• Tidak ada hasil yang ditemukan

จุดมุ่งหมายของการประเมินความต้องการจ าเป็น

สารบัญตาราง

ภาพประกอบ 1 กรอบแนวคิดการวิจัย

3. จุดมุ่งหมายของการประเมินความต้องการจ าเป็น

มีนักวิชาการหลายท่านได้กล่าวถึงจุดมุ่งหมายของการประเมินความต้องการจ าเป็นไว้

ดังนี้

Witkin และ Altschuld (1995) กล่าวว่า จุดมุ่งหมายของการประเมินความต้องการ จ าเป็น เป็นการด าเนินการเพื่อมุ่งพัฒนาและปรับปรุงโปรแกรมการบริการโครงสร้างขององค์การ และการด าเนินการเพื่อมุ่งพัฒนาและปรับปรุงโปรแกรมการบริการโครงสร้างขององค์การ และการด าเนินงานขององค์การให้ดีขึ้นหรือผสานองค์ประกอบเหล่านี้เข้าด้วยกันการประเมิน ความต้องการจ าเป็นจะวางหลักเกณฑ์ในการก าหนดว่าจะจัดสรรเงินพนักงาน อุปกรณ์ และทรัพยากร ที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุดได้อย่างไร

คมสร วงษ์รักษา (2540) กล่าวว่า จุดมุ่งหมายที่เป็นพื้นฐานส าคัญของการประเมิน ความต้องการจ าเป็นมี 4 ประการ คือ

1. เพื่อให้ได้ข้อมูลเพื่อการวางแผน ซึ่งจะส่งผลในการจ าแนกเป้าหมาย การตัดสินใจ ถึงขอบเขตของเป้าหมายว่าจะท าได้แค่ไหน

2. เพื่อเป็นการตรวจวิเคราะห์หรือการจ าแนกแยกแยะปัญหาหรือหาจุดอ่อนของ สิ่งที่ศึกษาอันจะท าให้การวางแผนเป็นไปอย่างเหมาะสม

3. เพื่อใช้เป็นส่วนประกอบส าหรับการประเมินหลาย ๆ รูปแบบ

4. เพื่อน าไปใช้กับการรับรองสถาบันการศึกษา เช่น การประเมินผลผลิตในเรื่อง ของนักศึกษา ผลการประเมินชนิดนี้น าไปจ าแนกความพยายามทางการศึกษาของโรงเรียนว่าเกิด ประสิทธิผลหรือไม่ และยังจ าแนกของเขตวิชาหรือสถานที่ตั้ง ซึ่งสัมฤทธิ์ผลทางการศึกษามีน้อย

สุวิมล ว่องวาณิช (2548) กล่าวว่า จุดมุ่งหมายของการประเมินความต้องการจ าเป็น คือความพยายามให้ได้ข้อมูลที่ช่วยเสริมการวางแผนการด าเนินงาน ท าให้การพัฒนากิจกรรม หรือการแก้ปัญหาต่าง ๆ สอดคล้องกับสภาพที่เกิดขึ้นจริงนั้น

กล่าวโดยสรุปว่า การประเมินความต้องการจ าเป็นมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ได้ข้อมูลที่จะ น ามาใช้ในการวางแผนการด าเนินการให้มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลยิ่งขึ้น

69 4. ขั้นตอนในการประเมินความต้องการจ าเป็น

มยุรีย์ เขียวฉะอ้อน (2541) ได้เสนอขั้นตอนการประเมินความต้องการจ าเป็นไว้ ดังนี้

1. ก าหนดวัตถุประสงค์และขอบเขตของการประเมินความต้องการจ าเป็นให้ชัดเจน โดยขั้นตอนต่าง ๆ จะต้องสอดคล้องสัมพันธ์กัน

2. ออกแบบประเมินความต้องการจ าเป็นโดยท าการก าหนดรายการที่จะศึกษา ให้ชัดเจน ซึ่งรวมถึงจุดมุ่งหมายเฉพาะในการศึกษาขอบเขตเนื้อหาของความต้องการจ าเป็นที่จะ ประเมินและชนิดของความต้องการจ าเป็นที่ต้องการจ าแนก จุดมุ่งหมายที่ชัดเจนและตรงเป้าหมายจะ น าไปสู่การเก็บรวบรวมการวิเคราะห์ข้อมูลและกระบวนการรายงานผลที่ดี ขั้นตอนการรวบรวมข้อมูล อาจรวมถึงการจัดการเรื่อง การส ารวจ การสัมภาษณ์ และการจัดล าดับ

3. ประเมินความต้องการจ าเป็นโดยการหาความแตกต่างระหว่างสถานะที่เป็น เป้าหมายกับสถานะที่เป็นจริง จากนั้นจึงศึกษาสาเหตุที่ท าให้เกิดความแตกต่างซึ่งเป็นปัญหา

4. จัดล าดับความต้องการจ าเป็นหรือการจัดล าดับความส าคัญของปัญหา

ซึ่งควรท าในรูปแบบของความจ าเป็นสูงสุดและต่ าสุด โดยการวางขั้นตอนการเชิงปริมาณเพื่อจัดล าดับ ความส าคัญรวมทั้งการจัดหมวดหมู่ของความต้องการจ าเป็นมีความสมบูรณ์สามารถใช้ในการวางแผน ปฏิบัติการได้

5. การรายงานผลและการใช้ผล ผลที่ได้จากการประเมินความต้องการจ าเป็นจะท า ให้เราทราบถึงปัญหาและอุปสรรคที่จะต้องแก้ไข ท าให้เราสามารถก าหนดเป้าหมายของโครงการ หรือการวางแผนโครงการต่าง ๆ ตลอดจนสามารถตัดสินใจเลือกหนทางแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการของผู้ที่เกี่ยวข้องกับองค์กร ซึ่งคุณลักษณะเฉพาะประการหนึ่งของ การประเมินความต้องการจ าเป็นคือการใช้ผลเพื่อการวางแผน การแก้ปัญหา การก าหนดเกณฑ์

ส าหรับการวัดผลสัมฤทธิ์ หรือการยกระดับมาตรฐานและการตรวจสอบมาตรฐานการศึกษา ดังนั้น ในขั้นสุดท้ายของกระบวนการคือ การน าผลที่ค้นพบไปใช้ให้เกิดประโยชน์ การใช้ประโยชน์จาก การศึกษาการประเมินความต้องการจ าเป็นต้องใช้การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพในช่วงเวลาที่จ ากัด คือ สามารถส่งข่าวสารไปยังผู้รับสารได้เหมาะสมในช่วงเวลาที่มีอยู่

สุวิมล ว่องวาณิช (2548) ได้เสนอขั้นตอนการวิจัยประเมินความต้องการจ าเป็นจาก นักวิชาการด้านการประเมินไว้ โดยแบ่งขั้นตอนการด าเนินการออกเป็น 3 ระยะ

1. ระยะแรก เป็นระยะก่อนการประเมินประกอบด้วยขั้นตอนการเตรียมการ มีการก าหนดจุดมุ่งหมายหรือวิสัยทัศน์ที่ต้องการจะให้เกิด ก าหนดกลุ่มผู้ใช้ประโยชน์จาก

ผลการประเมินความต้องการจ าเป็นกลุ่มเป้าหมายและกลุ่มผู้เกี่ยวข้องกับการประเมินความต้องการ จ าเป็นและขั้นการออกแบบการประเมิน เกี่ยวข้องกับการก าหนดนิยามประเภท ขอบข่ายของ

การประเมินความต้องการจ าเป็นการวางแผนงานด้านทรัพยากรค่าใช้จ่าย และระยะในการด าเนินงาน

70 2. ระยะที่สอง เป็นระยะระหว่างการประเมิน มีการก าหนดวิธีการเก็บข้อมูล

การวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อก าหนดความต้องการจ าเป็นและการจัดล าดับความส าคัญของความต้องการ จ าเป็น

3. ระยะที่สาม ระยะหลังการประเมิน มีการน าผลไปใช้ประโยชน์ การเสนอผล หรือรายงานให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ ก าหนดแนวทางการแก้ไขขจัดปัญหาที่เกิดจากความต้องการจ าเป็น ในขั้นของการน าผลไปใช้ประโยชน์นี้ แนวคิดของ Witkins และ Altschuld จะแตกต่างจากแนวคิด อื่นตรงที่มีการน าเสนอให้มีการวางแผนการด าเนินงานเพื่อขจัดปัญหาที่เกิดจากความต้องการจ าเป็น มิได้หยุดแค่ขั้นการก าหนดทางเลือกในการแก้ไขปัญหาเท่านั้นแต่ต้องวางแผนว่าจะนาเอาแนวทางที่

ก าหนดไปปฏิบัติให้เกิดผลอย่างไร เพื่อบรรลุเป้าหมายที่พึงประสงค์

กล่าวโดยสรุปว่า ขั้นตอนประเมินความต้องการจ าเป็นประกอบด้วยเรื่องที่ส าคัญ คือ การก าหนดจุดประสงค์ของการประเมินความต้องการจ าเป็น การก าหนดขอบเขตของการประเมิน ความต้องการจ าเป็นการก าหนดวิธีการของการประเมินความต้องการจ าเป็น การจัดเรียงล าดับ ความต้องการจ าเป็นการรายงานผลการประเมินความต้องการจ าเป็น และการใช้ผลการประเมิน ความต้องการจ าเป็น

การสนทนากลุ่ม (Focus Group)

1. ความหมายของการสนทนากลุ่ม Focus Group

Morgan (1997) ได้ให้ความหมายไว้ว่า การจัดสนทนากลุ่ม (Focus Group) เป็นรูปแบบการสัมภาษณ์กลุ่ม และมีความส าคัญที่ใช้ในการแยกแยะระหว่างของมากกว่าสองสิ่ง การสัมภาษณ์กลุ่มเกี่ยวข้องกับการสัมภาษณ์กลุ่มบุคคลในเวลาเดียวกัน โดยเน้นค าถาม

และการตอบสนองกันระหว่างผู้วิจัย และกลุ่มในการสนทนา อย่างไรก็ตามการจัดสนทนากลุ่ม ต้องอาศัยปฏิสัมพันธ์ต่อกันภายในกลุ่ม บนพื้นฐานของประเด็นที่ผู้วิจัยได้เสนอ

ชาย โพธิสิตา (2547) ได้ให้ความหมายไว้ว่า การจัดสนทนากลุ่ม คือ กลุ่มคนที่

ถูกจัดขึ้นมาเพื่อการสนทนา หรืออภิปรายกัน โดยมีจุดหมายเจาะจงหาข้อมูลที่ถูกตรงประเด็นส าหรับ ตอบค าถามการวิจัยเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ดีที่สุด ตรงตามจุดมุ่งหมาย

การศึกษาโดยผ่านการปฏิสัมพันธ์ต่อกันของสมาชิกในวงสนทนากลุ่ม

รัตนะ บัวสนธ์ (2551) ได้ให้ความหมายไว้ว่า การสนทนากลุ่ม หมายถึง การให้กลุ่มบุคคลหนึ่งที่เป็นนักวิจัยคัดเลือกมาท าการสนทนา โต้ตอบแสดงความรู้สึกนึกคิด ซึ่งกันและกันในประเด็นต่าง ๆ ที่นักวิจัยก าหนดขึ้นตามวัตถุประสงค์ กลุ่มบุคคลที่สนทนากันนั้น มิได้เกิดขึ้นเองตามปกติ แต่จะเป็นกลุ่มบุคคลที่นักวิจัยคัดเลือกให้มาร่วมสนทนาโดยพิจารณาว่า

71 บุคคลเหล่านั้นจะมีความรู้และความสามารถแสดงความคิดเห็นประเด็นต่าง ๆ ที่นักวิจัยต้องการให้มี

ปฏิสัมพันธ์โต้ตอบกันและกันตามประเด็น

กล่าวโดยสรุปว่า การจัดสนทนากลุ่ม (Focus Group) เป็นการจัดประชุมเชิงวิชาการ โดยผู้เชี่ยวชาญในการพิจารณาประเด็น หรือหัวข้อเฉพาะในการหาแนวทางการพัฒนาหรือหาค าตอบ ที่เป็นทางเลือกที่เหมาะสมที่สุดในการก าหนดสมมติฐานใหม่ ๆ

Dokumen terkait