• Tidak ada hasil yang ditemukan

การวิเคราะห์ข้อมูล ที่ได้จากการศึกษาในครั้งนี้จะถูกแบ่งออกเป็น 2 ระยะ ดังนี้

ระยะที่ 1 เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยใช้เทคนิควิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลของเอกสารซึ่ง ได้แก่ ถ้อยค า ประโยค หรือใจความที่ปรากฏในเอกสาร ที่วัด ได้แล้วแจงนับจ านวนของถ้อยค า ประโยค หรือใจความเหล่านั้นมาตีความสร้างข้อสรุปแบบอุปนัย แล้วเปรียบเทียบเนื้อหาแต่ละประเภทเข้าด้วยกัน (เอื้อมพร หลินเจริญ. 2555: 27)

ผู้วิจัยจะท าการวิเคราะห์ข้อมูลอยู่ 3 ส่วนส าคัญคือ การวิเคราะห์เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและการ วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการเก็บข้อมูลภาคสนาม โดยมีรายละเอียดขั้นตอนและเทคนิคการวิเคราะห์

ข้อมูล ดังนี้

ส่วนที่ 1 ผู้วิจัยใช้เทคนิควิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) เพื่อน ามา ประยุกต์ใช้ความสัมพันธ์ของเนื้อหา มาท าการสังเคราะห์ แตกยอดทางความคิดให้อยู่ในรูปแบบ แผนผังความคิด (Mind Mapping) โดยผู้วิจัยได้น าผลที่ได้จากการวิเคราะห์ข้อมูลมาล าดับเนื้อหาใน บทที่ 2 รวมทั้งทฤษฎีที่ถูกน ามาใช้ในการออกแบบอีกด้วย

69

ภาพประกอบที่ 22 แผนผัง Literature Review

ส่วนที่ 2 หลังจากที่ได้วิเคราะห์ข้อมูลในส่วนของเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องแล้ว ผู้วิจัยได้ท าการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสังเกตการณ์และการสัมภาษณ์เชิงลึก โดยผู้วิจัยใช้เทคนิคการ วิเคราะห์แบบจ าแนกชนิดข้อมูล (Typological Analysis) โดยวิเคราะห์จากประเด็นส าคัญที่ผู้วิจัยได้

สังเกตการณ์ ผู้วิจัยได้ท าการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสัมภาษณ์เชิงลึกกับกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ (In-depth Interview) จากการสัมภาษณ์แบบกึ่งมีโครงสร้าง โดยผู้วิจัยใช้เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูล เป็นแบบ การจ าแนกชนิดข้อมูลโดยวิเคราะห์กลุ่มค าส าคัญเข้ามาในการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์

กลุ่มผู้ให้ข้อมูลส าคัญทั้ง 6 ท่าน และการใช้เทคนิควิเคราะห์โดยการจ าแนกชนิดข้อมูล (Typological Analysis) เป็นการจ าแนกประเภทชุดความคิด กล่าวได้ว่า เป็นการวิเคราะห์ค าหลัก โดยจัดกลุ่มค า ชุดหนึ่งให้อยู่ร่วมกันโดยอาศัยลักษณะความสัมพันธ์บางอย่างของค าแต่ล าค าที่น ามาใช้จัดกลุ่ม (เอื้อม พร หลินเจริญ. 2555: 18) (โดยที่ภาพตัวอย่างของการวิเคราะห์การสังเกตการณ์จะอยู่ในภาพที่ 3.3) และ (ภาพตัวอย่างของการสัมภาษณ์โดยผู้เชี่ยวชาญจะอยู่ในภาพที่ 3.4)

70

ภาพประกอบที่ 24 แผนผังความคิดที่ผู้วิจัยใช้วิเคราะห์ข้อมูลค าส าคัญ จากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ

ภาพประกอบที่ 23 แผนผังความคิดที่ผู้วิจัยใช้วิเคราะห์แยกกลุ่มค าส าคัญ จากการสังเกตการณ์

71

ส่วนที่ 3 โดยหลังจากที่ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ข้อมูลส าคัญของแต่ละกลุ่มแล้ว ผู้วิจัยจะ ท าการน ากลุ่มค าส าคัญที่สอดคล้องกันของแต่ละกลุ่มมาท าการตรวจสอบแบบสามเส้าแบบวิธีการ (Triangulation of Methods) เพื่อน ามาเชื่อมโยงความส าพันธ์ของตัวแปรที่มีนัยยะส าคัญ ที่

ใกล้เคียงหรือมีความคิดเชื่อมโยงระหว่างกัน เพื่อหาข้อสรุปก่อนที่จะน าไปท าการสร้างเป็นแนวคิด ทางการออกแบบและผลิตเป็นสื่อต้นแบบ

ภาพประกอบที่ 25 แผนผังการวิเคราะห์ข้อมูลแบบสามเส้า Triangulation of Sources และ Triangulation of Methods ที่ผู้วิจัยใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลในระยะที่ 1

ระยะที่ 2 เป็นการวิเคราะห์ผลแบบมาตรส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ข้อมูล เชิงปริมาณด้านความถี่ ด้วยวิธีการด้านสถิติในรูปแบบการหาค่าเฉลี่ย (Frequency Analysis) เป็น วิธีการจัดระเบียบข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่มีความกะทัดรัดและง่ายต่อการเข้าใจสาระส าคัญ โดยมีการ จ าแนกข้อมูลหรือคะแนนของตัวแปรใดๆ ที่สนใจออกเป็นชั้นๆ และนับจ านวนข้อมูลความถี่ในแต่ละ ภาคชั้น (องอาจ นัยพัฒน์. 2551 : 194) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เป็นตัววัดการกระจาย ของคะแนนที่นิยมน ามาใช้มากที่สุดในการวิจัยและหาค่าสถิติ มีคุณสมบัติกล่าวคือ มีเสถียรภาพหรือ

72 คงเส้นคงวา ไม่อ่อนไหวง่ายต่อการเปลี่ยนแปลงของคะแนนในข้อมูลชุดใดๆมากนัก ในขณะที่ค่าพิสัย มีเสถียรภาพน้อยที่สุด นอกจากนี้ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานยังสามารถน าไปใช้สถิติอนุมานได้ (องอาจ นัยพัฒน์. 2551 : 197) โดยวิธีการหาค่าเฉลี่ยของคะแนน โดยที่กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ประเมินหลังจากที่

ได้ทดสอบใช้งานสื่อต้นแบบเสร็จสิ้น ซึ่งจะมีการวิเคราะห์ข้อมูลแบบตัวเลขเพื่อประเมินคุณภาพของ สื่อ (Usability Test) ซึ่งแบบประเมินมีลักษณะเป็นแบบมาตรส่วนประมาณค่า (Rating scale) เป็น 5 ระดับ มีเกณฑ์การให้คะแนน สร้างตามมาตรวัดของลิเคิร์ท (Likert Scale) โดยมีเกณฑ์การให้

คะแนนค าตอบ ดังนี้

ระดับ 5 หมายถึง มากที่สุด ระดับ 4 หมายถึง มาก ระดับ 3 หมายถึง ปานกลาง ระดับ 2 หมายถึง พอใช้

ระดับ 1 หมายถึง ควรปรับปรุง จากนั้นน าข้อมูลที่ได้ไปวิเคราะห์ผลทางสถิติโดยใช้ค่าสถิติดังนี้

𝑥̅ =

N

x

เมื่อ 𝑥̅ แทน ค่าเฉลี่ย

x แทน ผลรวมของคะแนน N แทน จ านวนข้อมูล

ภาพประกอบที่ 3.6 แสดงการหา “ค่าเฉลี่ย” (Mean) อ้างอิงจาก องอาจ นัยพัฒน์. 2551 : 195

การวิเคราะห์แบบประเมินวัดผลค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ดังต่อไปนี้

เมื่อ S.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน X แทน คะแนนแต่ละส่วน

73

x แทน ผลรวมของกลุ่มตัวอย่างในกลุ่มนั้น N แทน จ านวนในกลุ่มตัวอย่าง

ภาพประกอบที่ 3.7 การหาค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน อ้างอิงจาก องอาจ นัยพัฒน์. 2551: 197 สรุป

จากที่ได้กล่าวมาในบทนี้ จะเห็นได้ว่ากระบวนการในการด าเนินงานวิจัย การเก็บ ข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลในเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ ดังนั้นงานวิจัยครั้งนี้ของผู้วิจัยนั้นจะอยู่ใน รูปแบบของการท าวิจัยแบบผสม (Mixed Method) เพื่อสังเคราะห์ข้อมูลให้ได้รูปแบบของการ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือทางการวิจัย รวมไปจนถึงการเก็บข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งจะ เป็นแนวทางในการผลิตสื่อและเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ ที่จะน าไปสู่การประเมินผลในเชิงตัวเลข ซึ่งจะ กล่าวถึงในบทต่อไปของการวิจัย

74 บทที่ 4

ผลการวิจัย

บทนี้ผู้วิจัยจะกล่าวถึงผลการวิเคราะห์ข้อมูลภาคสนามที่ผู้วิจัยท าการวิเคราะห์ โดยที่

รายละเอียดของผลการวิเคราะห์และอภิปรายผลที่ได้นั้น จะน าไปสู่องค์ความรู้ที่เป็นแนวทางของการ พัฒนาและออกแบบเป็น สื่อปฏิสัมพันธ์ต้นแบบ ไปจนถึงการประเมินความพึงพอใจ การรับรู้และการ ประเมินคุณภาพสื่อโดยผู้เชี่ยวชาญ โดยที่ผู้วิจัยได้จ าแนกผลการวิจัยออกเป็น 4 ส่วนดังนี้

ผลการวิเคราะห์ ระยะที่ 1 อภิปรายผล ระยะที่ 1 ผลการวิเคราะห์ ระยะที่ 2 อภิปรายผล ระยะที่ 2