• Tidak ada hasil yang ditemukan

การน าเสนอผลของการจัดการ เรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา

สารบัญตาราง

Module 4 42 ชม.)

5) การน าเสนอผลของการจัดการ เรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา

สะเต็มศึกษาและ ทักษะการแก้ปัญหา

Module 2 (6 ชม.) ขั้นตอนการ จัดการเรียนรู้

ตามแนวทาง สะเต็มศึกษา

Module 3 (12 ชม.) การออกแบบแผนการ จัดการเรียนรู้ตาม แนวทางสะเต็มศึกษา ที่สอดคล้องกับบริบท สถานศึกษา

Module 4 (42 ชม.)

การน าเสนอผลของ การจัดการเรียนรู้

ตามแนวทาง สะเต็มศึกษา

วิธีการพัฒนา

1) การฝึกอบรมและสัมมนา 2) การเรียนรู้ด้วยตนเอง 3) การเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง

กิจกรรมย่อย

1) ท าแบบทดสอบก่อนการอบรม 2) เรียนรู้ทฤษฎีการจัดการเรียนรู้ตาม แนวทางสะเต็มศึกษา จากวิทยากร และศึกษาด้วยตนเองเพิ่มเติมจาก เอกสารประกอบการบรรยาย 3) เรียนรู้ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้

ตามแนวทางสะเต็มศึกษาจากวิทยากร 4) การออกแบบแผน น าเสนอแผน และร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากการ ออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ตาม แนวทางสะเต็มศึกษา (ร่วมกัน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้เข้ารับการ อบรมกับวิทยากร)

5) การน าเสนอผลของการจัดการ เรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา 6) ท าแบบทดสอบหลังการอบรม การประเมินผลโปรแกรม

1. การประเมินความเข้าใจ ก่อน-หลัง การพัฒนา 2. การประเมินความสามารถในการออกแบบ จัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา

3. การประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมพัฒนา

153

ภาพประกอบ 5 Module 1 ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา และทักษะการแก้ปัญหา

หลักการ

สะเต็มศึกษา คือ แนวทางการจัดการศึกษาที่บูรณาการความรู้ใน 4 สหวิทยาการ ได้แก่ วิทยาศาสตร์

วิศวกรรม เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ โดยเน้นการน าความรู้ไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตจริง รวมทั้งการพัฒนา กระบวนการหรือผลผลิตใหม่ ที่เป็นประโยชน์ต่อการด าเนินชีวิต และการท างาน

ทักษะการแก้ปัญหา หมายถึง การใช้ประสบการณ์ทีค้นพบด้วยตนเองทีเกิดจากการสังเกต การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การตีความ และการสรุปความเพื่อน าไปสู่การแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล

วัตถุประสงค์

เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนาเกิดความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ตาม แนวทางสะเต็มศึกษาและทักษะการแก้ปัญหา

เนื้อหา

Module 1 ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาและทักษะ การแก้ปัญหา (จ านวน 3 ชั่วโมง)

1. ความเป็นมาของการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา

2. ความหมายและความส าคัญของการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา 3. หลักการของการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา

4. ทักษะการคิดแก้ปัญหา

5. บริบทสถานศึกษาส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1

วิธีพัฒนา 1. การเรียนรู้ด้วยตนเอง 2. การฝึกอบรมและร่วมสัมมนา

การประเมินผล การประเมินความเข้าใจก่อน–หลัง

การพัฒนา

กิจกรรม

1) ท าแบบทดสอบก่อนการอบรม 2) เรียนรู้ทฤษฎีการจัดการเรียนรู้

ตามแนวทางสะเต็มศึกษาและ ทักษะการแก้ปัญหา จากวิทยากร และศึกษาด้วยตนเองเพิ่มเติมจาก เอกสารประกอบการบรรยาย 3) รับค าแนะน าจากเพื่อนผู้เข้า อบรมและวิทยากร

154

หลักการ

ขั้นตอนของการจัดเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาประกอบด้วย 6 ขั้นตอน ดังนี้ 1.ด้านการระบุปัญหา 2. ด้านการรวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหา 3. ด้านการออกแบบวิธีการแก้ปัญหา 4. ด้านการวางแผน และด าเนินการแก้ปัญหา 5. ด้านการทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแก้ไข การแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน และ 6. ด้านการน าเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน

วัตถุประสงค์

เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนาเกิดความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับขั้นตอนของการจัดเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา เนื้อหา

Module 2 ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา (จ านวน 6 ชั่วโมง)

การระบุปัญหา

1) การสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนที่ส่งเสริมให้นักเรียนกล้าแสดงออก โดยครูต้องเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แลกเปลี่ยน ความคิดเห็นกับเพื่อนในชั้นเรียน

2) การกระตุ้นความคิดของนักเรียน เช่น ครูถามค าถามปลายเปิด ครูใช้สื่อ VDO ในการน าเสนอเรื่องที่ต้องการให้

นักเรียนคิด

3) ทักษะการเชื่อมโยงความรู้โดยอาศัยประสบการณ์เดิม ครูถามค าถามให้นักเรียนคิดเรื่องราวในอดีตหรือเรื่องที่เคย เรียนผ่านมาแล้ว

4) การระบุปัญหาจากสถานการณ์ได้ตรงประเด็น ครูช่วยแนะน าแนวทางการระบุปัญหา

5) การก าหนดขอบเขตของปัญหา ครูจะช่วยนักเรียนก าหนดปัญหาและบอกให้นักเรียนทราบขอบเขตของปัญหา ร่วมกัน

การรวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหา

1) การเตรียมสิ่งอ านวยความสะดวกในการแสวงหาข้อมูล เช่น ระบบอินเทอร์เน็ต ค้นคว้าด้วยตนเอง ห้องสมุด เอกสาร ประกอบการเรียนการสอน เป็นต้น

2) การก าหนดแนวทางการแก้ปัญหา เช่น การท าแผนผังความคิดเพื่อรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับประเด็นปัญหา 3) การสอบถามจากครูผู้สอน เพื่อให้ได้แนวคิดที่ถูกต้องและชัดเจนยิ่งขึ้น

4) ทักษะการตัดสินใจเลือกแนวทางแก้ไขปัญหาที่เหมาะสมที่สุด 5) การน าข้อมูลมาสรุปเป็นของนักเรียนเอง

การออกแบบวิธีการแก้ปัญหา

1) ทักษะการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ครูต้องมีการออกแบบแผนการเรียนรู้ที่มีทั้ง ความรู้

ประสบการณ์และความต้องการของผู้เรียน

155

ภาพประกอบ 6 Module 2 ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา วิธีพัฒนา

1. การเรียนรู้ด้วยตนเอง 2. การเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง 3. การฝึกอบรมและร่วมสัมมนา

การประเมินผล

การประเมินความเข้าใจก่อน – หลังการพัฒนา

กิจกรรม

1) เรียนรู้ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้

ตามแนวทางสะเต็มศึกษาจากวิทยากร 2) ทดลองเขียนในแต่ละขั้นตอนด้วย ตนเอง

3) น าแต่ละขั้นตอนให้เพื่อนผู้เข้า อบรมหรือวิทยากรตรวจสอบ เพื่อให้ค าแนะน า

2) ทักษะการออกแบบร่างแนวและวิธีการแก้ปัญหาจากร่างแนวคิดของงานตนเอง เช่น ทักษะการคิดสร้างสรรค์ ทักษะการแก้ปัญหา และทักษะการสรุปจดบันทึก

3) การประเมินร่างแนวคิด นักเรียนประเมินความสมเหตุสมผลจากร่างแนวคิดของงานตนเอง โดยมีครูเป็นผู้ชี้แนะ

4) การตรวจสอบขั้นตอนและความเหมาะสม ทบทวนร่างแนวคิดเพื่อหาวิธีการที่ดีที่สุด การวางแผนและด าเนินการแก้ปัญหา

1) การจัดท ารายละเอียดขั้นตอนการด าเนินงาน เช่น การจัดล าดับขั้นตอนก่อนหลัง ระยะเวลา ค่าใช้จ่าย ผู้รับผิดชอบงานในแต่ละขั้นตอน เป็นต้น

2) การลงมือปฏิบัติตามขั้นตอนการด าเนินงาน

3) ทักษะการให้ค าปรึกษาในการแก้ปัญหาในวิธีการอื่น ๆ

4) การตรวจสอบ รายงานความก้าวหน้า และบันทึกความส าเร็จตามแผน การทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแก้ไข การแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน

1) การก าหนดประเด็นในการทดสอบให้สอดคล้องกับจุดประสงค์ของชิ้นงาน เช่น การทดสอบ ตรงตามวัตถุประสงค์

2) การประเมินด้วยวิธีการที่หลากหลาย เช่น การสังเกต การถามค าถามปลายเปิด การประเมิน กระบวนการกลุ่ม เป็นต้น

3) การวิเคราะห์ผลการทดสอบเพื่อหาแนวทางปรับปรุงแก้ไขชิ้นงาน 4) การขออนุมัติแผน และการขอปรับปรุง

การน าเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน

1) การน าเสนอตามขั้นตอนการวางแผน การน าเสนอผลการแก้ปัญหา มีการใช้ภาษาถูกต้อง มีบุคลิกท่าทางที่ดี มีความมั่นใจ และมีมารยาทในการพูด

2) การน าเสนอหน้าชั้นเรียน หรือการน าเสนอในรูปแบบของโครงงาน 3) การรับฟังข้อเสนอแนะและเปิดโอกาสให้ผู้ฟังได้ถาม

156

หลักการ

สะเต็มศึกษา คือ แนวทางการจัดการศึกษาที่บูรณาการความรู้ใน 4 สหวิทยาการ ได้แก่ วิทยาศาสตร์

วิศวกรรม เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ โดยเน้นการน าความรู้ไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตจริง รวมทั้งการพัฒนา กระบวนการหรือผลผลิตใหม่ ที่เป็นประโยชน์ต่อการด าเนินชีวิต และการท างาน

การเขียนแผนแบบ 5 E คือ รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ ประกอบด้วย

1. ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) เป็นการน าเข้าสู่บทเรียนด้วยเรื่องที่สนใจทั้งจาก ตัวนักเรียนหรือการอภิปรายในห้อง เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนสร้างประเด็นค าถาม

2. ขั้นส ารวจและค้นหา (Exploration) เป็นขั้นวางแผนก าหนดแนวทางตั้งสมมติฐาน รวมถึง การเก็บรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ เช่น ท าการทดลอง ท ากิจกรรม

3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) น าข้อมูลไปวิเคราะห์ แปลผล สรุปผล และน าเสนอผล ที่ได้ในรูปต่าง ๆ เช่น บรรยายสรุป สร้างแบบจ าลองทางคณิตศาสตร์ หรือรูปวาด

4. ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) เป็นการน าความรู้ที่สร้างขึ้นไปเชื่อมโยงกับความรู้เดิมหรือ ความคิดที่ได้ค้นคว้าเพิ่มเติมหรือน าแบบจ าลองหรือข้อสรุปที่ได้ไปใช้อธิบายสถานการณ์หรือเหตุการณ์อื่น ๆ 5. ขั้นประเมิน (Evaluation) เป็นการประเมินการเรียนรู้ด้วยกระบวนการต่าง ๆ ว่านักเรียนมี

ความรู้อะไรบ้าง อย่างไร และมากน้อยเพียงใด จากขั้นนี้จะน าไปสู่การน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ในเรื่องอื่น ๆ

วัตถุประสงค์

เพื่อให้ผู้เข้ารับการพัฒนาสามารถออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา

เนื้อหา

Module 3 การออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาที่สอดคล้อง กับบริบทสถานศึกษา (จ านวน 12 ชั่วโมง)

เขียนแผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาที่สอดคล้องกับบริบทสถานศึกษา โดยเขียน แผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาแบบ 5 E ในแผนจะประกอบด้วย 5 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นสร้าง ความสนใจ (Engagement) 2) ขั้นส ารวจและค้นหา (Exploration) 3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) 4) ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) 5) ขั้นประเมิน (Evaluation) และแผนจะต้องสอดคล้องกับบริบทของ สถานศึกษาในสังกัด

Dokumen terkait