• Tidak ada hasil yang ditemukan

หลังจากที่ผู้วิจัยได้ศึกษารูปแบบของสื่อปฏิสัมพันธ์ในรูปแบบอินโฟกราฟิก โดยใช้แนวคิดการ ออกแบบอย่างมีส่วนร่วมเพื่ออธิบายหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อท าพัฒนาให้มี

ประสิทธิภาพในการน าเสนอข้อมูลหรือเนื้อหาเพื่อก่อให้เกิดความเข้าใจแก่ผู้ใช้สื่อมากขึ้นนั้น ผู้วิจัยได้

พบปัญหา ข้อจ ากัดและแนวทางที่จะสามารถน าไปพัฒนาสื่อปฏิสัมพันธ์ต้นแบบที่มีประสิทธิภาพมาก ยิ่งขึ้น ดังนี้

5.4.1 ด้านการใช้งานบนโทรศัพท์มือถือหรือแท็ปเล็ต ควรมีการพัฒนาให้สามารถใช้

งานรูปแบบของแอพพลิเคชั่นบนระบบ IOS ได้เพื่อให้ผู้ใช้มีความสะดวกในการเลือกใช้งานมากขึ้น 5.4.2 ควรมีการใช้ ปรับใช้ทรัพยากรพื้นการจัดเก็บข้อมูลบนโทรศัพท์มือถือหรือ แท็ปเล็ตให้น้อยลงให้ไฟล์ของสื่อปฏิสัมพันธ์มีขนาดเล็กเพื่อให้เกิดความรวดเร็วในการดาวโหลดและ การใช้งาน

119 5.4.3 จากข้อแนะน าของคุณ ปริศนา โกลละสุต พัฒนาการจังหวัดมหาสารคาม ได้

แนะว่าสื่อปฏิสัมพันธ์ต้นแบบนั้นควรมีการเพิ่มเนื้อหาเกี่ยวด้านการท่องเที่ยวเชิงนวัตวิถีเพิ่มขึ้นจะเป็น การ บูรณาการต่อยอดในการให้ความรู้เกี่ยวกับโครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง “อยู่เย็น เป็นสุข”

120

บรรณานุกรม

บรรณานุกรม

บรรณานุกรม

Hannafin, M. J., & Peck, K. L. (1988). The Design Development and Evaluation of Instructional Software. Macmillan New York: Publishing Company.

Haynes, D. N. a. J. (2004). Public Relations Writing: Form and Style.

Pressey, S. L., Robinson, F. P., & Horrocks, J. E. (1959). Psychology in Education. New York: Harper - Collins.

Sofia Hussain, E. B. N., & Sanders, a. M. S. (2012). Participatory design with marginalized people in developing countries: Challenges and opportunities experienced in a field study in Cambodia. International Journal of Design 6, 2 6(2), 91–109.

W. Huang, S. Z., & Tan, C. L. (2007, Feb 21st-22nd). Chart image classification using multiple-instance learning. Paper presented at the WACV’07, Austin, Texas, USA.

Wang, K. (2012). Infographic & Data Visualizations Mobile handset manufacturers: Design Media Publishing Limited.

Zidan, R. (2556). Infographic. from http://www.oknation.net/blog/digitalmarketing เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, ส. (2550). from

https://www.nesdb.go.th/ewt_w3c/ewt_dl_link.php?nid=2953

เสน่ห์จามริก. (2546). เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาที่ยั่งยืน วรรณกรรมปริทัศน์ที่เกี่ยวข้องกับ ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง กลุ่มพัฒนากรอบแนวคิดทางทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง.

กรมการพัฒนาชุมชน, ส. (2557). แกนน ากับการขยายผลหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบโดยทุนชุมชน. from http://nakhonsawan.cdd.go.th

จักรกฤษณ์ หมั่นวิชา. (2557). การประยุกต์ใช้บาร์โค้ดสองมิติ (2D barcode) เพื่อการจัดการระบบเทคโนโลยี

สารสนเทศส าหรับธุรกิจ. วารสารหาดใหญ่วิชาการ, 12(2).

ฐิตินัน บุญภาพ คอมมอน. (2556). บทบาทของสื่อใหม่ในการสร้างค่านิยมทางสังคมและอัตลักษณ์ของเยาวชน ไทยใน เขตกรุงเทพมหานคร: ศูนย์วิจัยมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

พงษ์พิพัฒน์ สายทอง. (2557). การออกแบบอินโฟกราฟิกแอนิเมชันเพื่อการเรียนการสอน วารสารวิชาการ ศิลปะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีที่5 ฉบับที่2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม. วารสารวิชาการ ศิลปะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 5(2).

พัชร พิพิธกุล. (2554). คิวอาร์โค้ดในงานบริการสารสนเทศห้องสมุด วารสารบรรณศาสตร์ มศว, 4(1).

มูลนิธิชัยพัฒนา. (2548). from http://www.chaipat.or.th/publication/publish- document/sufficiency-economy.html

122 วีระยุทธ์ ชาตะกาญจน์. (2558). การวิจัยเชิงปฏิบัติการ วารสารราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 31.

ศักรินทร์ ชะนะ. (2554). การประยุกต์ใช้คิวอาร์โค้ด ระบบระบุต าแหน่งด้วยเครือข่ายโทรศัพท์มือถือและระบบ ฐานข้อมูลส าหรับผู้โดยสารอากาศยานขาเข้าที่โดยสารรถแท็กซี่สาธารณะสังกัดท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ.

(วิทยานิพนธ์ วท.ม.), มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย.

ศุภศิลป์ กุลจิตต์เจือวงศ์. (2555). คิวอาร์ โค้ด นวัตกรรมการสื่อสารการตลาดในยุคดิจิทัล. วารสารวไลยอลงกรณ์

ปริทัศน์, 2(2).

สสค. (2555). ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน. from http://www.qlf.or.th/Mobile/Details?contentId=300

สุภางค์ จันทวานิช. (2531). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. กรุงเทพมหานคร: ส านักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อภิชัย พันธเสน. (2549). สังเคราะห์องค์ความรู้เศรษฐกิจพอเพียง (พิมพ์ครั้งที่ 2 ed.). กรุงเทพมหานคร: ส านักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจัย.

อรช กระแสอินทร์. (2557). นวัตกรรมการออกแบบอย่างมีส่วนร่วมส าหรับหัตถกรรมใช้สอยครัวเรือน. (วิทยานิพนธ์

วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ภาคผนวก

124

ภาคผนวก ก

คุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

125 ก1. แบบประเมินเครื่องมือวิจัย (IOC)

แบบประเมินเครื่องมือวิจัย (IOC)

แบบสอบถามนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์เรื่อง : การพัฒนาสื่อปฏิสัมพันธ์ใน รูปแบบอินโฟกราฟิก โดยใช้แนวคิดการออกแบบอย่างมีส่วนร่วมเพื่ออธิบายหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ค าชี้แจง แบบประเมินเครื่องมือวิจัยนี้จัดท าขึ้นเพื่อประเมินความถูกต้องของแบบสอบถาม 2 แบบ ได้แก่ 1) แบบสอบถามความต้องการ 2) แบบสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ 3) แบบประเมินคุณภาพของสื่อ ต้นแบบของกลุ่มเป้าหมาย เพื่อน าผลที่ได้มาปรับปรุงเครื่องมือวิจัยให้มีประสิทธิภาพและความถูกต้อง เที่ยงตรงสูงสุด

โปรดท าเครื่องหมายถูก  ลงในช่องที่ตรงกับความคิดเห็นของท่านมากที่สุด หมายเหตุ : ค านิยามศัพท์เฉพาะ

1. ผู้มีส่วนร่วมได้ส่วนเสีย หมายถึง ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับงานวิจัย และให้ข้อมูล ซึ่งได้แก่

1) กลุ่มที่ให้ข้อมูลทั้งสามด้าน ได้แก่ ด้านการพัฒนาชุมชนในจังหวัดมหาสารคาม ผู้ให้ข้อมูลด้านการ น าปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้ในการพัฒนาชุมชน ผ่านโครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง “อยู่

เย็น เป็นสุข”และด้านการออกแบบสารสนเทศที่จะน ามาพัฒนาเป็นสื่อปฏิสัมพันธ์ต้นแบบในรูปแบบ อินโฟกราฟิก โดยใช้แนวคิดการออกแบบอย่างมีส่วนร่วมเพื่ออธิบายหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 2) กลุ่มตัวอย่างผู้ทดลองใช้สื่อ รวมทั้งสิ้น 30 คน

2. สื่อต้นแบบ หมายถึง สื่อปฏิสัมพันธ์ในรูปแบบอินโฟกราฟิก โดยใช้แนวคิดการ ออกแบบอย่างมีส่วนร่วมเพื่ออธิบายหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

3. การประเมินคุณภาพสื่อต้นแบบ (Usability) หมายถึง การประเมินคุณภาพสื่อทั้งสาม ด้าน ได้แก่ 1) ด้านประสิทธิภาพ อันได้แก่ ความคมชัดด้านภาพ ความชัดเจนด้านเนื้อหาและการ โต้ตอบระหว่างผู้ใช้และสื่อต้นแบบ 2) ประสิทธิผล อันได้แก่ การรับรู้ของกลุ่มเป้าหมายมีความเข้าใจ เนื้อหามากน้อยเพียงใด 3) ความพึงพอใจ เพื่อหาระดับความพึงพอใจที่มีต่อสื่อ อาทิเช่น ด้านการใช้สี

ด้านเนื้อหาและฉากหลัง

126 4. interactive infographic หมายถึง สื่อปฏิสัมพันธ์ ให้ข้อมูลเพื่อที่จะอธิบายให้เห็นถึง ความส าโครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง “อยู่เย็น เป็นสุข”

ตอนที่ 1 แบบสอบถามความต้องการ

การประเมินเครื่องมือวิจัย *ระดับของการประเมินจะถูกแทนด้วยตัวเลข -1 คือ ไม่เห็น ด้วย, 0 คือ แก้ไข, 1 คือเห็นด้วย, ตามล าดับโปรดท าเครื่องหมายถูก  ลงในช่องที่ตรงกับความ คิดเห็นของท่านมากที่สุด

1. ท่านคิดว่าการเผยแพร่ความรู้ ในเรื่องของ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นั้นจ าเป็น หรือไม่ ?

2. ท่านคิดว่าจังหวัดมหาสารคาม ควรมีสื่อเพื่อให้ความรู้ ในเรื่องของ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง เพื่อการพัฒนาชุมชน หรือไม่ เพราะเหตุใด ?

3. ท่านคิดว่าควรมีการให้ความรู้ เรื่องของ โครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง “อยู่เย็น เป็นสุข”

แก่แกนน าชุมชนในจังหวัดมหาสารคาม ในรูปแบบสื่อปฏิสัมพันธ์ หรือไม่เพราะเหตุใด 4. หากมีการใช้ สื่อปฏิสัมพันธ์ เพื่อช่วยในการอธิบายโครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง “อยู่

เย็น เป็นสุข” จะช่วยให้ผู้รับชมสื่อ เข้าใจเนื้อหาของโครงการได้ง่ายขึ้นกว่าสื่อเดิมหรือไม่

อย่างไร?

รายการประเมินข้อค าถาม

ระดับการ ประเมิน

-1 0 1

1. ภาษาที่ใช้ในการตั้งข้อค าถาม   

2. ความถูกต้องของข้อค าถาม   

3. การจัดล าดับของข้อค าถาม   

4. ความเกี่ยวเนื่องของค าถามกับผู้ให้ข้อมูล   

5. ความสอดคลองของค าถามตรงตามวัตถุประสงค์   

127 ตอนที่ 2 แบบสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ

การประเมินเครื่องมือวิจัย *ระดับของการประเมินจะถูกแทนด้วยตัวเลข -1 คือ ไม่เห็น ด้วย, 0 คือ แก้ไข, 1 คือเห็นด้วย, ตามล าดับโปรดท าเครื่องหมายถูก  ลงในช่องที่ตรงกับความ คิดเห็นของท่านมากที่สุด

1. ค าถามสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญด้านแผนการพัฒนาชุมชนจังหวัดมหาสารคาม

1.1. จังหวัดมหาสารคามมีการน้อมน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ รัชกาลที่ 9 มา ปรับใช้ในแผนการพัฒนาชุมชน ในด้านใดบ้าง ?

1.2. ท่านคิดว่า โครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง “อยู่เย็น เป็นสุข” มีความส าคัญต่อแผน การพัฒนาชุมชนของจังหวัดมหาสารคาม อย่างไร เพราะอะไร ?

1.3. ท่านคิดว่า เป็นเรื่องจ าเป็นที่ ควรส่งเสริมให้ความรู้เรื่องของ โครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจ พอเพียง “อยู่เย็น เป็นสุข” แก่แกนน าชุมชนในจังหวัดมหาสารคาม หรือไม่ อย่างไร ?

1.4. จากการเอกสารให้ความรู้เรื่อง โครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง “อยู่เย็น เป็นสุข”รูป แบบเดิม (E-book) หากต้องน าเทคโนโลยีสมัยใหม่มาเพื่อช่วยพัฒนา ท่านคิดว่าจะเป็น อุปสรรคแก่การ รับรู้หรือไม่ อย่างไร?

1.5. หากมีการใช้ สื่อปฏิสัมพันธ์เข้ามาเพื่อช่วยในการอธิบาย โครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจ- พอเพียง “อยู่เย็น เป็นสุข” จะช่วยให้ผู้รับชมสื่อ มีความเข้าใจในเนื้อหาของโครงการ ได้ง่ายขึ้นกว่าสื่อเดิม หรือไม่ อย่างไร?

รายการประเมินข้อค าถาม

ระดับการ ประเมิน

-1 0 1

1. ภาษาที่ใช้ในการตั้งข้อค าถาม   

2. ความถูกต้องของข้อค าถาม   

3. การจัดล าดับของข้อค าถาม   

4. ความเกี่ยวเนื่องของค าถามกับผู้ให้ข้อมูล   

128 2. ค าถามสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญด้านการปฏิบัติการการพัฒนาชุมชนจังหวัดมหาสารคาม

2.1. ในการปฏิบัติการ การพัฒนาชุมชนในจังหวัดมหาสารคามนั้น มีการน้อมน าหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ รัชกาลที่ 9 มา ปรับใช้ในด้านใดบ้าง ?

2.2. ท่านคิดว่า โครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง “อยู่เย็น เป็นสุข” มีความส าคัญในการ พัฒนาชุมชนของจังหวัดมหาสารคาม อย่างไร เพราะอะไร ?

2.3. ท่านคิดว่า เป็นเรื่องจ าเป็นที่ ควรส่งเสริมให้ความรู้ เรื่องของ โครงการหมู่บ้าน เศรษฐกิจ-

พอเพียง “อยู่เย็น เป็นสุข” แก่แกนน าชุมชนในจังหวัดมหาสารคาม หรือไม่ อย่างไร ? 2.4. จากการเอกสารให้ความรู้เรื่อง โครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง “อยู่เย็น เป็นสุข”

เดิม

ที่มีอยู่แล้ว หากต้องน าเทคโนโลยีสมัยใหม่มาเพื่อช่วยพัฒนา ท่านคิดว่าจะเป็นอุปสรรค แก่

การรับรู้หรือไม่ อย่างไร ?

2.5. หากมีการใช้ สื่อปฏิสัมพันธ์เข้ามาเพื่อช่วยในการอธิบาย โครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจ

พอเพียง “อยู่เย็น เป็นสุข” จะช่วยให้ผู้รับชมสื่อเข้าใจในเนื้อหาของโครงการได้ง่ายขึ้น กว่าสื่อเดิม หรือไม่ อย่างไร ?

รายการประเมินข้อค าถาม

ระดับการ ประเมิน

-1 0 1

1. ภาษาที่ใช้ในการตั้งข้อค าถาม   

2. ความถูกต้องของข้อค าถาม   

3. การจัดล าดับของข้อค าถาม   

4. ความเกี่ยวเนื่องของค าถามกับผู้ให้ข้อมูล   

5. ความสอดคลองของค าถามตรงตามวัตถุประสงค์   