• Tidak ada hasil yang ditemukan

การสรุป อภิปรายผลและน าเสนองานวิจัย

ประชากรที่ใช้ในการวิจัย

ประชากรที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้เป็นนักเรียนระดับชั้นอนุบาล 2 ที่ก าลังศึกษาอยู่ใน โรงเรียนอนุบาลด่านมะขามเตี้ย อ าเภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนระดับชั้นอนุบาล 2 ที่ก าลังศึกษาอยู่ใน โรงเรียนอนุบาลด่านมะขามเตี้ย อ าเภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี มีพัฒนาการด้าน กล้ามเนื้อมัดเล็กและกล้ามเนื้อมัดใหญ่ไม่ตรงตามวัย โดยคัดกรองจาก แบบประเมินเพื่อช่วยเหลือ เด็กปฐมวัยที่มีปัญหาพัฒนาการ (Thai Early Developmental Assessment for Intervention:

TEDAI) ที่พัฒนาขึ้นโดย กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข เพื่อคัดเลือกเด็กปฐมวัยที่มี

พัฒนาการด้านกล้ามเนื้อมัดเล็กและกล้ามเนื้อมัดใหญ่ไม่ตรงตามวัย ซึ่งกลุ่มตัวอย่างต้อง ไม่มีโรค ประจ าตัว เช่นโรคหอบ โรคหัวใจ มีความสนใจในการท ากิจกรรมอย่างน้อย 10 นาที และ ผู้ปกครองยินยอมให้เด็กเข้าร่วมท ากิจกรรม ได้กลุ่มตัวอย่างจ านวน 20 คน มีค่าเฉลี่ยด้านอายุ

น ้าหนัก ส่วนสูง มีลักษณะของกลุ่มตัวอย่างที่ใกล้เคียงกัน จากนั้นใช้วิธีการสุ่มแบบง่ายโดย แบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่ม เป็นกลุ่มทดลอง (experimental) และกลุ่มควบคุม (control group) จ านวนกลุ่มละ 10 คน

2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และ เครื่องมือ ที่ใช้ในการทดลอง

2.1 เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล

1. คู่มือประเมินเพื่อช่วยเหลือเด็กปฐมวัยที่มีปัญหาพัฒนาการ (Thai Early Developmental Assessment for Intervention : TEDA4I) ของกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณะสุข

2. แบบสังเกตพฤติกรรม

2.2 เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง

1. ชุดกิจกรรมการประยุกต์ใช้ท่าร าเซิ้งกระติบ เพื่อการบริหารกล้ามเนื้อมัดเล็ก และกล้ามเนื้อมัดใหญ่ ส าหรับเด็กปฐมวัย

3. การสร้างและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ

3.1 การเลือกแบบประเมินเพื่อช่วยเหลือเด็กปฐมวัยที่มีปัญหาพัฒนาการ (Thai Early Developmental Assessment for Intervention : TEDA4I) ที่พัฒ นาขึ้นโดยกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณะสุข ดังกล่าวมาใช้เนื่องจากคู่มือการประเมินเพื่อช่วยเหลือเด็กปฐมวัยที่มี

ปัญหาพัฒนาการ (TEDA4I) ค่าความเที่ยงตรง (Validity) โดยรวมของคู่มือ เท่ากับ 0.84 ซึ่งมี

ระดับค่าความเที่ยงตรงอยู่ในระดับสูงมาก และมีค่าความเชื่อมั่น (Reliability) เท่ากับ 0.97 ซึ่งมี

ระดับค่าความเชื่อมั่นอยู่ในระดับสูงมาก คู่มือนี้จัดท าขึ้นครบตามขั้นตอนการพัฒนาเทคโนโลยี

เพื่อให้เหมาะสมกับผู้ปฏิบัติสามารถประเมินเพื่อช่วยเหลือเด็กปฐมวัยที่มีปัญหาพัฒนาการได้

อย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ (กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข, 2558)

3.2 ชุดกิจกรรมการประยุกต์ใช้ท่าร าเซิ้งกระติบ เพื่อการบริหารกล้ามเนื้อมัดเล็กและ กล้ามเนื้อมัดใหญ่ ส าหรับเด็กปฐมวัย ผู้วิจัยน าลักษณะท่าร าเซิ้งกระติบ ที่ใช้มือและขาในการ แสดงเซิ้งของภาคอีสานเป็นเนื้อหาหลักโดยบูรณาการกับหลักกิจกรรมบ าบัด เพื่อออกแบบชุด กิจกรรมการประยุกต์ใช้ท่าร าเซิ้งกระติบ เพื่อการบริหารกล้ามเนื้อมัดเล็กและกล้ามเนื้อมัดใหญ่

ส าหรับเด็กปฐมวัย โดยให้ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาโดย

3.2.1 ศึกษาข้อมูล เอกสาร สัมภาษณ์ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับลักษณะท่าร า เซิ้งกระติบ ของภาคอีสานที่เป็นลักษณะเฉพาะในการเคลื่อนไหวทั้งมือ และขา

3.2.2. สัมภาษณ์ข้อมูลจากผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านนาฏศิลป์ไทย ด้านเวชศาสตร์

ฟื้นฟู และด้านการศึกษาปฐมวัย เพื่อสร้างชุดกิจกรรมการประยุกต์ใช้ท่าร าเซิ้งกระติบ เพื่อการ บริหารกล้ามเนื้อมัดเล็กและกล้ามเนื้อมัดใหญ่ ส าหรับเด็กปฐมวัย

3.2.3 น าชุดกิจกรรมการประยุกต์ใช้ท่าร าเซิ้งกระติบ เพื่อการบริหารกล้ามเนื้อ มัดเล็กและกล้ามเนื้อมัดใหญ่ ส าหรับเด็กปฐมวัย ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นให้ผู้ทรงคุณวุฒิ จ านวน 3 ท่าน ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านนาฏศิลป์ไทย ผู้ทรงคุณวุฒิด้านเวชศาสตร์ฟื้นฟู และผู้ทรงคุณวุฒิด้าน การศึกษาปฐมวัย เพื่อพิจารณาหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างกิจกรรมกับวัตถุประสงค์

การวิจัย (IOC) ซึ่งผู้ทรงคุณวุฒิแต่ละท่านให้คะแนนตามเกณฑ์ ดังนี้

ให้คะแนน +1 หมายถึง แน่ใจว่ากิจกรรมนั้นสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจัย ให้คะแนน 0 หมายถึง ไม่แน่ใจว่ากิจกรรมนั้นสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจัย ให้คะแนน -1 หมายถึง แน่ใจว่ากิจกรรมนั้นไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจัย ผู้วิจัยน าคะแนนที่ได้จากการพิจารณาของผู้ทรงคุณวุฒิมาหาค่าดัชนีความ สอดคล้อง (IOC) ตั้งแต่ 0.50 ขึ้นไป จ านวน 8 กิจกรรม โดยมีค่า IOC อยู่ที่ระดับ 1.00 และ ตรวจสอบความเหมาะสมของชุดกิจกรรมแล้วน าไปทดลองใช้ ซึ่งผู้คุณวุฒิแต่ละท่านให้คะแนน ตามเกณฑ์ดังนี้

เกณฑ์คะแนน

1. มีค่า IOC ตั้งแต่ 0.50-1.00 มีค่าความเที่ยงตรง ใช้ได้

2. มีค่า IOC ต ่ากว่า 0.50 ต้องปรับปรุง ยังใช้ไม่ได้

3.3 น าชุดกิจกรรมการประยุกต์ใช้ท่าร าเซิ้งกระติบ เพื่อการบริหารกล้ามเนื้อมัดเล็กและ กล้ามเนื้อมัดใหญ่ ส าหรับเด็กปฐมวัย ที่ปรับปรุงแก้ไข ไปทดลองใช้ (Try Out) กับผู้เรียนที่มี

คุณสมบัติเดียวกับกลุ่มตัวอย่าง

3.4 สรุปผลที่ได้จากการทดลองใช้เครื่องมือ น าผลมาวิเคราะห์ และปรับปรุงแก้ไขชุด กิจกรรมการประยุกต์ใช้ท่าร าเซิ้งกระติบ เพื่อการบริหารกล้ามเนื้อมัดเล็กและกล้ามเนื้อมัดใหญ่

ส าหรับเด็กปฐมวัย อีกครั้งให้สมบูรณ์

ตาราง 1 ปฏิทินแสดงวันที่ทดลองท ากิจกรรม

กิจกรรม กิจกรรมหลัก กิจกรรมย่อย ครั้งที่ วัน เดือน ปี

ชุดกิจกรรมการ ประยุกต์ใช้

ท่าร าเซิ้งกระติบ เพื่อการบริหาร กล้ามเนื้อมัดเล็ก และกล้ามเนื้อมัดใหญ่

ส าหรับเด็กปฐมวัย

ชุดบริหาร กล้ามเนื้อมัดเล็ก

(กล้ามเนื้อมือ)

1. ท่าดีดนิ้วมือ

1 13 ธันวาคม 2564

2 15 ธันวาคม 2564

3 17 ธันวาคม 2564

2. ท่าจีบมือ

4 20 ธันวาคม 2564

5 22 ธันวาคม 2564

6 24 ธันวาคม 2564

3. ท่าปั้นข้าวเหนียว

7 27 ธันวาคม 2564

8 29 ธันวาคม 2564

9 30 ธันวาคม 2564

4. ท่าบิดข้อมือ

10 5 มกราคม 2565

11 6 มกราคม 2565

12 7 มกราคม 2565

ชุดบริหาร กล้ามเนื้อมัดใหญ่

(กล้ามเนื้อขา)

5. ท่าย ่าเท้า

13 10 มกราคม 2565

14 12 มกราคม 2565

15 14 มกราคม 2565

6 ท่าก้าวเตะขา

16 17 มกราคม 2565

17 19 มกราคม 2565

18 21 มกราคม 2565

7. ท่ายืนขาเดียว

19 24 มกราคม 2565

20 26 มกราคม 2565

21 28 มกราคม 2565

8. ท่าหมุนตัวแตะเท้า

22 31 มกราคม 2565

23 1 กุมภาพันธ์ 2565 24 2 กุมภาพันธ์ 2565

3. ระยะหลังการทดลอง

3.1 ผู้วิจัยเก็บข้อมูลหลังจากการเข้าร่วมกิจกรรม โดยประเมินพัฒนาการ กล้ามเนื้อมัดเล็ก และกล้ามเนื้อมัดใหญ่ของเด็กปฐมวัย

3.2 ผู้วิจัยน าข้อมูลมาวิเคราะห์ผล 5. การวิเคราะห์ข้อมูล

แบบแผนการทดลอง

การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) ซึ่งผู้วิจัยด าเนินการ ทดลองตามแบบแผนการทดลองกลุ่มเดียวสอบก่อนและหลังเข้าร่วมกิจกรรม (T-Test for Dependent Samples)

กลุ่ม ทดสอบก่อน ทดลอง ทดสอบหลัง

RE 𝑇1𝐸 X 𝑇2𝐸

RC 𝑇1𝐶 - 𝑇2𝐶

ความหมายของสัญลักษณ์

RE แทน กลุ่มทดลอง RC แทน กลุ่มควบคุม

𝑇1𝐸 แทน การทดสอบก่อนของกลุ่มทดลอง 𝑇1𝐶 แทน การทดสอบก่อนของกลุ่มควบคุม

X แทน การจัดกระท าหรือการให้ (Treatment) ด้วยการเข้าร่วมกิจกรรม 𝑇2𝐸 แทน การทดสอบหลังของกลุ่มทดลอง

𝑇2𝐶 แทน การทดสอบหลังของกลุ่มควบคุม

ผู้วิจัยน าข้อมูลที่ได้จากการทดลองมาวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติโดยใช้โปรแกรมส าเร็จรูป SPSS ซึ่งมีการวิเคราะห์ข้อมูลดังนี้

1. ข้อมูลปริมาณ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการน ามาแจกแจงความถี่และค่าร้อยละ หาค่าเฉลี่ย (X) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)

2. แบบประเมินพัฒนาการกล้ามเนื้อมัดเล็กและกล้ามเนื้อมัดใหญ่ ก่อนเข้ารับกิจกรรม และหลังเข้ารับกิจกรรม โดยเปรียบเทียบเพื่อสังเกตความแตกต่างของข้อมูลโดยการใช้สถิติ

(T-Test for Dependent Samples)

6. การสรุป อภิปรายผลและน าเสนองานวิจัย

เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลตามสถิติที่ก าหนดแล้ว ผู้วิจัยจึงสรุปผลการวิจัยตามวัตถุประสงค์ของ การวิจัยที่ตั้งสมมติฐานไว้ คือ ศึกษาผลการประยุกต์ใช้ท่าร าเซิ้งกระติบ เพื่อการบริหารกล้ามเนื้อ มัดเล็กและกล้ามเนื้อมัดใหญ่ ส าหรับเด็กปฐมวัย ส่วนการอภิปรายผลการวิจัยเป็นการสรุปรวมผล จากประสบการณ์ที่ผู้วิจัยได้รับจากการเก็บข้อมูลและจากการลงไปปฏิบัติกิจกรรมกับเด็กปฐมวัย การน าเสนอผลจะอยู่ในรูปแบบความเรียง และตารางประกอบค าบรรยาย

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ในการวิจัยเรื่องการประยุกต์ใช้ท่าร าเซิ้งกระติบ เพื่อการบริหารกล้ามเนื้อมัดเล็กและ กล้ามเนื้อมัดใหญ่ ส าหรับเด็กปฐมวัย ครั้งนี้ผู้วิจัยได้ท าการวิเคราะห์ข้อมูล และเสนอ ผลการวิเคราะห์ดังนี้

สัญลักษณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

ในการวิเคราะห์ข้อมูลและการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยได้ใช้สัญลักษณ์ในการ วิเคราะห์ดังนี้

N แทน จ านวนผู้ทรงคุณวุฒิ

n แทน จ านวนของกลุ่มตัวอย่าง 𝑥̅ แทน คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง SD แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนน t แทน ค่าสถิติที่ใช้ในการพิจารณา t-distribution

การวิเคราะห์ข้อมูล

ผู้วิจัยได้ด าเนินการวิเคราะห์ข้อมูลและการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลตามล าดับ ตาม วัตถุประสงค์ ดังนี้

1. เพื่อออกแบบชุดกิจกรรมการประยุกต์ใช้ท่าร าเซิ้งกระติบ เพื่อการบริหารกล้ามเนื้อ มัดเล็กและกล้ามเนื้อมัดใหญ่

2. เพื่อศึกษาผลการใช้ชุดกิจกรรมการประยุกต์ใช้ท่าร าเซิ้งกระติบ เพื่อการบริหาร กล้ามเนื้อมัดเล็กและกล้ามเนื้อมัดใหญ่

2.1 เปรียบเทียบผลการทดลองก่อนและหลัง การทดลองใช้ชุดกิจกรรมการ ประยุกต์ใช้ท่าร าเซิ้งกระติบ เพื่อการบริหารกล้ามเนื้อมัดเล็กและกล้ามเนื้อมัดใหญ่ ส าหรับเด็ก ปฐมวัย ของกลุ่มทดลองแยกเป็นรายบุคคล

2.2 เปรียบเทียบผลการประเมินพัฒนาการกล้ามเนื้อมัดเล็ก ก่อนและหลังการ ทดลองใช้ชุดกิจกรรม ของกลุ่มทดลอง