทางของการด าเนินชีวิตแก่มุสลิมทั้งนี้การยกย่องวันเกิดของ ท่านศาสดามูฮัมหมัด (ซ.ล.) ท าได้โดยด าเนินการปฏิบัติในวันเกิดของท่าน คือ

ก า ร ถื อ ศี ล อ ด ใ น วั น จั น ท ร์

ก า ร ก ล่ า ว ซ อ ล า ว า ต น บี เ ป็ น ส่ ว น ห นึ่ ง ข อ ง ก า ร ใ ห้ เ กี ย ร ติ ย ก ย่ อ ง รวมถึงการปฏิบัติตามค าสั่ง ละเว้นการปฏิบัติตามค าสั่งห้ามของท่าน และด าเนินตามแบบอย่างของท่านศาสดามูฮัมหมัด (ซล.)

จุดประสงค์หลักในการจัดงานเมาลิดสัมพันธ์คือเพื่อร าลึกถึงท่านศาสดา ทั้งนี้ยังถือเป็นโอกาสให้ประชาชาติได้สร้างความสัมพันธ์ระหว่างกันและชุมชน

ใ ก ล้ เ คี ย ง

ซึ่งจะน าไปสู่การสร้างความสันติภาพได้สอดคล้องกับค าพูดของนายอิบรอเฮง มามะ ประธารคณะโครงการเมาลิดบันนังสตา หวังน าสู่สันติภาพที่ยั่งยืน ครั้งที่

3 ก ล่ า ว ว่ า

“การจัดงานเมาลิดในครั้งนี้เพื่อเปิดโอกาสให้เยาวชนสามารถสร้างความสัมพัน ธ์ กั บ ชุ ม ช น ที่ ม า ท า ง า น ร่ ว ม กั น ม า ก ยิ่ ง ขึ้ น อีกทั้งยังเป็นแหล่งเรียนรู้การใช้ชีวิตร่วมกันเพื่อให้เกิดความสามัคคี

ซึ่งการจัดงานในครั้งนี้ส่วนตัวรู้สึกภูมิใจที่เห็นเยาวชนได้ออกมาช่วยกันจัดงาน ถ้ า เ ร า ส า มั ค คี อ ย่ า ง นี้ ต่ อ ไ ป สั ง ค ม ค ง จ ะ ไ ม่ มี ปั ญ ห า ” แ ล ะ ไ ด้ ส อ ด ค ล้ อ ง กับ ง า น วิ จัย ข อ ง ส า ร า ญ ส ม พ ง ษ์3 ที่ ว่ า ด้ ว ย ศึกษาวิเคราะห์รูปแบบการสื่อสารเพื่อสันติภาพในสื่อออนไลน์ตามแนวทางพุท

3 ส าราญ สมพงษ์, ‘ศึกษาวิเคราะห์รูปแบบการสื่อสารเพื่อสันติภาพ

ในสื่อออนไลน์ตามแนวทางพุทธสันติวิธี : กรณีศึกษาเว็บไซต์หนังสือพิมพ์คมชัดลึก A Critical Analysis of Communication Pattern for Peace in the Online Media by Buddhist Peaceful Means: A Case Study of Komchadluek.Net’, วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร 4, no. 1 (2016): 138–54.

(4)

42

ธ สัน ติ วิ ธี : ก ร ณี ศึ ก ษ า เ ว็ บ ไ ซ ต์ ห นัง สื อ พิ ม พ์ ค ม ชัด ลึ ก พ บ ว่ า การที่มนุษย์จะอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขแม้ความคิดเห็นขัดแย้งกันบ้าง หากมีมาตรการในการบริการจัดการความขัดแย้งนั้นให้อยู่ในกรอบหรือกฎเก ณฑ์ที่มนุษย์ได้วางไว้ก็จะไม่พัฒนาไปสู่ความรุนแรงและสงครามได้

มาตรการดังกล่าวประการหนึ่งนั้นก็คือการสื่อสารหรือการใช้วาจาสื่อความเข้า ใจระหว่างกัน ซึ่งในโลกนี้ก็มีมาตรการที่แตกต่างกันไปในแต่ละสังคม โดยมีการก าหนดเป็นทฤษฎีการสื่อสารก็คือ การสื่อสารเพื่อสันติภาพ ที่ มี อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ คื อ มุ่ ง เ น้ น เ รื่ อ ง สัน ติ ภ า พ ร า ย ง า น ค ว า ม จ ริ ง เ สี ย ง จ า ก ป ร ะ ช า ช น ทั่ว ไ ป แ ล ะ เ ห ยื่ อ แ ล ะ ใ ห้ น ้ า ห นัก ใ น เ รื่ อ ง ท า ง อ อ ก ข อ ง ค ว า ม ขั ด แ ย้ ง 4 ซึ่ ง ส ถ า น ก า ร ณ์ โ ค วิ ด 19 ไ ม่ ไ ด้ เ ป็ น อุ ป ส ร ร ค ใ น ก า ร จั ด ง า น เ ม า ลิ ด สั ม พั น ธ์ ค รั้ ง นี้

โดยภ าย ในง า นไ ด้มี จุ ด ตร ว จ คัดกร อ ง จุ ดวัดอุณหภู มิ ก่อ นเ ข้า ง า น ผู้เข้าร่วมงานต้องสวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้าและมีการเว้นระยะห่าง 1-2 เมตร ตามมาตราการเฝ้าระวังเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคดังกล่าว ในปัจจุบันนี้สถานการณ์ไวรัสโคโรน่าหรือโควิด 19 ก าลังระบาดทั่วโลก ค ว า ม รุ น แ ร ง เ ที ย บ เ ท่ า กั บ โ ร ค ซ า ร์ ส ม า ก ที่ สุ ด เชื้อไวรัสนี้สามารถแพร่กระจายจากคนสู่คนได้แล้ว จากการถูกไอ จาม ห รื อ สั ม ผั ส กั บ ส า ร คั ด ห ลั่ ง ข อ ง ค น ที่ ป่ ว ย ท า ใ ห้ ผู้ ป่ ว ย มี อ า ก า ร ป อ ด อั ก เ ส บ รุ น แ ร ง จ น ถึ ง แ ก่ ชี วิ ต ไ ด้

(https://www.sikarin.com)

ซึ่งประเทศไทยเองก็ได้รับผลกระทบอย่างหนักตั้งแ ต่ปลายปี 2019 จนถึงปัจจุบัน มีผู้ป่วยสะสม 1,136,274 ราย และมีผู้เสียชีวิต 83 ราย ข้อมูล ณ วันที่ 2 มีนาคม 2564 5

4 ส าราญ สมพงษ์.

5 ‘No Title’, n.d., https://ddc.moph.go.th.

(5)

43

ทั้งนี้ผู้วิจัยต้องการศึกษาระดับความคิดเห็น/ทัศนคติของนักศึกษา บุ ค ล า ก ร ม ห า วิ ท ย า ลั ย น ร า ธิ ว า ส ร า ช น ค ริ น ท ร์

ตลอดจนประชาชนจากชุมชนใกล้เคียงเกี่ยวกับการจัดงานเมาลิดสัมพันธ์ในยุค โควิด 19 ต่างๆ 4 ด้านด้วยกัน ได้แก่ ด้านการสร้างความสัมพันธ์

ด้านการร าลึกถึงชีวประวัติท่านศาสดาองค์สุดท้ายของศาสนาอิสลาม ด้ า น ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม สั น ติ ภ า พ และด้านการสร้างความเข้าใจชีวประวัติ/สรรเสริญต่อศาสดาของภาษาอาหรับ/

ภาษามลายู

2. วัตถุประสงค์การวิจัย

ก า ร วิ จั ย ค รั้ ง นี้ มี วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์

เพื่อศึกษาระดับทัศนคติของประชาชนผู้มาร่วมงานเมาลิดสัมพันธ์สู่ความสันติ

ภาพยุคโควิด 19 โดยจัดขึ้น ณ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์

3. วิธีการด าเนินการวิจัย

ก า ร วิ จัย ค รั้ง นี้ เ ป็ น ก า ร วิ จัย เ ชิง ส า ร ว จ ( Survey Research) เพื่อศึกษาระดับทัศนคติของผู้มาร่วมงานเมาลิดสัมพันธ์สู่ความสันติภาพยุคโค วิ ด 1 9 ที่ จั ด ขึ้ น โ ด ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย น ร า ธิ ว า ส ร า ช น ค ริ น ท ร์

ทั้ง นี้ เ พื่ อ น า ผ ล ก า ร วิ จัย ไ ป เ ป็ น ข้ อ มู ล เ พื่ อ ใ ช้ ใ น ก า ร ว า ง แ ผ น แ ล ะ ก า ห น ด แ น ว ท า ง ที่เ ห ม า ะ ส ม ส า ห รับ ก า ร จัด ง า น ใ น ปี ต่ อ ๆ ไ ป วิธีการด าเนินการวิจัยมีดังนี้

3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

ป ร ะ ช า ก ร ที่ ใ ช้ ใ น ก า ร วิ จั ย ค รั้ ง นี้ คื อ นัก ศึ ก ษ า แ ล ะ บุ ค ล า ก ร ม ห า วิ ท ย า ลัย น ร า ธิ ว า ส ร า ช น ค ริ น ท ร์

แ ล ะ ป ร ะ ชาชนในชุม ชนใกล้เ คียง ที่เ ข้าร่ว ม ง าน จ านว น 4 0 0 คน มีการก าหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยการค านวณตามตารางส าเร็จรูปของ

(6)

44

R.V. Krejcie แ ล ะ D.W. Morrgan จ า น ว น 1 9 6 ร า ย และจะใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก (convenience sampling)

3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

เครื่องมือที่ใช ในการวิจัยครั้งนี้เป็นสอบถามเกี่ยวกับระดับความคิดเห็

นเมาลิดสัมพันธ์สู่ความสันติภาพในยุคโควิด 19 โดยแบ งออกเป็น 3 ตอนดังนี้

ต อ น ที่ 1

เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม ลัก ษ ณ ะ แ บ บ ส อ บ ถ า ม เ ป็ น แ บ บ ต ร ว จ ส อ บ ร า ย ก า ร ( Check-List) ประกอบด วย เพศ อายุ และสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม

ต อ น ที่ 2

เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับทัศนคติของผู้เข้าร่วมงานเมาลิดสัมพันธ์สู่ความสันติ

ภ า พ ใ น ยุ ค โ ค วิ ด 1 9 ณ ม ห า วิ ท ย า ลัย น ร า ธิ ว า ส ร า ช น ค ริ น ท ร์

ลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบมาตราสวนประมาณค่า (Rating Scale) มีข้อค าถามจ านวน 19 ข้อ แบงเป็น 4 ด้านดังนี้ 1) ด านความสัมพันธ์ 2) ด้านการร าลึกถึงชีวประวัติท่านศาสดาองค์สุดท้ายของศาสนาอิสลาม 3) ด้ า น ค ว า ม สั น ติ ภ า พ แ ล ะ 4) ด้านความเข้าใจชีวประวัติ/สรรเสริญต่อศาสดาของภาษาอาหรับ/ภาษามลายู

ซึ่งมีเกณฑ์ในการก าหนดค่าน ้าหนักของการประเมินเป็น 5 ระดับตามวิธีของ Likert ได้ดังนี้

(7)

45

เกณฑ์การแปลความหมายเพื่อจัดระดับคะแนนเฉลี่ยคาความคิดเห็น ก าหนดเป็นช่วงคะแนนดังต่อไปนี้

คะแนนเฉลี่ย 1.00 – 1.49 แปลความว่า ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง คะแนนเฉลี่ย 1.50 – 2.49 แปลความว่า ไม่เห็นด้วย คะแนนเฉลี่ย 2.50 – 3.49 แปลความว่า ไม่แน่ใจ คะแนนเฉลี่ย 3.50 – 4.49 แปลความว่า เห็นด้วย คะแนนเฉลี่ย 4.50 – 5.00 แปลความว่า เห็นด้วยอย่างยิ่ง ระดับความคิดเห็น/ทัศนคติ ค่าน ้าหนักคะแนนของตัวเลือกตอบ

น้อยที่สุด ก าหนดให้มีค่าเท่ากับ 1 คะแนน น้อย ก าหนดให้มีค่าเท่ากับ 2 คะแนน ปานกลาง ก าหนดให้มีค่าเท่ากับ 3 คะแนน มาก ก าหนดให้มีค่าเท่ากับ 4 คะแนน มากที่สุด ก าหนดให้มีค่าเท่ากับ 5 คะแนน

ระดับความคิดเห็น/ทัศนคติ ค่าน ้าหนักคะแนนของตัวเลือกตอบ น้อยที่สุด ก าหนดให้มีค่าเท่ากับ 1 คะแนน

น้อย ก าหนดให้มีค่าเท่ากับ 2 คะแนน ปานกลาง ก าหนดให้มีค่าเท่ากับ 3 คะแนน มาก ก าหนดให้มีค่าเท่ากับ 4 คะแนน มากที่สุด ก าหนดให้มีค่าเท่ากับ 5 คะแนน

(8)

46

ตอนที่ 3 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่นๆ ของผู้เข้าร่วมงานเมาลิดสัมพันธ์สู่ความสันติภาพยุคโควิด 19 ปีการศึกษา 2563 ลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบปลายเปิด (Open-Ended)

3.3 การสร้างเครื่องมือที่ใช ในการวิจัย

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ท าการสร้างเป็นแบบสอบถาม (Questionnaire) แบ่งเป็นขั้นตอนตามล าดับดังนี้

1. ศึ ก ษ า ห ลั ก ก า ร ส ร้ า ง แ บ บ ส อ บ ถ า ม และก าหนดกรอบแนวความคิดในการวิจัย

2. ศึกษาข้อมูลจากหนังสือ เอกสาร บทความ และผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นแนวทางน ามาสร้างข้อค าถาม (Item) ของแบบสอบถาม

3.

กำ าหนดประเด็นและขอบเขตของค าถามให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์

และประโยชน์ของการวิจัย

4. ดำ าเนินการสร้างแบบสอบถามฉบับร่าง

5. ผู้วิจัย น า แ บ บ ส อ บ ถ า ม ฉ บับ ร่า ง ที่ส ร้า ง ขึ้น ใ ห้ผู้เ ชี่ย ว ช าญ ซึ่งมีความรู้และประสบการณ์ทางด้านที่จะท าการศึกษาพิจารณาแบบสอบถาม เ พื่ อ เ ป็ น ก า ร ท ด ส อ บ ค ว า ม เ ที่ ย ง ต ร ง ค ว า ม ค ร อ บ ค ลุ ม เ นื้ อ ห า และความถูกต้องในส านวนภาษา

6.

ผู้วิจัยน าแบบสอบถามฉบับรร่างที่ได้ผ่านการแก้ไขจากผู้เชี่ยวชาญแล้วมาปรับ ปรุงเป็นแบบสอบถามของการวิจัยครั้งนี้เพื่อน าไปใช้จริง

3.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล

(9)

47

ผู้วิจัยได้ด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยได้ด าเนินการเป็น 3 ขั้นตอนดังนี้

1 .

ผู้วิจัยได้ท าการติดต่อนักศึกษาเพื่อเป็นตัวแทนในการเก็บข้อมูลแบบสอบถาม ซึ่งเป็นนักศึกษาระดับอุดมศึกษาที่มีความรู้ความเข้าใจในการท าวิจัยเป็นอย่าง ดี

2 .

ผู้วิจัยได้ท าความเข้าใจกับกลุ่มนักศึกษาที่เป็นตัวแทนในการเก็บข้อมูลแบบสอ บถามเพื่อให้มีความเข้าใจตรงกันในเรื่องของข้อค าถามและกลุ่มตัวอย่างที่ต้อง การ

3 .

น าแบบสอบถามที่ได้มาท าการตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของแบบสอบถา ม จากแบบสอบถาม จ านวน 196 ชุด ได้กลับคืนมา 196 ชุด คิดเป็นร้อยละ 100 ของแบบสอบถามทั้งหมด

และน าไปวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ต่อไป 3.5 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

การวิจัยครั้งนี้วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วยโปรแกรมส าเร็จรูปคอมพิวเต อร์โดยได้น าข้อมูลจาก

แ บ บ ส อ บ ถ า ม ที่เ ก็บ ร ว บ ร ว ม ไ ด้ม า เ ป ลี่ย น เ ป็ น ร หัส ตัว เ ล ข ( Code) แล้วบันทึกลงในโปรแกรม เพื่อด าเนินการเคราะห์ข้อมูลทางสถิติตามล าดับ 4 ขั้นตอนดังนี้

1 .

การค านวณหาข้อมูลสถานภาพส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามจากแบบสอ บถาม

(10)

48

ตอนที่ 1 ที่มีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Check-List) ใช้วิธีการหาค- าความถี่ (Frequency)

แล้วสรุปออกมาเป็นค่าร้อยละ (Percentage)

2 .

การค านวณหาข้อมูลทัศนคติของทัศนคติของผู้เข้าร่วมงานเมาลิดสัมพันธ์สู่ควา ม สั น ติ ภ า พ ใ น ยุ ค โ ค วิ ด 1 9 จ า ก แ บ บ ส อ บ ถ า ม ต อ น ที่ 2 ที่มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ใช้วิธีการหาค- าเฉลี่ย (Mean : X ) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation:

S.D.)

3 .

การค านวณหาข้อมูลเกี่ยวกับข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผู้ตอบแบบสอบถ ามจากแบบสอบถามตอนที่ 3 ที่มีลักษณะเป็นแบบปลายเปิด (Open-Ended) ใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา

4. ผลของการวิจัย

4 . 1

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม

ต า ร า ง ที่ 1

แสดงจ านวนและค่าร้อยละของสถานภาพส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามใ นด้านเพศ

เพศ จ านวน ร้อยละ

ชาย 32 16.3

หญิง 164 83.7

รวม 196 100

(11)

49

จากตารางที่ 1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่ได้แก่ เพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 83.7 ที่เหลือได้แก่ เพศชาย คิดเป็นร้อยละ 16.3

ต า ร า ง ที่ 2

แสดงจ านวนและค่าร้อยละของสถานภาพส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามใ นด้านอายุ

อายุ จ านวน ร้อยละ

17 - 20 133 67.9

21 - 24 51 26

25 - 30 4 2

31 ขึ้นไป 8 4.1

รวม 196 100

จากตารางที่ 2 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่ได้แก่ ผู้ที่มีอายุ

17-20 ปี คิดเป็นร้อยละ 67.9 รองลงมาได้แก่ ผู้ที่มีอายุ 21-24 ปี

คิดเป็นร้อยละ 26 ผู้ที่มีอายุ 31 ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 4.1 และ ผู้ที่มีอายุ 25- 30 ปี คิดเป็นร้อยละ 2 ตามล าดับ

ต า ร า ง ที่ 3

แสดงจ านวนและค่าร้อยละของสถานภาพส่วนบุคคลในด้านสถานภาพของผู้ตอ บแบบสอบถาม

สถานภาพ จ านวน ร้อยละ

นักศึกษา 176 89.8

(12)

50

ไม่ใช่นักศึกษ า/ชุมชน

20 10.2

รวม 196 100

จากตารางที่ 3 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่ได้แก่ นักศึกษา คิดเป็นร้อยละ 89.8 ที่เหลือคือไม่ใช่นักศึกษา/ชุมชน คิดเป็นร้อยละ 10.2

4 . 1

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับทัศนคติของผู้เข้าร่วมงานเมาลิดสัมพันธ์สู่ความ สันติภาพ ในยุคโควิด 19 ณ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์

ตารางที่ 4 ด้านการสร้างความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ข้อที่ ด้านการสร้างความสัมพันธ์ซึ่งกันแ

ละกัน

x̅ S.D. แปลความ

1 นั ก ศึ ก ษ า

มนร.มีความสัมพันธ์ระหว่างนักศึก ษาด้วยกัน

3.97 0.92 มาก

2 นักศึกษามีความสัมพันธ์กับชุมชนใ

กล้เคียง 3.71 0.982 มาก

3 กิจกรรมเมาลิดสัมพันธ์สร้างความสั

มพันธ์ระหว่างนักศึกษากับชุมชนใ กล้เคียงมากขึ้น

3.90 0.937 มาก

4 นักศึกษาและชุมชนได้รับประโยชน์

จากกิจกรรมเมาลิดสัมพันธ์มากขึ้น 4.16 0.76 มากที่สุด 5 นักศึกษาและชุมชนสามารถสร้างสั

นติภาพและจัดกิจกรรมร่วมกันได้ม ากขึ้น

4.21 0.768 มากที่สุด

(13)

51

ข้อที่ ด้านการสร้างความสัมพันธ์ซึ่งกันแ ละกัน

x̅ S.D. แปลความ

รวม 3.99 0.873 มาก

จ า ก ต า ร า ง ที่ 4

แสดงถึงระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับเมาลิดสัมพันธ์สู่ความสันติภาพยุคโควิด 19 ด้านความสัมพันธ์ พบว่า มีความคิดเห็นโดยรวมอยู่ในระดับมาก มี ค่ า เ ฉ ลี่ ย ร ว ม เ ท่ า กั บ 3 . 9 9 ซึ่งด้านนักศึกษาและชุมชนสามารถสร้างสันติภาพและจัดกิจกรรมร่วมกันได้ม า ก ขึ้ น มี ค่ า เ ฉ ลี่ ย เ ท่ า กั บ 4.21 ด้านนักศึกษาและชุมชนได้รับประโยชน์จากกิจกรรมเมาลิดสัมพันธ์มากขึ้น มี ค่ า เ ฉ ลี่ ย เ ท่ า กั บ 4 . 1 6 ด้ า น นั ก ศึ ก ษ า ม น ร . มี ค ว า ม สัม พัน ธ์ ร ะ ห ว่า ง นัก ศึก ษ า ด้ว ย กัน มี ค่า เ ฉ ลี่ย เ ท่า กับ 3 . 9 7 ด้านกิจกรรมเมาลิดสัมพันธ์สร้างความสัมพันธ์ระหว่างนักศึกษากับชุมชนใกล้เ คี ย ง ม า ก ขึ้ น มี ค่ า เ ฉ ลี่ ย เ ท่ า กั บ 3 . 9 0 ด้านนักศึกษามีความสัมพันธ์กับชุมชนใกล้เคียง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.71 ตามล าดับ

ต า ร า ง ที่ 5

ด้านการส่งเสริมการร าลึกถึงชีวประวัติท่านศาสดาองค์สุดท้ายของศาสนาอิสลา ม

(14)

52

ข้อที่ ด้านการส่งเสริมการร าลึกถึงชีวประ วัติท่านศาสดาองค์สุดท้ายของศาสน าอิสลาม

x̅ S.D. แปลความ

1 นักศึกษาและชุมชนสามารถจัดกิจก

รรมร าลึกชีวประวัติของท่านศาสดา 4.41 0.670 มาก 2 นักศึกษาและชุมชนมีความรู้ความเ

ข้าใจชีวประวัติของท่านศาสดา 4.35 0.682 มาก 3 นักศึกษาและชุมชนมีความรู้ความเ

ข้าใจด้านสันติภาพของศาสดาต่อสัง คมพหุวัฒนธรรม

4.27 0.711 มาก

4 นักศึกษาและชุมชนสามารถน าชีวป ระวัติของท่านศาสดามาเป็นแบบอย่

างในชีวิตประจ าวัน

4.35 0.760 มาก

5 นักศึกษาและชุมชนสามารถเผยแพ

ร่ชีวประวัติของท่านศาสดาต่อผู้อื่น 4.29 0.694 มาก

รวม 4.33 0.703 มาก

จ า ก ต า ร า ง ที่ 5

แสดงถึงระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับเมาลิดสัมพันธ์สู่ความสันติภาพยุคโควิด ๑๙ ด้านการร าลึกถึงชีวประวัติท่านศาสดาองค์สุดท้ายของศาสนาอิสลาม พบว่า มีความคิดเห็นโดยรวมอยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.33 ซึ่งนักศึกษาและชุมชนสามารถจัดกิจกรรมร าลึกชีวประวัติของท่านศาสดา

มี ค่ า เ ฉ ลี่ ย เ ท่ า กั บ 4.41

ด้านนักศึกษาและชุมชนมีความรู้ความเข้าใจชีวประวัติของท่านศาสดาและด้า นนักศึกษาและชุมชนสามารถน าชีวประวัติของท่านศาสดามาเป็นแบบอย่างใน ชี วิ ต ป ร ะ จ า วั น มี ค่ า เ ฉ ลี่ ย เ ท่ า กั บ 4 . 35

(15)

53

ด้านนักศึกษาและชุมชนสามารถเผยแพร่ชีวประวัติของท่านศาสดาต่อผู้อื่น

มี ค่ า เ ฉ ลี่ ย เ ท่ า กั บ 4 . 2 9

ด้านนักศึกษาและชุมชนมีความรู้ความเข้าใจด้านสันติภาพของศาสดาต่อสังคม พหุวัฒนธรรม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.27 ตามล าดับ

ตารางที่ 6 ด้านการเสริมสร้างความสันติภาพ

ข้อที่ ด้านการเสริมสร้างความสันติภาพ x̅ S.D. แปลความ 1 ร่วมแรงร่วมใจในการจัดกิจกรรมเ

มาลิดท่านศาสดาเพื่อก่อให้เกิดสันติ

ภาพ

4.30 0.719 มาก

2 สันติภาพเกิดขึ้นด้วยการสรรเสริญ

ต่อศาสดามูฮัมหมัด 4.40 0.741 มาก

3 สรรเสริญต่อศาสดาเป็นวิธีหนึ่งห่าง

ไกลจากภัยพิบัติ 4.43 0.648 มาก

4 สรรเสริญต่อศาสดาท าให้สร้างจิตใจ

สงบ 4.56 0.634 มากที่สุด

5 สรรเสริญต่อศาสดาเป็นแนวทางท า

ให้ศาสดารักใคร่ 4.51 0.683 มากที่สุด

6 สรรเสริญต่อศาสดาสามารถน าพาไ

ปสู่ความส าเร็จโลกนี้และโลกหน้า 4.60 0.568 มากที่สุด

รวม 4.47 0.665 มาก

จ า ก ต า ร า ง ที่ 6

แสดงถึงระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับเมาลิดสัมพันธ์สู่ความสันติภาพยุคโควิด ๑ ๙ ด้ า น ก า ร เ ส ริ ม ส ร้ า ง ค ว า ม สั น ติ ภ า พ พ บ ว่ า มีความคิดเห็นโดยรวมอยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.47 ซึ่งสรรเสริญต่อศาสดาสามารถน าพาไปสู่ความส าเร็จโลกนี้และโลกหน้า

(16)

54

มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.60 ด้านสรรเสริญต่อศาสดาท าให้สร้างจิตใจสงบ มี ค่ า เ ฉ ลี่ ย ร ว ม เ ท่ า กั บ 4.56 ด้านสรรเสริญต่อศาสดาเป็นแนวทางท าให้ศาสดารักใคร่ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.51 ด้านสรรเสริญต่อศาสดาเป็นวิธีหนึ่งห่างไกลจากภัยพิบัติ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4 . 43 ด้า น สัน ติภ า พ เ กิ ด ขึ้น ด้ว ย ก า ร ส ร ร เ ส ริญ ต่อ ศ า ส ด า มู ฮัม หมัด

มี ค่ า เ ฉ ลี่ ย เ ท่ า กั บ 4 . 40

ด้านร่วมแรงร่วมใจในการจัดกิจกรรมเมาลิดท่านศาสดาเพื่อก่อให้เกิดสันติภา พ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.30 ตามล าดับ

ต า ร า ง ที่ 7

ด้านการสร้างความเข้าใจในชีวประวัติ/สรรเสริญต่อศาสดาในภาษาอาหรับ/ภา ษามลายู

ข้อที่ ด้านการสร้างความเข้าใจในชีวประวัติ/

สรรเสริญต่อศาสดาในภาษาอาหรับ/ภา ษามลายู

x̅ S.D. แปลความ

1 เรียนรู้ความหมายชีวประวัติและสรรเส

ริญท่านศาสดาในภาคภาษาอาหรับ 4.20 0.701 มาก

2 มีความซาบซึ้งตอนอ่านชีวประวัติของท่

านศาสดาและสรรเสริญในภาษาอาหรับ 4.33 0.661 มาก 3 มีความซาบซึ้งเมื่อฟังชีวประวัติ/สรรเสริ

ญต่อศาสดาในภาษามลายูท้องถิ่น 4.48 0.660 มาก

รวม 4.34 0.674 มาก

จ า ก ต า ร า ง ที่ 7

แสดงถึงระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับเมาลิดสัมพันธ์สู่ความสันติภาพยุคโควิด

๑ ๙

ด้านการสร้างความเข้าใจในชีวประวัติ/สรรเสริญต่อศาสดาของภาษาอาหรับ/ภ

(17)

55

าษามลายู พบว่า มีความคิดเห็นโดยรวมอยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ

4 .34

ซึ่งด้านมีความซาบซึ้งเมื่อฟังชีวประวัติ/สรรเสริญต่อศาสดาในภาษามลายูท้อง

ถิ่ น มี ค่ า เ ฉ ลี่ ย เ ท่ า กั บ 4.48

ด้านมีความซาบซึ้งตอนอ่านชีวประวัติของท่านศาสดาและสรรเสริญในภาษาอ า ห รั บ มี ค่ า เ ฉ ลี่ ย ร ว ม เ ท่ า กั บ 4.33 ด้านเรียนรู้ความหมายชีวประวัติและสรรเสริญท่านศาสดาในภาคภาษาอาหรับ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.20 ตามล าดับ

สรุป และอภิปรายผลการวิจัย

บระดับทัศนคติของผู้มาร่วมงานเมาลิดสัมพันธ์สู่ความสันติภาพยุคโควิ

ด 19 จากแบบสอบถามสรุปได้ดังนี้

1. ทัศนคติด้านการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างนักศึกษา บุคลากร แ ล ะ ชุ ม ช น ใ ก ล้ เ คี ย ง ที่ มี ค่ า เ ฉ ลี่ ย ม า ก ที่ สุ ด คื อ นัก ศึ ก ษ า แ ล ะ ชุ ม ช น ส า ม า ร ถ ส ร้ า ง ค ว า ม สัม พัน ธ์ ซึ่ ง กัน แ ล ะ กัน และจัดกิจกรรมร่วมกันได้มากขึ้น

2.

ทัศนคติด้านการส่งเสริมการร าลึกถึงชีวประวัติท่านศาสดาองค์สุดท้ายของศาส น า อิ ส ล า ม ที่ มี ค่ า เ ฉ ลี่ ย ม า ก ที่ สุ ด คื อ นักศึกษาและชุมชนสามารถจัดกิจกรรมร าลึกชีวประวัติของท่านศาสดา

3. ทัศนคติด้านการเสริมสร้างความสันติภาพ ที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือ สรรเสริญต่อศาสดาสามารถน าพาไปสู่ความส าเร็จโลกนี้และโลกหน้า

4.

ทัศนคติด้านการสร้างความเข้าใจในชีวประวัติ/สรรเสริญต่อศาสดาของภาษาอ

(18)

56

า ห รั บ / ภ า ษ า ม ล า ยู ที่ มี ค่ า เ ฉ ลี่ ย ม า ก ที่ สุ ด มีความซาบซึ้งเมื่อฟังชีวประวัติ/สรรเสริญต่อศาสดาในภาษามลายูท้องถิ่น

อภิปรายผล 1.

ด้านการสร้างความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันระหว่างผู้เข้าร่วมงานเมาลิดสัมพันธ์

มี ค ว า ม เ ห็ น ว่ า

นักศึกษาและชุมชนสามารถสร้างสันติภาพและจัดกิจกรรมร่วมกันได้มากขึ้น ก ล่า ว คือ ใ น ก า ร ท า กิ จ ก ร ร ม ร่ว ม กัน ร ะ ห ว่ า ง นัก ศึก ษ า บุ ค ล า ก ร และชุมชนใกล้เคียงนั้นท าให้มีการแลกเปลี่ยนความคิดระหว่างคนต่างวัยและต่

างประสบการณ์ซึ่งจะน าไปสู่ความเข้าใจจนสามารถสร้างสันติภาพภายในสังค ม ไ ด้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ร า ย ง า น ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง นักศึกษาศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง การเสริมสร้างสังคมสันติสุข รุ่นที่ 6 ศึกษาในเรื่อง สันติสุขเกิดได้ภายใต้คว ามแ ตกต่าง6 พบว่า สัง ค ม ก า ร เ รี ย น รู้ ข อ ง นัก ศึ ก ษ า 4ส 6 เ ป็ น บ ท พิ สู จ น์ ว่ า แ น ว คิ ด

“ สั น ติ สุ ข เ กิ ด ไ ด้ ภ า ย ใ ต้ ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง ” นั้ น เป็นจริงได้เริ่มจากเปิดพื้นที่ปลอดภัยที่มีสภาพแวดล้อมเอื้ออ านวยต่อการท าคว า ม รู้ จั ก ก า ร พู ด คุ ย แ ล ะ ก า ร ท า กิ จ ก ร ร ม ร่ ว ม กั น การสื่อสารระหว่างคู่ขัดแย้งในประเด็นที่อ่อนไหวท่ามกลางหมู่เพื่อนที่มีความเ ป็ น ก ล า ง ท า ง ค ว า ม คิ ด ม า ก ก ว่ า ท า ใ ห้ ส า ม า ร ถ เ ปิ ด ใ จ ยิ่งเมื่อมีโอกาสรับฟังความคิดเห็นของอีกฝ่ายหนึ่งโดยใช้เหตุผลมากขึ้น มีปฏิสัมพันธ์และพื้นที่การสื่อสารที่มากเพียงพอ จึงมีความเข้าใจกันมากขึ้น ย อ ม รั บ ผู้ อื่ น ไ ด้ ม า ก ขึ้ น ล ด อ ค ติ ข อ ง ตั ว เ อ ง ล ง จนเกิดความเชื่อถือและไว้วางใจกัน และน าไปสู่การลดเงื่อนไขความแตกต่าง เพื่อไม่ให้เป็นอุปสรรค ต่อการท างานร่วมกันหรือการท ากิจกรรมอื่น ๆ

6 นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง การเสริมสร้างสังคมสันติสุข รุ่นที่ 6, ‘สันติสุขเกิดได้ภายใต้

ความแตกต่าง.’, หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูงการเสริมสร้างสังคมสันติสขุ รุ่นที่ 6, 2559.

(19)

57

ที่ เ กิ ด ขึ้ น ต า ม ม า ห ลัง จ า ก นั้น เ มื่ อ มี กิ จ ก ร ร ม น อ ก ห้อ ง เ รี ย น แ ล ะ

กิ จ ก ร ร ม เ พื่ อ สั ง ค ม เ กิ ด ขึ้ น

จึงได้รับความไว้วางใจและความร่วมมือที่ดีจากเพื่อนนักศึกษาทุกคนในรุ่น ที่ต่างมีส่วนร่วมช่วยเหลือและร่วมท าจนกิจกรรมดังกล่าวประสบความส าเร็จด้ว ย ดี น อ ก จ า ก นี้ ง า น วิ จัย ข อ ง มัณ น า น ม า ม ะ ปุ ณ ณ รัต น์ พิ ช ญ

ไ พ บู ล ย์ แ ล ะ ข น บ พ ร แ ส ง ว ณิ ช 7

ศึกษาเกี่ยวกับกิจกรรมภูมิปัญญาศิลปะไทยเพื่อส่งเสริมสันติวัฒนธรรม บนหลักการพื้นฐานของ ภูมิปัญญาศิลปะไทยประกอบด้วย ศิลปะชั้นสูง ศิ ล ป ะ ป ร ะ ช า นิ ย ม แ ล ะ ศิ ล ป ะ พื้ น บ้ า น ที่ มี ค ว า ม สัม พัน ธ์ เ ชื่ อ ม โ ย ง กับ ก า ร เ ส ริ ม ส ร้ า ง สัน ติ วัฒ น ธ ร ร ม โดยค านึงถึงเป้าประสงค์เดียวกัน คือ 1) ความเคารพและไว้วางใจ 2) ค ว า ม เ ท่ า เ ที ย ม กั น แ ล ะ 3) ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม เ ดี ย ว กั น เ ป็ น ลั ก ษ ณ ะ ที่ ส ะ ท้ อ น ใ ห้ เ ห็ น ว่ า บุ ค ค ล ชุ ม ช น สั ง ค ม มี สั น ติ วั ฒ น ธ ร ร ม ด้ ว ย ก า ร ใ ห้ คุ ณ ค่ า ทั ศ น ค ติ พ ฤ ติ ก ร ร ม การใช้ชีวิตที่ไม่ใช้ความรุนแรง มีความใกล้ชิดกลมกลืนกันของ อัตลักษณ์

ความเชื่อ และแบบแผนการปฏิบัติในวิถีชีวิต รวมถึงการจัดการป้องกันความ ขัดแย้งที่จะเกิดขึ้นด้วยสันติวิธี

2.

ด้านการส่งเสริมการร าลึกถึงชีวประวัติท่านศาสดาองค์สุดท้ายของศาสนาอิสลา ม ผู้ เ ข้ า ร่ ว ม ง า น เ ม า ลิ ด สั ม พั น ธ์ มี ค ว า ม เ ห็ น ว่ า นักศึกษาและชุมชนสามารถจัดกิจกรรมร าลึกชีวประวัติของท่านศาสดา เ พ ร า ะ ผู้ เ ข้ า ร่ ว ม ง า น เ ม า ลิ ด สั ม พั น ธ์ มี จุ ด มุ่ ง ห ม า ย เ ดี ย ว กัน คือเพื่อร าลึกถึงท่านศาสดามูฮัมมัด (ซ.ล) โดยผ่านการอ่านบทกวี (บัรซัญญี )

7 มัณนาน มามะปุณณรัตน์ พิชญไพบูลย์ and ขนบพร แสงวณิช,

‘กิจกรรมภูมิปัญญาศิลปะไทยเพื่อส่งเสริมสันติวัฒนธรรม บนหลักการพื้นฐานของ ภูมิปัญญาศิลปะไทยประกอบด้วย ศิลปะชั้นสูง ศิลปะประชานิยม และศิลปะพื้นบ้าน

ที่มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับการเสริมสร้างสันติวัฒนธรรม’, Journal of Liberal Arts, Prince of Songkla University, 2019.

(20)

58

ที่ ก ล่ า ว ถึ ง ชี ว ป ร ะ วั ติ ข อ ง ท่ า น ม า อ่ า น เพื่อน ามาเป็นแนวทางของการด าเนินชีวิตแก่มุสลิมและกล่าวซอลาวาตนบีเป็น ส่ ว น ห นึ่ ง ข อ ง ก า ร ใ ห้ เ กี ย ร ติ ย ก ย่ อ ง ร ว ม ถึ ง ก า ร ป ฏิ บัติ ต า ม ค า สั่ง ล ะ เ ว้ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ค า สั่ ง ห้ า ม ข อ ง ท่ า น แ ล ะ ด า เ นิ น ต า ม แ บ บ อ ย่ า ง ข อ ง ท่ า น ศ า ส ด า มู ฮัม ห มัด ( ซ ล . ) ทั้ ง นี้ ก า ร มี จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ เ ดี ย ว กั น ข อ ง นั ก ศึ ก ษ า บุ ค ล า ก ร แ ล ะ ชุ ม ช น ท า ใ ห้ มี ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ที่ ดี ต่ อ กั น ไ ด้ ส อ ด ค ล้ อ ง กับ ง า น วิ จัย ข อ ง ก ม ล รัต น์ ห นู ส วี8 ศึ ก ษ า เ รื่ อ ง การมีส่วนร่วมและความต้องการกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาระดับป ริญญาตรีมหาวิทยาลัยศิลป ากร พระราชวังสนามพระจันทร์ พบว่า นักศึกษาส่วนใหญ่มีส่วนร่วมกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพมากในกิจกรรม Freshy Game จ า น ว น 344 ค น ร้ อ ย ล ะ 88.66 ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวจัดเพื่อเสริมสร้างให้นักศึกษาใหม่ได้เล่นกีฬาเพื่อพัฒนาสุข ภาพกายและสุขภาพจิต รู้จักการท างานเป็นทีม กล้าแสดงออก มีความสามัคคี

นักศึกษาของทุกคณะมีความสัมพันธ์อันดีต่อกัน

3. ด้ า น ก า ร เ ริ ม ส ร้ า ง ค ว า ม สั น ติ ภ า พ ผู้ เ ข้ า ร่ ว ม ง า น เ ม า ลิ ด สั ม พั น ธ์ มี ค ว า ม เ ห็ น ว่ า สรรเสริญต่อศาสดาสามารถน าพาไปสู่ความส าเร็จโลกนี้และโลกหน้า ซึ่ ง ไ ด้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ง า น วิ จั ย ข อ ง Ningrum Lestari 9 พ บ ว่ า ส่วนหนึ่งของความประเสริฐของการกล่าวซอลาวาตแด่ท่านรอซูล คือ เ ป็ นส าเ หตุใ ห้เ ข าไ ด้รับ กา ร ซ ะ ฟ าอ ะ ฮฺ (ช่ว ยเ หลื อ ) ในวันกี ย า มัต

8 กมลรัตน์ หนูสวี,

‘การมีส่วนร่วมและความต้องการกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามพระจันทร์ สาขาวิชาวิทยาการสังคมและการจัดการระบบสุขภาพ’ (มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2553).

9 Ningrum Lestari, ‘Salawat Nabi Antara Teks Dan Praktek . Program Studi Ilmu Al-Quran Dan Tafsir Fakultas Ushuluddin Universitas Ialam Negeri Syarif Hidayahtullah Jakarta . 2019’

(Universitas ialam negeri Syarif Hidayahtullah Jakarta, 2019).

(21)

59

ร ว ม ถึ ง ง า น วิ จั ย ข อ ง Wisnu Khoir 10 ก ล่ า ว ว่ า ก า ร ก ล่ า ว ซ อ ล า ว า ต ท า ใ ห้ จิ ต ใ จ ผู้ อ่ า น ส ง บ ส่งผลให้การกล่าวซอลาวาตด้วยความเชื่อมั่นและศรัทธาต่อท่านศาสดา

4.

ด้านการสร้างความเข้าใจในชีวประวัติ/สรรเสริญต่อศาสดาในภาษาอาหรับ/ภา ษ า ม ล า ยู ผู้ เ ข้ า ร่ ว ม ง า น เ ม า ลิ ด สั ม พั น ธ์ มี ค ว า ม เ ห็ น ว่ า มีความซาบซึ้งเมื่อฟังชีวประวัติหรือสรรเสริญต่อศาสดาในภาษามลายูท้องถิ่น กล่าวคือ ผู้เข้าร่วมงานส่วนใหญ่ใช้ภาษามลายูในการสื่อสาร พูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดอยู่แล้วเมื่อฟังชีวประวัติหรือสรรเสริญต่อศาสดาในภาษาม ล า ยู ท้ อ ง ถิ่ น ส่ ง ผ ล ใ ห้ ก า ร สื่ อ ส า ร มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ มีความเข้าใจและซาบซึ้งมากกว่าภาษาอาหรับ ซึ่งได้สอดคล้องกับงานวิจัยของ

จั น ทิ ม า พ ง ษ์ พั น ธุ์ 11 พ บ ว่ า

ภาษาเป็นส่วนส าคัญอย่างยิ่งในการช่วยให้การสื่อสารมีประสิทธิภาพมากขึ้นแล ะมีส่วนผลักดันให้งานประสบความส าเร็จตรงตามเป้าหมายที่องค์กรก าหนดไว้

ร ว ม ถึ ง ง า น วิ จั ย ข อ ง วั น จ รั ต น์ เ ด ช วิ ลั ย ศึ ก ษ า เ รื่ อ ง ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ภ า ษ า ต า ม ตั ว แ ป ร สั ง ค ม พ บ ว่ า ภ า ษ า ใ น ฐ า น ะ วั ฒ น ธ ร ร ม เ ป็ น ส่ ว น ห นึ่ ง ข อ ง สั ง ค ม จึงท าให้ไม่สามารถแยกความสัมพันธ์ของภาษากับสังคมออกจากกันได้

สรุปและข้อเสนอแนะ

จ า ก ผ ล ก า ร วิ จั ย พ บ ว า

ระดับทัศนคติของผู้มาร่วมงานเมาลิดสัมพันธ์สู่ความสันติภาพยุคโควิด 19 ทั้ง 4 ด้าน อ ยู ในร ะ ดับ ม าก โดย เ รี ยง ล าดับ จ าก ม า กไ ป ห า น้อ ย ดัง นี้

10 Wisnu Khoir, ‘Peranan Shalawat Dalam Relaksasi Pada Jama’ah Mejelis Rasulullah Di Pancoran’ (UIN Syrif Hidayatullah Jakarta, 2007).

11 จันทิมา พงษ์พันธุ์, ‘การสื่อสารเชิงวัจนภาษา (ภาษาพูด) ผ่านรูปแบบการสื่อสารแบบรวบรัด กรณีศึกษาธุรกิจร้านอาหาร ธุรกิจตลาดประมูลสินค้าและธุรกิจการบินระหว่างประเทศ’

(มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต, 2548).

(22)

60

1 . ด้ า น ก า ร เ ส ริ ม ส ร้ า ง ค ว า ม สั น ติ ภ า พ 2 . ด้านการส่งเสริมการร าลึกถึงชีวประวัติท่านศาสดาองค์สุดท้ายของศาสนาอิสลา

ม 3 .

ด้านการสร้างความเข้าใจในชีวประวัติ/สรรเสริญต่อศาสดาทั้งในภาษาอาหรับ และภาษามลายู และ 4. ด้านการสร้างความสัมพันธ์ซึ่งกัน ระหว่าง นักศึกษา บุคลากรมหาวิทยาลัยนราธิวาสฯ และชุมชนใกล้เคียง

ข้ อ คิ ด เ ห็ น แ ล ะ ข อ เ ส น อ แ น ะ พ บ ม า ก ที่ สุ ด คื อ 1.ท าให้เรามีความสนใจกับประวัติศาสตร์ของศาสดาของเรามากขึ้น 2 . ท า ใ ห้ เ ร า ร า ลึ ก ถึ ง ศ า ส ด า มู หั ม มั ด ( ซ . ล . ) ม า ก ยิ่ ง ขึ้ น 3.ท าให้เรามีความรับผิดชอบในชีวิตประจ าวันของเราแบบอย่างศาสดาของเรา 4.สันติภาพจะเกิดขึ้นได้ เมื่อทุกคนท าปฏิบัติตามท่านศาสดามูหัมมัด (ซ.ล. )

Referensi

Dokumen terkait

Aset keuangan dalam kelompok tersedia untuk dijual adalah aset keuangan non-derivatif yang ditetapkan untuk dimiliki selama periode tertentu, dimana akan dijual dalam rangka pemenuhan

This situation has an impact on increasing the number of poor people, where the community is the group most affected by the Covid-19 pandemic (Kadir et al., 2020).. one of which is

"Evolution of severe acute respiratory syndrome coronavirus 2 (SARS- CoV-2) as coronavirus disease 2019 (COVID- 19) pandemic: A global health emergency", Science of The

"The Impact of Covid-19 Pandemic on The Innovations of Elementary School.. Prospective Principals

Candra Irawan | Legal Analysis of the Corona Virus Disease Pandemic (Covid-19) 7 (1) Ensuring that there is no bad ethics from either party or the parties based on the

"Analysis of the Role of Parents in Online Learning in the Covid-19 Pandemic", ijd-demos,

As for the inhibiting factors in the online learning process during the Covid-19 pandemic at the Office Administration Education Study Program, Faculty of Social

Terkait hubungan ini, dinukilkan dari Abdul Wahid al-Lughawi (w. 315 H) menerangkan: “Qalb adalah sebutan dalam arti fu’ād, tetapi terkadang juga sebagai ungkapan bagi arti