• Tidak ada hasil yang ditemukan

การสอนรําหน้าพาทย์ชั นสูงในชั นเรียน

ผู้วิจัยนําเรืองการสอนรําหน้าพาทย์ชั นสูงในชั นเรียนมากล่าวในบทนี เพราะ พิจารณาเป็นว่า การสอนรําหน้าพาทย์นอกพิธีไหว้ครูและครอบเป็นจารีตอย่างหนึง มีลักษณะ เฉพาะทีเด่นชัดของการเรียนการสอนนาฏศิลป์ไทย โดยเฉพาะตัวครูผู้สอนหรือผู้ถ่ายทอด จะต้อง เป็นผู้ได้รับการครอบและได้รับ “การมอบ” มาแล้วเท่านั นจึงจะทําการต่อท่ารําหน้าพาทย์ชั นสูงได้

“การมอบ” เป็นพิธีกรรมหนึงทีดําเนินต่อจากพิธีครอบ ในขั นตอนนี ผู้ประกอบ พิธีเปรียบเสมือนเป็นพระภรตฤษีดําเนินการมอบทีเรียกว่า เครืองโรง ได้แก่ อาวุธต่าง ๆ ทีใช้ใน การแสดง อาทิ พระขรรค์ จักร คฑา ตรี ดาบ พลอง ศร กระบองเงาะ ไม้คลี มัดรวมเป็นกํา ส่ง มอบให้แก่ผู้เรียน พร้อมทั งประสิทธิ ประสาทพรเสมือนเป็นการประกาศอนุญาตให้ผู้เรียนนั นไป เป็นครูถ่ายทอดวิชานาฏศิลป์ไทยแก่ผู้อืนต่อไปได้ อาวุธต่าง ๆ ทีมอบให้ มีความหมายว่า เมือ ผู้เรียนนําอาวุธไปฝึกฝนจนชํานาญก็จะเป็นผู้มีความสามารถสูง เพราะอาวุธ แต่ละชนิดมีกล วิธีการใช้แตกต่างกัน (ประเมษฐ์ บุณยะชัย, 2540 : 17-18) จากการสังเกตการณ์การเรียนการ สอนหน้าพาทย์ชั นสูงในสถาบันอุดมศึกษา การศึกษาเอกสารเกียวกับการสอนหน้าพาทย์ชั นสูง และจากประสบการณ์การสอนหน้าพาทย์ชั นสูงของผู้วิจัย พบว่าการสอนหน้าพาทย์ชั นสูงนั นมี

ลําดับขั นตอน ซึงเป็นแนวทางในการสอนมีลําดับขั นตอนดังนี

3.3.1 สอนประวัติ ความหมาย ความสําคัญและโอกาสทีใช้เพลงหน้า พาทย์ชันสูง อันดับแรกของการสอนหน้าพาทย์ชั นสูงจะต้องอธิบายประวัติความเป็นมาของ เพลง ความหมาย ความสําคัญของเพลง ตลอดจนอธิบายการนําเพลงนั นๆ ไปใช้ให้ถูกต้องตาม หลักปฏิบัติ ทั งนี ก็เพือให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าของเพลงหน้าพาทย์ชั นสูง และนําไปใช้ได้อย่างถูกต้อง

74

3.3.2 ฟังทํานองเพลงให้คุ้นเคย สิงสําคัญอันดับแรกในการสอนรําหน้า พาทย์ชั นสูงคือ การฟังเพลงหลายๆ เทียวจนคุ้นเคยทํานองเพลง เพลงหน้าพาทย์ชั นสูงทุกเพลง จะมีการกํากับจังหวะด้วยหน้าทับตะโพนหรือกลองทัด บางเพลงมีทั งตะโพนและกลองทัด การรํา เพลงใดก็ตามจําเป็นอย่างยิงทีผู้รําจะต้องรู้ทํานองเพลง ยกเว้นเพลงทีมีความยาวมากๆ เช่น เพลงสาธุการ เชิดฉาน เชิดฉิงและเพลงกลม สามารถจะใช้การสังเกตประโยคหรือวรรคของเพลง โดยไม่ต้องรู้ ทํานองเพลงทั งหมด ซึงเพลงหน้าพาทย์ชั นสูงโดยทัวไป จะเป็นเพลงสั นๆ ความคุ้นเคยกับทํานองเพลงหรือความสามารถทีจะจับเสียงลูกตกของวรรคเพลงได้ จะช่วยให้

การรํากระชับ งดงาม สามารถกําหนดความช้าเร็วของการเชือมต่อท่ารําให้ลงได้ตรงกับจังหวะ หน้าทับพอดี

3.3.3 ฟังจังหวะหน้าทับให้คุ้นเคย หน้าทับเป็นแบบแผนทีมีการบัญญัติไว้

สําหรับการตีตะโพนและกลองทัดเพือกํากับเพลงหน้าพาทย์ การฟังจังหวะของกลองและตะโพน ซึงเป็นเครืองดนตรีกํากับจังหวะในขณะรําหน้าพาทย์ชั นสูง มีความสําคัญยิงประการหนึง เพราะ เปรียบเสมือนเป็นการตรวจสอบการรําอีกชั นหนึงว่า การรํานั นถูกต้องตรงตามจังหวะหน้าทับ ประจําเพลงหน้าพาทย์นั นๆ หรือไม่ ซึงคําทีใช้เรียกชือการตีตะโพนและกลองทัดมีแตกต่างกันไป ตามลักษณะเพลง ดังนี (สมาน น้อยนิตย์, สัมภาษณ์, 21 มิถุนายน 2553)

1) ไม้ หมายถึง การกําหนดนับจํานวนการตีกลองทัดทีเรียกว่า “ไม้เดิน”

การตีไม้เดินทีหนึงจะเรียกว่า 1 ไม้ 2 ที จะเรียกว่า 2 ไม้

2) ไม้กลอง หมายถึง การตีกลองทัดตามแบบแผนทีบัญญัติไว้เป็น ประจํากับทํานองเพลงโดยเฉพาะ กลองทัดจะมีหน้าทีดีให้ถูกต้องตามแบบแผนทีบัญญัติไว้เป็น ประจํากับทํานองเพลงต่างๆ เช่นเดียวกับเครืองทีขึงไว้ด้วยหนังทีเลียนเสียงทับ เพราะฉะนั น วิธีการตีกลองทัดจึงเรียกว่า “ไม้กลอง” ไม่เรียกว่า “หน้าทับ”

3) ไม้เดิน หมายถึง ไม้ทีตีลงทีหน้ากลองทัดตัวเมีย(เสียงตํา) ด้วย จังหวะทีสมําเสมอ จะถีหรือห่างเท่าใดขึ นอยู่กับลักษณะของทํานองเพลง

4) ไม้ลา หมายถึง ไม้ทีตีลงทีหน้ากลองทัดตัวผู้(เสียงสูง) สลับกับตีที

หน้ากลองทัดตัวเมีย(เสียงตํา) ต่อจากไม้เดิน ด้วยจังหวะการตีทีไม่เท่ากัน จะช้าหรือเร็วกว่า จังหวะบ้าง จะสั นหรือยาวขึ นอยู่กับทํานองเพลง ไม้ลาเป็นไม้ทีแสดงการจบของเพลงนั นๆ ตาม แบบแผนทีบัญญัติไว้

75

5) บากไม้เดิน หมายถึง การบอกสัญญาณการหมดท่อนเพลงหรือ ประโยคเพลง โดยตีดําเนินเป็นไม้เดินสมําเสมอถีเป็น 1 เท่าตัวของไม้เดินปกติทีกลองทัดเสียงสูง 2 ไม้ จากนั นจึงเปลียนมาตีกลองทัดเสียงตําอีก 2 ไม้ ในระยะจังหวะเท่ากัน เช่น บากไม้เดินใน เพลงเชิดฉาน เป็นต้น

6) ไม้ปฎล หมายถึง ชือเรียกการตีตะโพน-กลองทัดในเพลงกระบองกัน ของการแสดงโขนละครแต่โบราณเพือให้ผู้รําเพลงหน้าพาทย์ เข้าใจการนับจังหวะไม้กลอง ซึง การรําหน้าพาทย์เพลงกระบองกันจะเรียกว่า “ไม้ปฎล” ไม่เรียกว่า “ไม้กลอง ไม้เดิน ไม้ลา”

7) เล่นไม้ หมายถึง การตีกลองทัดพลิกแพลงสอดแทรกให้ผิดไปจาก แบบแผนไม้กลองเดิม แต่ยึดถือไม้กลองอันเป็นเนื อแท้ของเดิมไว้เป็นหลัก เพือแก้เบือและเพือให้

เหมาะสมกับท่ารําของตัวโขนละครทีบรรเลงประกอบ เช่น การเล่นไม้ในเพลงกลม เป็นต้น ลักษณะเพลงหน้าพาทย์กับการใช้หน้าทับ แบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่ม คือ

1) กลุ่มใช้ตะโพนอย่างเดียว ได้แก่ เพลงสาธุการ เพลงช้า เพลงเร็ว เพลง นังกิน เพลงเซ่นเหล้า เพลงเชื อ เป็นต้น

2) กลุ่มใช้ตะโพนและกลองทัด ซึงจะมีทั ง “ไม้เดิน” และ “ไม้ลา” ผสมกัน เพลงทีประกอบด้วยไม้เดินและไม้ลานี ถ้าเป็นประเภทเพลงเสมอธรรมดา จะมีไม้เดิน 5 ไม้ แล้ว ลงลาซึงครูทางนาฏศิลป์เรียกว่า 4 ไม้ เมือรวมจังหวะการรําของไม้ลาด้วยแล้ว เสมอจะมี 9 ไม้

หรือ 9 จังหวะ เรียกกันว่าขึ นห้าลงสี คือ ท่ารําทีก้าวเท้าไปข้างหน้าสลับซ้ายขวา 5 ก้าวและวาง เท้าถอยลงข้างหลัง 4 ก้าว ฉะนั นการรําเพลงประเภทเสมอจะกําหนดนับจากไม้กลอง โดยใช้

จังหวะในการรําให้ลงพร้อมกับไม้กลองเฉพาะจังหวะของไม้เดินเท่านั น

“ลา” มีความหมายว่า ถึงทีแล้ว ทํานองของ “ลา” เป็นอัตราจังหวะ 2 ชั น เทียบ ได้กับจังหวะหน้าทับปรบไก่ มักใช้บรรเลงต่อจากเพลงเสมอ ซึงเพลงเสมอแต่ละเพลงอาจ แตกต่างกันไป อาทิ เสมอธรรมดา เสมอภาษา(แขก ลาว มอญ พม่า) และเสมอมาร มี 5 ไม้ลา เสมอเถรมี 9 ไม้ลา บาทสกุณีมี 14 ไม้ลา เป็นต้น ทีเรียกว่า 4 ไม้ลา 5 ไม้ลา 9 ไม้ลา หรือ 14 ไม้

ลา นั น หมายความว่า ในการบรรเลงดนตรีจะมี 4 ไม้เดินแล้วลงลา หรือ มี 5 ไม้เดินแล้วลงลา หรือ มี 14 ไม้เดินแล้วลงลา ซึงเป็นการเรียกสั นๆ เป็นทีเข้าใจกันของนักดนตรี ดังตัวอย่างแผนผัง แสดงจํานวนไม้เดินและไม้ลาของเพลงตระนิมิต ตระเชิญ ตระสันนิบาต ตระนารายณ์บรรทมสินธุ์

ตระบรรทมไพร ซึงมี 4 ไม้ลา เป็นต้น

76

อย่างไรก็ตามมีข้อสังเกตว่า ส่วนทีเรียกว่าลา นัน มีจังหวะการตีกลองทัดลงที

หน้ากลองทัดตัวผู้(เสียงสูง) สลับกับตีทีหน้ากลองทัดตัวเมีย(เสียงตํา) ตียักเยื องถึง 12 ครั งหรือที

เรียกว่า ตีสับ (สมาน น้อยนิตย์, สัมภาษณ์,21 มิถุนายน 2553) ในจังหวะการตีทีช้า-เร็ว ไม่

สมําเสมอกัน ส่วนการรําจะยึดจังหวะสามัญหรือจังหวะฉิงอัตรา 2 ชั นซึงมีอยู่ 4 จังหวะ และมี

อัตราความช้า-เร็วทีสมําเสมอกันเป็นหลัก ดังนั นท่ารําจะไม่ลงตรงกับไม้กลอง 12 ไม้ทียักเยื องไม่

สมําเสมอนั น

ในบางครั งการนับจังหวะหน้าทับและไม้กลองด้วยการท่องจําเป็นสูตร เช่น เพลง ชํานาญ มีสูตรท่องจําหน้าทับและไม้กลองคือ 2-8-4-4-12 หรือเพลงตระบองกัน มีสูตรท่องจํา หน้าทับและไม้กลองคือ 2-1-12-6-12 สูตรการนับดังกล่าว อาจจะไม่ใช่วิธีทีช่วยให้รําได้ถูกต้อง กับเพลงทีรําเสมอไป ถ้าหากผู้รําไม่คุ้นเคยทํานองเพลงและฟังไม่รู้ว่าเพลงนั นคือเพลงอะไร วรรค แรกหรือประโยคแรกของเพลงบางเพลงจะมีจังหวะทีคล้ายคลึงกันมาก ดังนั นถ้าใช้การนับจังหวะ หน้าทับหรือไม้กลองของเพลงหนึง แต่ทํานองเพลงเป็นอีกเพลงหนึงโดยทีผู้รําไม่รู้ การรําก็จะ ผิดพลาดและยากทีจะแก้ไขปรับท่ารําให้สวมตรงกับทํานองเพลง จังหวะหน้าทับและไม้กลองที

ถูกต้องได้ เพราะทํานองเพลงกับท่ารําและจังหวะเป็นคนละเพลงกัน ยกตัวอย่าง เพลงชํานาญ และเพลงตระบองกัน การเรียงลําดับท่ารําของเพลงทั งสองจะเหมือนกันทุกท่ารํา ความแตกต่าง กันจะอยู่ทีลักษณะและจํานวนจังหวะของท่ารําแต่ละท่าเท่านั น ซึงมีความแตกต่างกันอย่าง สิ นเชิง หากผู้รําไม่รู้ทํานองเพลงเลย โอกาสทีจะรําผิดพลาดจะมีสูงมาก แต่ถ้าหากรู้ทั งทํานอง เพลงและจังหวะหน้าทับด้วย ก็จะช่วยให้การรํานั นงดงามถูกต้องสมบูรณ์ทีสุด

3.3.4 อธิบายท่ารําทีใช้ในเพลง เป็นขั นตอนการอธิบายพร้อมทั งสาธิตท่า รําของเพลงหน้าพาทย์ชั นสูงนั นๆ อย่างช้าๆ โดยครูเป็นผู้รํานําข้างหน้าและให้ผู้เรียนรําตามครู ที

ละท่าอย่างช้าๆ การต่อท่ารําเช่นนี เรียกว่า ต่อท่าดิบ คือ การสอนท่ารําโดยยังไม่ต้องเข้ากับ ทํานองเพลง ยังไม่มีดนตรีประกอบการรํา ดังนั นการรํานั นจะยืดช้าอย่างไรก็ได้เพราะยังไม่มี

ดนตรีมากํากับให้ต้องรําให้ตรงทํานองเพลงและจังหวะหน้าทับ การต่อท่าดิบช่วยให้ผู้เรียนเกิด

1 2 3 4

ไม้ลา ไม้เดิน