• Tidak ada hasil yang ditemukan

วิธีการดําเนินการวิจัย

3.2 ประชากรและการเลือกกลุ่มตัวอย่าง

3.2.2 การเลือกสุ่มตัวอย่าง

การเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจากกลุ่มเป้าหมายโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ เจาะจง หรือPurposive Sampling (Cohen, L. & Manion, L., 2007) ในการแจกแบบสอบถาม ออนไลน์ เพื+อรวบรวมเก็บข้อมูลแบบสอบถาม เพื+อให้ได้ตัวอย่างที+เหมาะสมในการทําวิจัยในครัQงนีQ

การวิจัยในครัQงนีQไม่ทราบจํานวนประชากรที+แน่นอนเนื+องจาก กลุ่มประชากรที+สนใจมีขนาดใหญ่

และไม่สามารถนับออกมาเป็นจํานวนที+แน่นอนได้

ผู้วิจัยจึงมีการกําหนดคุณลักษณะของกลุ่มประชากรเป้าหมายที+ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่าง ดังนีQ

1. กลุ่มประชากรที+อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร

2. เป็นกลุ่มที+เคยใช้บริการสั+งซืQออาหาร และเครื+องดื+มจากแอพพลิเคชั+นเดลิเวอรี+

ทางผู้วิจัยได้อ้างอิงสูตรจาก Cochran ในการคํานวณขนาดตัวอย่าง (Cochran, 1977 อ้าง ใน ธีรวุฒิ เอกะกุล, 2543) โดยกําหนดให้มีขนาดความแปรปรวนสูงสุด คือ p = 0.5 และ q = 0.5 โดย ยอมรับความคลาดเคลื+อนได้ในขอบเขตร้อยละ 5 ที+ระดับความเชื+อมั+นที+ 95% สามารถคํานวณได้

ดังนีQ

N = !!$"#!

โดยที+ N คือ ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง Z คือ ระดับความเชื+อมั+น

p คือ โอกาสที+จะเกิดเหตุการณ์ หรือสัดส่วนของคุณลักษณะที+สนใจใน กลุ่มตัวอย่าง

q คือ โอกาสที+จะไม่เกิดเหตุการณ์ ซึ+งเท่ากับ 1-p ในกรณีของกลุ่มตัวอย่าง e คือ ระดับความคลาดเคลื+อนของการสุ่มตัวอย่าง

n = (&.())!(+.+,)(&-+.,) (+.+,)!

n = 384.16 ดังนัQน n = 384.16 หรือ 385 ตัวอย่าง

จากการคํานวณพบว่าในกรณีที+ไม่ทราบจํานวนประชากรที+แน่นอน ณ ระดับ ความเชื+อมั+นที+ 95% จะ ได้ขนาดของกลุ่มตัวอย่างที+เหมาะสมเท่ากับ 385 ตัวอย่าง

3.2.3 กลยุทธ์ในการเข้าถึงกลุ่มตัวอย่าง

จากการที+ผู้วิจัยได้เลือกวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง หรือPurposive Sampling ในการ แจกแบบสอบถามเพื+อรวบรวมข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถามออนไลน์จํานวนไม่น้อยกว่า 385 ตัวอย่าง ประชากรณ์เป้าหมายในการวิจัยครัQงนีQคือ ผู้ที+เคยใช้แอพเดลิเวอรี+ในการสั+งอาหารซึ+งอาศัยอยู่ใน จังหวัดกรุงเทพมหานคร โดยจะใช้วิธีกลยุทธ์ในการแจกแบบสอบถามออนไลน์ดังนีQ

1.ทางผู้วิจัยทําการโพสต์ และใช้ลิงค์สําหรับตอบแบบสอบถามในเพจเฟซบุ๊ก ที+

เกี+ยวข้องกับคนชอบอาหารหรือกลุ่มผู้ประกอบการร้านอาหาร

2.ทางผู้วิจัยทําการโพสต์ ใช้ลิงค์ในสื+อสังคมออนไลน์ต่าง ๆดังนัQนจะสามารถ รวบรวมแบบสอบถามได้อย่างครอบคลุมกลุ่มตัวอย่างมากขึQน

3.3 เครื-องมือที-ใช้ในการวิจัย

ในการศึกษาวิจัยในครัQงนีQ ผู้วิจัยได้ใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นเครื+องมือเก็บ ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง และทําการสร้างแบบสอบถามตามขัQนตอน โดยมีเนืQอหาเกี+ยวกับการสร้าง แบบสอบถาม และจัดลําดับเนืQอหาแบบสอบถามให้ครอบคลุมข้อมูลที+ต้องการ แบ่งออกเป็น 3 ส่วน โดยมีรายละเอียดดังนีQ

ส่วนที? 1 คําถามคัดกรองเบื]องต้นในการทําแบบสอบถามออนไลน์

ประกอบด้วยคําถามคัดกรองเบืQองต้น ได้แก่การเคยเลือกสั+งหรือใช้บริการสั+งอาหารผ่านแอพเดลิเวอ รี+ โดยส่วนนีQหากผู้ตอบแบบสอบถามไม่เคยใช้บริการสั+งอาหารด้วยแอพเดลิเวอรี+ หรือไม่พักอาศัย ในเขตจังหวัดกรุงเทพมหานคร โดยแบบสอบถามจะทําการจบแบบสอบถามโดยอัตโนมัติ

ส่วนที? 2 ข้อมูลด้านประชากรศาสตร์

แบบสอบถามเกี+ยวกับปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และระดับ รายได้ ซึ+งลักษณะคําถามแบบให้เลือกตอบเพียงข้อเดียว และเป็นคําถามแบบปลายปิด (Close-end Question) จํานวน 5 ข้อซึ+งมีรายละเอียดดังนีQ

ข้อที+ 1 เพศ เป็นระดับการวัดประเภทนามบัญญัติ (Nominal Scale) ข้อที+ 2 อายุ เป็นระดับการวัดประเภทเรียงลําดับ (ordinal Scale) ข้อที+ 3 ระดับการศึกษา เป็นระดับการวัดประเภทนามบัญญัติ (Nominal Scale) ข้อที+ 4 อาชีพ เป็นระดับการวัดประเภทนามบัญญัติ (Nominal Scale)

ข้อที+ 5 ระดับรายได้ เป็นระดับการวัดประเภทเรียงลําดับ (ordinal Scale)

ส่วนที? 3 ข้อมูลด้านอิทธิพลที?ส่งผลต่อการยอมรับการใช้เทคโนโลยีของผู้บริโภคในธุรกิจอาหารและ เครื?องดื?ม

แบบสอบถามเกี+ยวกับอิทธิพลที+ส่งผลต่อการยอมรับเทคโนโลยีของผู้บริโภคในธุรกิจอาหารและ เครื+องดื+ม คําถามมีลักษณะเป็นแบบสอบถามปลายปิด (Close-end Question) จํานวน 15 ข้อ ระดับ ข้อมูลการวัดประเภทมาตรอันตรภาค (Interval Scale) โดยคําถามเป็นคําถามแบบมาตรา ส่วนประกอบค่า 5 ระดับ (Rating Scale) ตามรูปแบบของ Likert’s Scale (Wade, 2006) โดยมีการ กําหนดคะแนนตามส่วนประมาณค่า 5 ระดับดังนีQ

การแปลผลข้อมูลได้กําหนดค่าอันตรภาคชัQน เพื+อการแปลข้อมูลสําหรับคํานวณค่าอันตรภาคชัQน ใน การกําหนดช่วงชัQน โดยการใช้คําอธิบายแต่ละช่วงชัQนและสูตรคํานวณดังนีQ (กัลยา วานิชย์บัญชา, 2545)

อันตรภาคชัQน = ข้อมูลที)มีค่าสูงที)สุด - ข้อมูลที)มีค่าน้อยที)สุด จํานวนชั8น

โดยแปลผลคะแนนเฉลี+ย มีเกณฑ์ระดับคะแนนดังนีQ

คะแนน 4.21 ถึง 5.00 คือระดับความสําคัญมากที+สุด แสดงว่า หน่วยตัวอย่างให้ความสําคัญในระดับ มากที+สุด

คะแนน 3.41 ถึง 4.20 คือระดับความสําคัญมาก แสดงว่า หน่วยตัวอย่างให้ความสําคัญในระดับมาก คะแนน 2.61 ถึง 3.40 คือระดับความสําคัญปานกลาง แสดงว่าหน่วยตัวอย่างให้ความสําคัญระดับ ปานกลาง

ระดับคะแนน ความหมาย 5 เห็นด้วยอย่างยิ+ง

4 เห็นด้วย

3 เห็นด้วยปานกลาง 2 ไม่เห็นด้วย 1 ไม่เห็นด้วยอย่างยิ+ง

คะแนน 1.81 ถึง 2.60 คือระดับความสําคัญน้อย แสดงว่า หน่วยตัวอย่างให้ความสําคัญระดับน้อย คะแนน 1.00 ถึง 1.80 คือระดับความสําคัญน้องที+สุด แสดงว่า หน่วยตัวอย่างให้ความสําคัญในระดับ น้อยที+สุด

3.4 ลักษณะวิธีการที-ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล

ผู้วิจัยได้เก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูล 2 ประเภท คือ

1. ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) ได้จากการเก็บข้อมูลจากการใช้แบบสอบถาม ออนไลน์จากกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยใช้วิธีเลือกกลุ่มตัวอย่างของ Cochran จํานวนไม่น้อยกว่า 385 คน

2. ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) ได้จากการเก็บรวบรวมศึกษาเอกสาร และ งานวิจัยที+เกี+ยวข้อง รวมทัQงข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต เพื+อนํามาเป็นข้อมูลเบืQองต้น และพืQนฐานในการ ทําวิจัย อาทิ สื+อสังคมออนไลน์การรีวิวอาหารและเครื+องดื+ม , สื+อด้านการประชาสัมพันธ์ด้านอาหาร หรือ เว็บไซต์วิเคราะห์ธุรกิจในการตลาดสื+อสังคมออนไลน์ เป็นต้น

3.5 การทดสอบเครื-องมือที-ใช้ในการศึกษาวิจัย

เนื+องจากการวิจัยครัQงนีQใช้แบบสอบถามเป็นเครื+องมือในการวิจัย ผู้วิจัยจึงได้ทําการ ทดสอบความเที+ยงตรง (Validity) และความเชื+อมั+น (Reliability) ของแบบสอบถามดังต่อไปนีQ