• Tidak ada hasil yang ditemukan

ในส่วนนี้ผู้วิจัยจะท าการอภิปรายผลที่ส าคัญที่ได้จากการศึกษา และวิเคราะห์ข้อมูลในการ รวบรวมเอกสาร หลักการ ทฤษฎี และผลการวิเคราะห์ข้อมูลภาคสนาม เพื่อหาค าส าคัญที่มีความส า พันธ์ระหว่างชุดข้อมูลด้านต่างๆ ที่ผู้วิจัยได้ท าการวิเคราะห์ข้อมูลไว้ข้างต้น โดยผู้วิจัยประยุกต์ใช้

แนวคิดเทคนิคในการหาค าส าคัญจากชุดข้อมูล โดยผู้วิจัยได้ใช้เทคนิคการหาค าส าคัญจากชุดข้อมูล แบบสามเศร้า (Triangulation of sources) ก่อนท าการตีความ (Interpretative) ชุดข้อมูลเพื่อท า การสรุปผล น าไปสู่การออกแบบชิ้นงานต้นแบบโดยมีข้อสรุปที่ส าคัญดังต่อไปนี้

4.2.1 การวิเคราะห์ผลการวิจัยสู่การพัฒนาแนวคิดการออกแบบ

จากผลการวิเคราะห์ ผู้วิจัยได้ล าดับขั้นตอนในกระบวนการวิเคราะห์ เพื่อน าไปสู่การ

89 ปฏิสัมพันธ์จะพบว่า ในกระบวนการของการพัฒนา หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง “อยู่เย็น เป็นสุข”นั้น ได้แบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอน และการจัดประดับของหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง “อยู่เย็น เป็นสุข”ที่ได้

จากการประเมิน 4 ด้าน 23 ตัวชี้วัดที่ กรมการพัฒนาชุมชนได้ก าหนดขึ้น จะแบ่งระดับของหมู่บ้าน เศรษฐกิจพอเพียง “อยู่เย็น เป็นสุข ออกเป็น 3 ระดับ ตามความพร้อมของแต่ละหมู่บ้าน โดยล าดับ ของเนื้อหาที่จะใช้ในสื่อปฏิสัมพันธ์ จะมีล าดับเนื้อหาดังนี้ 1) ความเป็นมาของโครงการหมู่บ้าน เศรษฐกิจพอเพียง “อยู่เย็น เป็นสุข 2) ความส าคัญของโครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง “อยู่เย็น เป็นสุข 3) กระบวนการของการพัฒนา หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง “อยู่เย็น เป็นสุข 4) การจัดระดับ หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง “อยู่เย็น เป็นสุข 5) ตัวชี้วัดในการวัดระดับหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง “อยู่

เย็น เป็นสุข

ภาพประกอบที่ 26 โครงสร้างการล าดับเนื้อหาโครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง “อยู่เย็น เป็นสุข”

ที่ใช้ในสื่อปฏิสัมพันธ์ต้นแบบ

90

ภาพประกอบที่ 27 โครงสร้างสื่อปฏิสัมพันธ์ต้นแบบโครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง

“อยู่เย็น เป็นสุข”

91 จากการวิเคราะห์แบบสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้เชี่ยวชาญ แล้วสรุปผลการวิเคราะห์เพื่อใช้ในการ ออกแบบในด้านต่างๆ ผู้เชี่ยวชาญได้ให้ความเห็นในเรื่องของเนื้อหาว่าในสื่อปฏิสัมพันธ์ นั้นมีความ เหมาะสมที่จะใช้ล าดับเนื้อหาตามล าดับในแผนภาพด้านบน หากแต่ระยะเวลาของแต่ละหัวข้อนั้นไม่

ควรจะใช้เวลานานในการรับชม ซึ่งหากผู้รับสื่อต้องการศึกษาเพิ่มเติมโดยละเอียด สามารถศึกษาผ่าน รูปแบบเอกสารโครงการที่มีอยู่เดิมในรูปแบบของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) ได้

4.2.2 ขั้นตอนการพัฒนาชิ้นงานสื่อต้นแบบ

ในขั้นตอนนี้ผู้วิจัยได้ท าการแบ่งการพัฒนาชิ้นงานสื่อต้นแบบออกเป็น 2 ส่วน คือ 1) ขั้นตอนการออกแบบ Infographic และ 2) ขั้นตอนการออกแบบสื่อปฏิสัมพันธ์ต้นแบบ

ขั้นตอนการออกแบบ Infographic ขั้นตอนการออกแบบฉาก

จากการวิเคราะห์ข้อมูลจากด้านเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การสังเกตการณ์ และการ สัมภาษณ์เชิงลึกกับกลุ่มผู้เชี่ยวชาญแล้วจึงน าไปสู่กระบวนการออกแบบฉากที่จะเป็นรูปแบบองค์รวม ที่เหมาะสมกับสื่อปฏิสัมพันธ์ ที่จะอธิบายเนื้อหาของโครงการ หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง “อยู่เย็น เป็นสุข” ผู้วิจัยให้ได้วิเคราะห์ถึงสภาพที่อยู่อาศัย สภาพสิ่งปลูกสร้างต่างๆในชุมชนที่ได้ท าการลงพื้น ในชุมชนต่างๆที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ บรรยากาศของสภาพแวดล้อมของพื้นที่ส ารวจ เพื่อให้ผู้ใช้สื่อ เกิดความรู้สึกคุ้นเของชุดสีที่มีความแตกต่างกัน ในประเด็นเหล่านี้ผู้วิจัยได้น ามาเป็นแนวทางที่จะใช้ใน ขั้นตอนออกแบบฉากประกอบของชิ้นงาน โดยมีรายละเอียดดังนี้

ภาพประกอบที่ 28 ภาพสเก็ตฉากที่ใช้ในสื่อปฏิสัมพันธ์ต้นแบบ

92

ขั้นตอนการออกแบบตัวละคร

จากการวิเคราะห์ข้อมูลจากด้านเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การสังเกตการณ์

การสัมภาษณ์เชิงลึกกับกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ และการสอบถามความต้องการของผู้ใช้สื่อและผู้มีส่วนได้ส่วน เสียกับงานจึงน าไปสู่กระบวนการออกแบบตัวละคร โดยที่ได้ข้อสรุปว่า ตัวละครที่ออกแบบนั้นจะมี

ลักษณะของการแต่งการคล้ายเจ้าหน้าพัฒนาชุมชนและชาวบ้านในแถบภาคอีสานที่มีการแต่งตัวเรียบ งาน แต่ละมีลักษณะเฉพาะเช่นการคาดผ้าขาวม้า หรือการนุ่งซิ่น เพื่อให้ผู้รับชมสื่อสามารถสังเกตได้

ก่อให้เกิดความมีส่วนร่วมระหว่างผู้รับชมกับสื่อที่ต้องการน าเสนอ โดยลักษณะตัวละครที่โดยมี

รายละเอียดดังนี้

ภาพประกอบที่ 30 ภาพสเก็ตตัวละคร ภาพประกอบที่ 29 ฉากที่ใช้ในสื่อปฏิสัมพันธ์ต้นแบบ

93

ภาพประกอบที่ 31 ภาพตัวละคร

ขั้นตอนการออกแบบสื่อปฏิสัมพันธ์ต้นแบบ

เป็นการน าเอาฉาก ตัวละคร และการจัดวางด้านตัวอักษร โดยตัวอักษรที่เลือกใช้

ผู้วิจัยเลือกใช้เพราะมีความมองเห็นได้ชัดเจน โดยมีรายละเอียดดังนี้

ขั้นตอนการวาดสตอรี่บอร์ด

หลังจากได้ท าการออกแบบส่วนต่างๆของสื่อครบแล้ว ผู้วิจัยก็เริ่มล าดับเรื่องราวเป็น สตอรี่บอร์ดโดยรายละเอียดของสตอรี่บอร์ดนั้นได้เขียนให้กระชับและง่ายโดยผู้วิจัยจะเสนอโดย รายละเอียด ดังนี้

94

ภาพประกอบที่ 32 ภาพสเก็ต สตอรี่บอร์ด

95 ขั้นตอนการออกแบบจากโปรแกรม

ในส่วนนี้ผู้วิจัยจะกล่าวถึงการพัฒนาสื่อต้นแบบ โดยโปรแกรม Adobe illustrator โดยผู้วิจัยได้น าเสนอตามภาพดังนี้

ภาพประกอบที่ 33 การพัฒนาสื่อต้นแบบด้วยโปรแกรม Adobe illustrator

96

ภาพประกอบที่ 34 การพัฒนาสื่อด้วยโปรแกรม Adobe after effects

ภาพประกอบที่ 35 การพัฒนาสื่อด้วยโปรแกรม Adobe Premiere Pro

97

ภาพประกอบที่ 36 การสร้าง QR Code ที่จะใช้ร่วมกับสื่อปฏิสัมพันธ์

98

ภาพประกอบที่ 37 ภาพแสดงสื่อ Infographic ต้นแบบสื่อปฏิสัมพันธ์ต้นแบบ

99

ภาพประกอบที่ 38 ภาพแสดงปฏิสัมพันธ์ต้นแบบ

100