• Tidak ada hasil yang ditemukan

ข้อเสนอแนะเพื่อการนำาผลการวิจัย ไปใช้

อภิปรายผล

1. ข้อเสนอแนะเพื่อการนำาผลการวิจัย ไปใช้

1.1 การนำากระบวนการทำาวิจัย (Classroom Action Research:CAR) 5 ขั้น ตอน ควรฝึกให้ผู้เรียนวิเคราะห์ปัญหาการเรียน การสอนในชั้นเรียนจากสถานเพื่อนำาปัญหาที่

ได้จากสถานการณ์จริง มาออกแบบเครื่องมือ นวัตกรรมในการแก้ไขปัญหา

1.2 ในการทำาวิจัยควรนำาแบบประเมิน การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา การทำาวิจัยใน ชั้นเรียนมาร่วมให้นักศึกษาได้ศึกษาเพิ่มเติม เพื่อ นักศึกษาจะสามารถเชื่อมโยงกระบวนการทำาวิจัย ในชั้นเรียนและนำาความรู้ไปประยุกต์ในการฝึก ประสบการณ์ในสถานศึกษาได้

2. ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป ในการทำาวิจัยในชั้นเรียนของนักศึกษา ครูฟิสิกส์ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แบบลงมือปฏิบัติ ฝึกการวิเคราะห์ตัวแปรต่างๆ ที่

เกี่ยวข้องกับงานวิจัยและฝึกการเขียนรายงานวิจัย ในชั้นเรียน การนำาเสนอข้อมูลเพิ่มเติม เพื่อให้

นักศึกษาสามารถนำาความรู้ในการเรียนการสอน ไปใช้ในวิชาชีพครูต่อไป

เอกสารอ้างอิง

กวิทธิ์ ศรีสัมฤทธิ์ และนุจรี บุรีรัตน์. (2557). ความพึงพอใจ ของผู้ใช้เว็บไซต์การจัดการองค์ความรู้

คณะเทคโนโลยีสื่อสารสารมวลชน. วารสารวิชาการและวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี

ราชมงคลพระนคร, 8(1), 164-176.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2553 (ฉบับที่ 3).

บริษัทสยามสปอรต์ ซินดิเคท จำากัด.

กิติพงษ์ ลือนาม. (2559). การพัฒนาผลการเรียนรู้ และทักษะกระบวนการวิจัยจากการจัดการเรียนรู้

โดยประยุกต์ใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับปฏิบัติการวิจัยของนักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต.

วารสารราชพฤกษ์, 14(2), 36-45.

ขจรศักดิ์ บัวระพันธ์. (2557). วิจัยเชิงคุณภาพไม่ยากอย่างที่คิด (พิมพ์ครั้งที่ 6). บริษัท คอมม่าดีไซน์

แอนด์ พริ้นท์ จำากัด.

จุมพต พุ่มศรีภานนท์. (2555). การวิจัยในชั้นเรียน: เครื่องมือสำาคัญของครูวิทยาศาสตร์. วารสารหน่วย วิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 3(2), 121-125.

จิตติรัตน์ แสงเลิศอุทัย. (2554). การเสริมสร้างทักษะการจัดการความรู้โดยใช้กระบวนการเรียนรู้จากการ ปฏิบัติของนักศึกษาวิชาชีพครู (ระยะที่ 2). วารสารศึกษาศาสตรน.มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 34(3-4), 14-20.

จิตติรัตน์ แสงเลิศอุทัย และชัยยุธ มณีรัตน์. (2562). การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียน การสอน. วารสารวิจัยและพัฒนาหลักสูตร, 9(2), 1-11.

จิรวัฒน์ วรุณโรจน์ และสุนทร ฉมารัตน์. (2561). แนวทางการพัฒนาครูด้านการทำาวิจัยในชั้นเรียน สำาหรับสถานศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 1. วารสารวิชาการธรรมทรรศน์. 18(2), 111-119.

จีระวรรณ เกษสิงห์. (2562). การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนวิทยาศาสตร์: วิถีปฏิบัติสู่การพัฒนาตนเอง.

บริษัท จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์ จำากัด.

ฉลาด จันทรสมบัติ. (2550). การวางแผนแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาท้องถิ่น. อภิชาติการพิมพ์.

ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2552). เทคนิคการใช้สถิติเพื่อการวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 11). ไทยเนรมิตกิจอินเตอร์ โปร เกรสซิฟ.

ฆนัท ธาตุทอง. (2554). สอนคิด: การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด (พิมพ์ครั้งที่ 2): เพชรเกษม การพิมพ์.

ณัฎฐพงษ์ ฉายแสงประทีป. (2559). การศึกษาการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ ในรายวิชา TMT423 ระเบียบ วิธีวิจัยสำาหรับอุตสาหกรรมท่องเที่ยว. วารสารวิจัยและพัฒนาวไลยอลงกรณ์ ในพระบรม ราชูปถัมภ์, 94(11), 94-102.

ธีรพันธ์ เชิญรัมย์. (2563). องค์การแห่งการเรียนรู้: การเรียนรู้จากการปฏิบัติ. วารสารวิจัยวิชาการ, 3(1), 185-196.

นวลจันทร์ พะทาโล ราชันย์ บุญธิมา และสิริมา ภิญโญอนันตพงษ์. (2559). จิตสาธารณะของเด็กปฐมวัย ที่ได้รับการจัดประสบการณ์แบบลงมือปฏิบัติ. วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์

มหาวิทยาลัยศรีนครินฒทรวิโรฒ, 17(1), 24-34.

นิลรัตน์ นวกิจไพฑูรย์. (2557). การพัฒนาสมรรถนะการวิจัยในชั้นเรียน และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสอนแบบมีส่วนร่วม 4 P. วารสาร นาคบุตรปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช, 6(2), 99-111.

บุญชม ศรีสะอาด. (2554). การวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 9). สุวีริยาสาส์น.

ประจวบ แหลมหลัก. (2560). ผลการเรียนรู้การวางแผนยุทธศาสตร์ ด้วยการลงมือปฏิบัติจริงของ นิสิตหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) มหาวิทยาลัยพะเยา. วารสารการ พยาบาล การสาธารณสุขและการศึกษา, 18(2), 106-112.

ประภัสสร วงษ์ดี. (2561). รูปแบบการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อส่งเสริมความสามารถในการทำา วิจัยในชั้นเรียนของนักศึกษาครูสาขาช่างอุตสาหกรรม. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย นเรศวร, 21(1), 109-126.

การพัฒนากระบวนการทำาวิจัยของนักศึกษาครูฟิสิกส์ในรายวิชา

การวิจัยในชั้นเรียนวิทยาศาสตร์ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้... 36 ดวงจันทร์ แก้วกงพาน, ชิสาพัชร์ ชูทอง

ปิยนุช มาลีหวล และเดชา ศุภพิทยาภรณ์. (2560). ผลการสอนแบบเพียร์ที่เสริมด้วยกิจกรรมการลงมือ ปฏิบัติทางฟิสิกส์ต่อมโนทัศน์ เรื่อง แรงและการเคลื่อนที่ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 4. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม, 7(3), 87-95.

พงศ์เทพ จิระโร. (2556). ครูนักวิจัยวิจัยปฎิบัติในชั้นเรียน (Classroom Action Research): เน้นปฏิบัติ

จริงไม่ทิ้งนักเรียนครูทำาได้ก http://reseach.edu.ac.th/pdf/Manual.pdf

พรทิพย์ วงศ์ไพบูลย์. (2560). การเรียนรู้เชิงรุกและการมีส่วนร่วมของผู้เรียน (Active Learning).

วารสารสถาบันวิจัยญาณสังวร, 8(2), 327-336.

พวงพยอม ชิดทอง และปวีณา โฆสิโต. (2560). บทบาทของอาจารย์ในการส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21 สำาหรับบัณฑิตไทย. พิฆเนศวร์สาร, 13(1), 1-11.

พินดา วราสุนันท์. (2558). การพัฒนาความสามารถทางการวัดและประเมินผลและการวิจัยในชั้นเรียน ของนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูด้วยกระบวนการให้ข้อมูลย้อนกลับทางบวก. วารสารวิจัย ทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนคริทรฒวิโรฒ, 9(1), 75-89.

เพ็ญพักตร์ ช่วยพันธ์ อารี สาริปา และสุพัฒน์ บุตรดี (2560). ผลการใช้กระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน ที่มีผลต่อทักษะการบวนการทางวิทยาศาสตร์ และความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของนักเรียนขั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วารสารศึกษาศาสตร์

มหาวิทยาลัยทักษิณ, 17(2), 165-173.

มยุรี ลี่ทองอิน. (2557). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพึงพอใจผู้เรียนต่อรูปแบบการสอนที่เน้น ผู้เรียนเป็นสำาคัญการฝึกปฏิบัติรายวิชาการประเมินภาวะสุขภาพ. วารสารการพยาบาลและ การดูแลสุขภาพ, 32(3), 190-196.

รุ่งฟ้า กิติญาณุสันต์. (2552). การส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเองของนิสิต: การสะท้อนจากกระบวนการ วิจัยปฏิบัติการ. วารสารศึกษาศาสตร์และพัฒาสังคม, 5(1-2), 145-166.

วรรณดี สุทธินรากร. (2561). การวิเคราะห์ข้อมูลในงานวิจัยเชิงคุณภาพ. สำานักพิมพ์สยามปริทัศน์ จำากัด.

วรรณดี สุทธินรากร. (2563). การวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนเพื่อสร้างความหมายใหม่ในการเรียนรู้.

สำานักพิมพ์สยามปริทัศน์ จำากัด.

วิจารณ์ พานิช. (2562). วิจัยชั้นเรียนเปลี่ยนครู. มูลนิธิสยามกัมมาจล.

สกล แก้วศิริ. (2559). การใช้กระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือกันพัฒนาความสามารถในการดำาเนินการ งานวิจัยในชั้นเรียนของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย ราชภัฏเชียงใหม่. วารสารพิฆเนศวร์สาร, 12(1), 11-.135.

สภาพร พรไตร. (2559). การเรียนรู้วัฏจักรเครบส์ในการสลายสารอาหารระดับเซลล์ ด้วยการสืบเสาะ วิทยาศาสตร์: กิจกรรมการลงมือปฏิบัติ (hands-on) เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน.

วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนร้, 7(2), 285-297.

สุภาพร พรไตร และ ชนันธร อุดมศิลป์. (2561). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการแบ่งเซลล์

แบบไมโอซิสด้วยกิจกรรมการลงมือปฏิบัติบนฐานการสืบเสาะวิทยาศาสตร์. วารสารหน่วย วิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 9(2), 153-168.

สุวิมล ว่องวาณิช. (2557). การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน (Classroom Action Research). สำานักพิมพ์

แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อพันตรี พูลพุทธา. (2561). รูปแบบการให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อส่งเสริมสมรรถนะการวิจัยในชั้นเรียนของ นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. วารสารวิชาการและ วิจัยสังคมศาสตร์, 13(37), 61-74.

เอกลักษณ์ บุญท้าว สมเจตน์ ภูศรี และศิริ ถีอาสนา. (2557). รูปแบบการพัฒนาครูด้านการทำาวิจัยใน ชั้นเรียนของครูสังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2. วารสาร ศึกษาศาสตร์ ฉบับวิจัยบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 8(4), 238-246.

Duffy, T. & Cunningham, D. (1996). Constructivism: Implications fon design any delivery of instruction. MacMillan.

Edgar, D. (1969). Audio-visual methods in teachig. (3rd Ed): The Dryden Press Holt, Rineheart and Winston. Inc.

Evans, L. & Abbott, I. (1998). Teaching and learning in higher education. Cassell.

Kemmis, K. & Mctaggast, R. (1988). The action research planner. Deakin University.

Patton, M.Q. (2001). Qualitative research & evaluation methods (3rd ed.). Sage Publications.

Stringer, E.T. (1999). Action research (2nd ed). SAGE.

Tippins, D.j. (2006). Insights into qualitative research in science education: A workshop in partnership with university of Georgia and Kasetsart University. Kasetsart University.

ปัญหาการกำาหนดค่าเสียหายทางจิตใจตามพระราชบัญญัติความรับผิดต่อความ เสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย

The Problem of Determining Liability for Mental Damages Arising from Un-