• Tidak ada hasil yang ditemukan

การสังเคราะห์ตัวบ่งชี้การพัฒนาภาวะผู้น าเชิงนวัตกรรม ประกอบการยกร่างโปรแกรม

เสริมสร้างภาวะผู้น าเชิงนวัตกรรมส าหรับครู สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษามุกดาหาร

ตัวบ่งชี้ สนทนาอิงผู้เชี่ยวชาญ Connoisseurship

แนวการปฏิบัติ

ด้านการมีวิสัยทัศน์นวัตกรรม 1. กระตุ้นให้ทุกคนในโรงเรียน มีความรู้สึกร่วมและเต็มใจที่จะ ร่วมกันปฏิบัติงานให้บรรลุ

เป้าหมาย

2. สร้างความน่าเชื่อถือและให้

ได้รับการยอมรับโดยให้ทุกคน มีความรู้สึกว่าตนเองเป็นส่วน ของวิสัยทัศน์

3. มีความเป็นนักพัฒนาเพื่อให้

โรงเรียนก้าวหน้าโดยการใช้

นวัตกรรมและเทคโนโลยีมา เป็นเครื่องมือในการพัฒนา 4. มีความมุ่งหวังที่จะเห็น โรงเรียนมีความเป็นเลิศ 5. แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่ง กันและกันในวิสัยทัศนที่

ร่วมกันก าหนดขึ้นโดยบุคคล ภายในและภายนอกโรงเรียน 6. ประชาสัมพันธ์เผยแพร่

วิสัยทัศน์ สื่อสารวิสัยทัศน์

นวัตกรรมของโรงเรียนให้

ผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบ

ด้านการมีวิสัยทัศน์นวัตกรรม 1. สร้างความเชื่อถือ และ ยอมรับว่าทุกคนเป็นส่วนหนึ่ง ของวิสัยทัศน์ที่ร่วมกันสร้างขึ้น 2. เห็นคุณค่าในตนเองและเห็น คุณค่าของเพื่อนร่วมงานทุกคน 3. ส่งเสริมให้บุคลากรน า เทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการพัฒนา โรงเรียน และใช้นวัตกรรมที่

สร้างขึ้นมาใช้ในการปฏิบัติงาน 4. สร้างการเรียนรู้ ความเข้าใจ ถึงเทคโนโลยี และนวัตกรรมต่าง ๆ ที่ร่วมกันสร้างขึ้นสามารถ พัฒนาโรงเรียนได้อย่างมี

ประสิทธิภาพ

5. สร้างความมุ่งหวัง หรือ คาดหวังให้ทุกคนได้ร่วมกัน พัฒนาความเป็นเลิศในด้านต่าง 6. ก าหนดเป้าหมาย ก าหนด ทิศทาง ให้ทุกคนมองเห็นถึง ความส าเร็จที่จะเกิดขึ้นกับ โรงเรียน

ด้านการมีวิสัยทัศน์นวัตกรรม 1) ร่วมกันตั้งเป้าหมาย และ ร่วมกันวางแนวทาง ในการ พัฒนาให้เป็นเลิศในทุกด้าน 2) สร้างความน่าเชื่อถือและให้

ได้รับการยอมรับโดยให้ทุกคนมี

ความรู้สึกว่าตนเองเป็นส่วนของ วิสัยทัศน์

3) สร้างความตระหนักให้ทุกคน เห็นความส าคัญของการน า เทคโนโลยีมาพัฒนาโรงเรียน 4) ส่งเสริมให้บุคลากรน า เทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการ พัฒนาโรงเรียน และใช้

นวัตกรรมที่สร้างขึ้นมาใช้ใน การปฏิบัติงาน

5) แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่ง กันและกันในวิสัยทัศนที่ร่วมกัน ก าหนดขึ้นโดยบุคคลภายใน และภายนอกโรงเรียน 6) ประชาสัมพันธ์เผยแพร่

วิสัยทัศน์ สื่อสารวิสัยทัศน์

นวัตกรรมของโรงเรียนให้

ผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบ

103 ตาราง 6 (ต่อ)

ตัวบ่งชี้ สนทนาอิงผู้เชี่ยวชาญ Connoisseurship

แนวการปฏิบัติ

การมีความคิดสร้างสรรค์

นวัตกรรม 1. พัฒนาตนเองโดยใช้

ความรู้ ทักษะ และ ประสบการณ์ในการท างาน เพื่อพัฒนางานให้มี

ประสิทธิภาพ

2. แสวงหาความรู้ใหม่ ๆ และสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ วิธีการใหม่ ๆ น ามาใช้การ จัดการเรียนการสอน ในสถานศึกษา 3. การมีจินตนาการ ในการคิดสร้างสรรค์

นวัตกรรมเพื่อเป็น ทางเลือกใหม่ๆ ในการปฏิบัติงาน 4. มีการคิดวิเคราะห์อย่าง รอบคอบทุกด้าน เปิด โอกาสให้ทุกคนได้

สร้างสรรค์ผลงานที่เป็น ประโยชน์ร่วมกัน ร่วมกัน แบ่งปันความรู้ และวิธีการ ใหม่ ๆ ให้แก่กันและกัน 5. มีวิจารณญาณ ในการ เลือกใช้นวัตกรรมให้

เหมาะสมกับบริบทและ สถานการณ์

การมีความคิดสร้างสรรค์นวัตกรรม 1. ส่งเสริมให้ครูได้ คิดค้น นวัตกรรม ในการด าเนินงานต่าง ๆ ให้เกิดระ สิทธิภาพ

2. จัดเวทีให้ครูทุกคนได้แสดง ศักยภาพในการน าเสนอนวัตกรรม เพื่อพัฒนาโรงเรียน

3. สนับสนุนให้ครูทุนคนได้คิดค้น สร้างสรรค์นวัตกรรม วิธีการใหม่ๆ ในการพัฒนาโรงเรียน

4. เปิดโอกาสให้ทุกคนได้คิด สร้างสรรค์ ในการพัฒนานวัตกรรม เพื่อพัฒนาโรงเรียน

5. กระตุ้นให้ทุกคนได้คิดค้น สร้าง จินตนาการในการสร้างนวัตกรรม เพื่อเป็นทางเลือกให้กับการพัฒนา โรงเรียนที่หลากหลาย

6. บุคลากรทุกคนจะต้องเปิดใจรับ ความคิดเห็นนวัตกรรมใหม่ๆ ทางเลือกใหม่ๆ ที่เพื่อนร่วมงานสร้าง ขึ้นมาเพื่อพัฒนาโรงเรียน

7. บุคลากรทุกคนคนจะต้องตื่นตัว พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง ที่จะ เกิดขึ้นได้อยางรวดเร็ว

8. บุคลากรทุกคนจะปรับระบบงาน ให้สอดรับกับการเปลี่ยนแปลงสิ่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับภารกิจที่ปฏิบัติงาน

การมีความคิดสร้างสรรค์

นวัตกรรม 1) สนับสนุนให้ครูทุนคนได้

คิดค้น สร้างสรรค์นวัตกรรม วิธีการใหม่ๆ ในการพัฒนา โรงเรียน

2) ส่งเสริมให้ครูได้ แสวงหา ความรู้ใหม่ ๆ และ คิดค้น นวัตกรรม สร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ วิธีการใหม่ ๆ น ามาใช้การ จัดการเรียนการสอน ใน สถานศึกษา

3) กระตุ้นให้ทุกคนได้คิดค้น สร้างจินตนาการในการสร้าง นวัตกรรม เพื่อเป็นทางเลือก ให้กับการพัฒนาโรงเรียนที่

หลากหลาย

4) มีการคิดวิเคราะห์อย่าง รอบคอบทุกด้าน เปิดโอกาสให้

ทุกคนได้สร้างสรรค์ผลงานที่

เป็นประโยชน์ร่วมกัน ร่วมกัน แบ่งปันความรู้ และวิธีการ ใหม่ ๆ ให้แก่กันและกัน 5) บุคลากรทุกคนจะต้องเปิดใจ รับความคิดเห็นนวัตกรรมใหม่ๆ ทางเลือกใหม่ๆ ที่เพื่อนร่วมงาน สร้างขึ้นมาเพื่อพัฒนาโรงเรียน

104 ตาราง 6 (ต่อ)

ตัวบ่งชี้ สนทนาอิงผู้เชี่ยวชาญ Connoisseurship

แนวการปฏิบัติ

6. เตรียมความพร้อมใน การรับมือกับการ

เปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นใน ระบบการท างาน

ที่เปลี่ยนไปตาม สถานการณ์

9. กระบวนการท างานทุก กระบวนการจะต้องสามารถให้มี

ความยืดหยุ่นสามารถปรับเปลี่ยน และพัฒนาโรงเรียนไปในทิศทางที่ดี

6) บุคลากรทุกคนจะต้องตื่นตัว เตรียมความพร้อมรับการ เปลี่ยนแปลง ที่จะเกิดขึ้นได้

อย่างรวดเร็ว

7) บุคลากรทุกคนจะปรับ ระบบงาน ให้สอดรับกับการ เปลี่ยนแปลง กระบวนการ ท างานจะต้องสามารถให้มี

ความยืดหยุ่นสามารถ

ปรับเปลี่ยนและพัฒนาโรงเรียน ไปในทิศทางที่ดี

ด้านการเป็นผู้น าการ เปลี่ยนแปลง 1. มีความชัดเจนในการ ปฏิบัติงาน กล้าที่จะท าใน สิ่งใหม่ ๆ มีความจริงใจ มี

คุณธรรม น าทีมงานไปสู่

ความส าเร็จที่ตั้ง 2. มีการสร้างแรงบันดาล ใจให้เพื่อนครู ให้ความ ไว้วางใจ เสริมแรงจูงใจ ให้แก่เพื่อนครูในการ ปฏิบัติงาน

ด้านการเป็นผู้น าการเปลี่ยนแปลง 1. จัดเวทีให้บุคลากรทุกคนได้ท างาน ร่วมกัน

2. สร้างความตระหนักให้ทุกคนเห็น ความส าคัญของเพื่อนร่วมงาน 3. สร้างกิจกรรมกลุ่มเพื่อให้เกิด ความสัมพันธ์ที่ดีต่อกน

4. ให้ความส าคัญกับบุคลากรใน โรงเรียนและ พร้อมที่จะรับฟังความ คิดเห็น

5. ร่วมกันตัดสินใจในการด าเนิน กิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียน

ด้านการเป็นผู้น าการ เปลี่ยนแปลง 1) เปิดโอกาสให้บุคลากรทุกคน ได้ท างานร่วมกัน สร้างความ ตระหนักให้ทุกคนเห็น

ความส าคัญของเพื่อนร่วมงาน 2) สร้างแรงบันดาลใจให้เพื่อน ครู ให้ความไว้วางใจ เสริม แรงจูงใจให้แก่เพื่อนครูในการ ปฏิบัติงาน

3) ให้ความส าคัญกับบุคลากร ในโรงเรียนและ พร้อมที่จะรับ ฟังความคิดเห็น ค านึงถึงความ เป็นปัจเจกบุคคล หรือ ลักษณะเฉพาะของบุคคล ใน การยอมรับการเปลี่ยนแปลง

105 ตาราง 6 (ต่อ)

ตัวบ่งชี้ สนทนาอิงผู้เชี่ยวชาญ Connoisseurship

แนวการปฏิบัติ

3. ค านึงถึงความเป็น ปัจเจกบุคคล หรือ ลักษณะเฉพาะของบุคคล ในการยอมรับการ เปลี่ยนแปลง ว่าแต่ละ บุคคลสามารถยอมรับ ความเปลี่ยนแปลงได้ มาก น้อยเพียงใด

4. การกระตุ้นทางปัญญา ให้เพื่อนร่วมงานตระหนักรู้

ถึงความส าคัญของการการ เปลี่ยนแปลง และความ จ าเป็นในการเปลี่ยนแปลง 5. แสดงออกให้เพื่อนครู

เห็นถึงการเป็นนักคิด นักพัฒนา นักวางแผน คิด เชิงระบบ และสามารถ วิเคราะห์การท างานได้

อย่างมีประสิทธิภาพ 6. น าเทคโนโลยีเข้ามา ส่งเสริมในการสร้าง นวัตกรรม และสร้างสรรค์

สิ่งใหม่ๆ เพื่อยกระดับคุณ การศึกษา สถานศึกษา

6. เปิดโอกาสให้ทุกคนได้มีส่วนร่วม ในการวางแผนในการด าเนินกิจกรรม ต่าง ๆ ของโรงเรียนให้เกียรติและ เคารพในการตัดสินใจของ ผู้ใต้บังคับบัญชา

7. ยอมรับฟังความคิดเห็นและการ ตัดสินใจของผู้ใต้บังคับบัญชา 8. ให้ความส าคัญและเห็นคุณค่าใน ตัวของผู้ใต้บังคับบัญชาส่งเสริมให้

เกิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ระหว่าง เพื่อนครู

9. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนองค์

ความรู้หรือแลกเปลี่ยนปัญหาที่พบ เพื่อร่วมกันหาแนวทางการแก้ไข ปัญหา

10. สร้างความเข้าใจในแนวทางการ พัฒนาโรงเรียนให้ไปในทิศทาง เดียวกัน

4) เปิดโอกาสให้ทุกคนได้มีส่วน ร่วมในการวางแผนในการ ด าเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของ โรงเรียนให้เกียรติและเคารพใน การตัดสินใจของเพ่อนร่วมงาน 5) ยอมรับฟังความคิดเห็นและ การตัดสินใจของเพื่อนร่วมงาน เห็นคุณค่าในตัวของเพื่อน ร่วมงาน ส่งเสริมให้เกิดชุมชน แห่งการเรียนรู้ระหว่างเพื่อนครู

6) จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนองค์

ความรู้หรือแลกเปลี่ยนปัญหาที่

พบเพื่อร่วมกันหาแนวทางการ แก้ไขปัญหา น าเทคโนโลยีเข้า มาส่งเสริมในการสร้าง นวัตกรรม และสร้างสรรค์สิ่ง ใหม่ๆ เพื่อยกระดับคุณ การศึกษา สถานศึกษา

106 ตาราง 6 (ต่อ)

ตัวบ่งชี้ สนทนาอิงผู้เชี่ยวชาญ Connoisseurship

แนวการปฏิบัติ

ด้านการท างานเป็นทีม 1. มีการก าหนดทิศทางที่

ชัดเจนร่วมกัน ของคณะ ครู ว่าต้องการการมาร่วม กันท างานนั้นเพื่อ

วัตถุประสงค์ใด งานใดเป็น ตัวขับเคลื่อน

2. สร้างกลุ่มเครือข่าย ภายในโรงเรียนเพื่อ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกัน และกัน

3. การส่งเสริมทักษะใน การท างานเป็นทีม เปิด โดยเปิดกาสให้ทุกคนได้

ร่วมกันสร้างสรรค์ผลงาน หรือนวัตกรรมๆ ใหม่ๆ เพื่อใช้ในการท างาน 4. การสร้างสัมพันธภาพ ทุกคนพร้อมที่จะช่วยเหลือ ซึ่งกันและกัน เมื่อพบ ปัญหาในการปฏิบัติงาน สนับสนุนทรัพยากรซึ่งกัน และกันในการปฏิบัติงาน เพื่อเพื่อที่จะปฏิบัติงานได้

อย่างมีประสิทธิภาพ

ด้านการท างานเป็นทีม 1. บุคลากรทุกคนร่วมกันแสดง ความเห็นในการพัฒนานวัตกรรม ใหม่ๆ ที่ใช้ในการพัฒนางาน 2. สร้างความตระหนักให้เห็นถึง ความส าคัญของการพัฒนานวัตกรรม โดยทุกคนเข้ามามีส่วนร่วม

4. เปิดโอกาสให้ทุกคนได้มีส่วนร่วม ในการสร้าง และพัฒนานวัตกรรม 5. ครูทุกคนจะต้องร่วมกันก าหนด วิสัยทัศน์เป้าหมายในการพัฒนา โรงเรียน

6. ทุกคนจะต้องเห็นภาพในการ พัฒนาโรงเรียนให้ชัดเจน และเป็นไป ในทิศทางเดียวกัน

7. จัดเวทีแลกเปลี่ยน รับฟังความ คิดเห็นในการก าหนดวิสัยทัศน์

เป้าหมายของโรงเรียน

8. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้

อย่างสม่ าเสมอโดยใช้รูปแบบที่

หลากหลาย

9. สร้างความตระหนักให้ทุกคนเห็น ความส าคัญของการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ว่ามีประโยชน์อยางมากในการ พัฒนาโรงเรียน

ด้านการท างานเป็นทีม 1) บุคลากรร่วมกันก าหนด ทิศทางที่ชัดเจน ร่วมกันแสดง ความเห็นในการพัฒนา นวัตกรรมใหม่ๆ ที่ใช้ในการ พัฒนางาน

2) สร้างความตระหนักให้เห็น ถึงความส าคัญของการพัฒนา นวัตกรรม

3) การส่งเสริมทักษะในการ ท างานเป็นทีม เปิดโดยเปิดกาส ให้ทุกคนได้ร่วมกันสร้าง และ พัฒนานวัตกรรมๆ ใหม่ๆ เพื่อ ใช้ในการท างาน

4) การสร้างสัมพันธภาพ ทุกคน พร้อมที่จะช่วยเหลือซึ่งกันและ กัน เมื่อพบปัญหาในการ ปฏิบัติงานทุกคนจะต้องเห็น ภาพในการพัฒนาโรงเรียนให้

ชัดเจน และเป็นไปในทิศทาง เดียวกัน

5) มีการสื่อสารที่ดี ให้

ค าปรึกษา และสร้างความมั่นใจ ให้แกเพื่อร่วมงาน ในการ ปฏิบัติงานจัดกิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่าง สม่ าเสมอโดยใช้รูปแบบที่

หลากหลาย