• Tidak ada hasil yang ditemukan

สัดส่วนกลุ่มตัวอย่างแบ่งตามกลุ่มพื้นที่กรุงเทพมหานคร

กลุ่ม เขต กลุ่มตัวอย่าง (คน)

กรุงเทพกลาง พญาไท 67

กรุงเทพใต้ วัฒนา 67

กรุงเทพเหนือ จตุจักร 67

กรุงเทพตะวันออก บางกะปิ 67

กรุงธนเหนือ ตลิ่งชัน 66

กรุงธนใต้ ราษฎร์บูรณะ 66

รวม 400

ขั้นตอนที่ 3 การสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ผู้วิจัยจะท าการ เก็บแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างในสถานที่ที่มีการจ าหน่ายกราโนล่า ตามซุปเปอร์มาเก็ตและ ร้านสะดวกซื ้อชั้นน าตามพื้นที่ที่ได้จากการสุ่มตัวอย่าง

ขั้นตอนที่ 4 วิธีการคัดเลือกตัวอย่างแบบสะดวก (Convenience Sampling) ผู้วิจัย เก็บข้อมูลที่ได้จากกลุ่มตัวอย่างด้วยความสะดวกและเต็มใจในการตอบแบบสอบถาม โดยน า แบบสอบถามที่ได้เตรียมไว้จนกว่าจะครบ 400 ชุด

การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อการศึกษาวิจัย คือ แบบสอบถาม (Questionnaire) เรื่องส่วนประสมทางการตลาดในมุมมองลูกค้า การรับรู้คุณค่าตราสินค้า รูปแบบการด าเนินชีวิต ที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการซื ้อกราโนล่าของผู้บริโภคในเขต กรุงเทพมหานคร โดยลักษณะของแบบสอบถาม แบ่งออกเป็น 4 ส่วน ดังนี้

ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม

1.1 เพศ เป็นแบบสอบถามชนิดปลายปิด โดยการวัดระดับข้อมูลเป็นประเภท นามบัญญัติ (Nominal Scale) ดังนี้

1.1.1 เพศชาย 1.1.2 เพศหญิง

1.2 สถานภาพสมรส เป็นแบบสอบถามชนิดปลายปิด ซึ่งลักษณะค าถามเป็น แบบหลายค าตอบให้เลือก (Mulitchotomous Question) โดยการวัดระดับข้อมูลเป็นประเภทนาม บัญญัติ (Nominal Scale) ดังนี้

1.2.1 โสด 1.2.2 สมรส

1.2.3 หย่าร้าง/แยกกันอยู่

1.3 อายุ เป็นแบบสอบถามชนิดปลายปิด เป็นแบบสอบถามชนิดปลายปิด ซึ่ง ลักษณะค าถามเป็นแบบหลายค าตอบให้เลือก (Mulitchotomous Question) โดยการวัดระดับ ข้อมูลเป็นประเภทเรียงล าดับ (Ordinal Scale) ดังนี้ (Mokhtar et al., 2018)

1.3.1 18 - 25 ปี

1.3.2 26 – 33 ปี

1.3.3 34 – 41 ปี

1.3.4 42 – 49 ปี

1.3.5 50 ปี ขึ้นไป

1.4 รายได้ต่อเดือน เป็นแบบสอบถามชนิดปลายปิด เป็นแบบสอบถามชนิด ปลายปิด ซึ่งลักษณะค าถามเป็นแบบหลายค าตอบให้เลือก (Mulitchotomous Question) โดยการ วัดระดับข้อมูลเป็นประเภทเรียงล าดับ (Ordinal Scale) ดังนี้ (ธิดารัตน์ เดชอุปการ, 2561)

1.4.1 ต ่ากว่าหรือเท่ากับ 10,000 บาท 1.4.2 10,001 – 20,000 บาท

1.4.3 20,001 – 30,000 บาท 1.4.4 30,001 – 40,000 บาท 1.4.5 40,001 – 50,000 บาท 1.4.6 50,001 บาทขึ้นไป

1.5 ระดับการศึกษา เป็นแบบสอบถามชนิดปลายปิด เป็นแบบสอบถามชนิด ปลายปิด ซึ่งลักษณะค าถามเป็นแบบหลายค าตอบให้เลือก (Mulitchotomous Question) โดยการ วัดระดับข้อมูลเป็นประเภทเรียงล าดับ (Ordinal Scale) ดังนี้ (ธิดารัตน์ เดชอุปการ, 2561)

1.4.1 ต ่ากว่าปริญญาตรี

1.4.2 ปริญญาตรี

1.4.3 สูงกว่าปริญญาตรี

ส่วนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับส่วนประสมทางการตลาดในมุมมองลูกค้า จ านวน 20 ข้อ โดยแบบสอบถามในส่วนที่ 2 เป็นแบบสอบถามปลายปิด แบ่งเป็นด้านละ 5 ข้อ ประกอบด้วย ด้านความต้องการของผู้บริโภค ด้านต้นทุน ด้านความสะดวกสบาย และด้านการสื่อสารต่อ ผู้บริโภค โดยใช้มาตรวัดแบบ Likert Scale และใช้ระดับการวัดข้อมูลประเภทอันตรภาคชั้น (Interval Scale) ตามระดับความคิดเห็นของส่วนประสมทางการตลาดในมุมมองลูกค้า ดังนี้

5 หมายถึง เห็นด้วยอย่างยิ่ง 4 หมายถึง เห็นด้วย

3 หมายถึง ไม่แน่ใจ 2 หมายถึง ไม่เห็นด้วย

1 หมายถึง ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง

เมื่อข้อมูลแจกแจงความถี่แล้วจะใช้คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างมาพิจารณา ความถี่ส าหรับอภิปรายผล (กัลยา วานิชย์บัญชา, 2561) ซึ่งส าหรับเกณฑ์การแปลความหมาย และจัดกลุ่มคะแนนค่าเฉลี่ย ดังนี้

4.50 - 5.00 ผู้บริโภคมีความคิดเห็นต่อส่วนประสมทางการตลาดในมุมมอง ลูกค้าต่อผลิตภัณฑ์กราโนล่า ในระดับดีมาก

3.50 - 4.49 ผู้บริโภคมีความคิดเห็นต่อส่วนประสมทางการตลาดในมุมมอง ลูกค้าต่อผลิตภัณฑ์กราโนล่า ในระดับดี

2.50 - 3.49 ผู้บริโภคมีความคิดเห็นต่อส่วนประสมทางการตลาดในมุมมอง ลูกค้าต่อผลิตภัณฑ์กราโนล่า ในระดับปานกลาง

1.50 - 2.49 ผู้บริโภคมีความคิดเห็นต่อส่วนประสมทางการตลาดในมุมมอง ลูกค้าต่อผลิตภัณฑ์กราโนล่า ในระดับไม่ดี

1.00 - 1.49 ผู้บริโภคมีความคิดเห็นต่อส่วนประสมทางการตลาดในมุมมอง ลูกค้าต่อผลิตภัณฑ์กราโนล่า ในระดับไม่ดีอย่างมาก

ส่วนที่ 3 ข้อมูลเกี่ยวกับการรับรู้คุณ ค่าตราสินค้า จ านวน 20 ข้อ โดย แบบสอบถามในส่วนที่ 3 เป็นแบบสอบถามปลายปิด แบ่งเป็นด้านละ 5 ข้อ ประกอบด้วย ด้านการรู้จักตราสินค้า ด้านคุณภาพที่เกิดจากการรับรู้ตราสินค้า ด้านการเชื่อมโยงตราสินค้า และ ด้านความภักดีต่อตราสินค้า โดยใช้มาตรวัดแบบ Likert Scale และใช้ระดับการวัดข้อมูลประเภท อันตรภาคชั้น (Interval Scale) ตามระดับความคิดเห็นของการรับรู้คุณค่าตราสินค้า ดังนี้

5 หมายถึง เห็นด้วยอย่างยิ่ง 4 หมายถึง เห็นด้วย

3 หมายถึง ไม่แน่ใจ 2 หมายถึง ไม่เห็นด้วย

1 หมายถึง ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง

เมื่อข้อมูลแจกแจงความถี่แล้วจะใช้คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างมาพิจารณา ความถี่ส าหรับอภิปรายผล (กัลยา วานิชย์บัญชา, 2561) ซึ่งส าหรับเกณฑ์การแปลความหมาย และจัดกลุ่มคะแนนค่าเฉลี่ย ดังนี้

4.50 - 5.00 ผู้บริโภคมีการรับรู้คุณค่าตราสินค้าผลิตภัณฑ์กราโนล่า ในระดับ มากที่สุด

3.50 - 4.49 ผู้บริโภคมีการรับรู้คุณค่าตราสินค้าผลิตภัณฑ์กราโนล่า ในระดับมาก

2.50 - 3.49 ผู้บริโภคมีการรับรู้คุณค่าตราสินค้าผลิตภัณฑ์กราโนล่า ในระดับ ปานกลาง

1.50 - 2.49 ผู้บริโภคมีการรับรู้คุณค่าตราสินค้าผลิตภัณฑ์กราโนล่า ในระดับน้อย

1.00 - 1.49 ผู้บริโภคมีการรับรู้คุณค่าตราสินค้าผลิตภัณฑ์กราโนล่า ในระดับ น้อยที่สุด

ส่วนที่ 4 ข้อมูลเกี่ยวกับรูปแบบการด าเนินชีวิต จ านวน 12 ข้อ โดยแบบสอบถาม ในส่วนที่ เป็นแบบสอบถามปลายปิด แบ่งเป็นด้านละ 4 ข้อ ประกอบด้วย

4.1 ด้านกิจกรรม โดยใช้มาตรวัดแบบ Likert Scale และใช้ระดับการวัด ข้อมูลประเภทอันตรภาคชั้น (Interval Scale) ตามระดับความคิดเห็นของรูปแบบการด าเนินชีวิต ดังนี้

5 หมายถึง เห็นด้วยอย่างยิ่ง 4 หมายถึง เห็นด้วย

3 หมายถึง ไม่แน่ใจ 2 หมายถึง ไม่เห็นด้วย

1 หมายถึง ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง

เมื่อข้อมูลแจกแจงความถี่แล้วจะใช้คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างมาพิจารณา ความถี่ส าหรับอภิปรายผล (กัลยา วานิชย์บัญชา, 2561) ซึ่งส าหรับเกณฑ์การแปลความหมาย และจัดกลุ่มคะแนนค่าเฉลี่ย ดังนี้

4.50 - 5.00 ผู้บริโภคให้ความส าคัญกับกิจกรรม ในระดับมากที่สุด 3.50 - 4.49 ผู้บริโภคให้ความส าคัญกับกิจกรรม ในระดับมาก 2.50 - 3.49 ผู้บริโภคให้ความส าคัญกับกิจกรรม ในระดับปานกลาง 1.50 - 2.49 ผู้บริโภคให้ความส าคัญกับกิจกรรม ในระดับน้อย 1.00 - 1.49 ผู้บริโภคให้ความส าคัญกับกิจกรรม ในระดับน้อยที่สุด

4.2 ด้านความสนใจ โดยใช้มาตรวัดแบบ Likert Scale และใช้ระดับการวัดข้อมูล ประเภทอันตรภาคชั้น (Interval Scale) ตามระดับความคิดเห็นของรูปแบบการด าเนินชีวิต ดังนี้

5 หมายถึง เห็นด้วยอย่างยิ่ง 4 หมายถึง เห็นด้วย

3 หมายถึง ไม่แน่ใจ

2 หมายถึง ไม่เห็นด้วย

1 หมายถึง ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง

เมื่อข้อมูลแจกแจงความถี่แล้วจะใช้คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างมาพิจารณา ความถี่ส าหรับอภิปรายผล (กัลยา วานิชย์บัญชา, 2561) ซึ่งส าหรับเกณฑ์การแปลความหมาย และจัดกลุ่มคะแนนค่าเฉลี่ย ดังนี้

4.50 - 5.00 ผู้บริโภคให้ความส าคัญกับความสนใจ ในระดับมากที่สุด 3.50 - 4.49 ผู้บริโภคให้ความส าคัญกับความสนใจ ในระดับมาก 2.50 - 3.49 ผู้บริโภคให้ความส าคัญกับความสนใจ ในระดับปานกลาง 1.50 - 2.49 ผู้บริโภคให้ความส าคัญกับความสนใจ ในระดับน้อย 1.00 - 1.49 ผู้บริโภคให้ความส าคัญกับความสนใจ ในระดับน้อยที่สุด

4.3 ด้านความคิดเห็น โดยใช้มาตรวัดแบบ Likert Scale และใช้ระดับการวัด ข้อมูลประเภทอันตรภาคชั้น (Interval Scale) ตามระดับความคิดเห็น ดังนี้

5 หมายถึง เห็นด้วยอย่างยิ่ง 4 หมายถึง เห็นด้วย

3 หมายถึง ไม่แน่ใจ 2 หมายถึง ไม่เห็นด้วย

1 หมายถึง ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง

เมื่อข้อมูลแจกแจงความถี่แล้วจะใช้คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างมาพิจารณา ความถี่ส าหรับอภิปรายผล (กัลยา วานิชย์บัญชา, 2561) ซึ่งส าหรับเกณฑ์การแปลความหมาย และจัดกลุ่มคะแนนค่าเฉลี่ย ดังนี้

4.50 - 5.00 ผู้บริโภคมีความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการด าเนินชีวิต ในระดับดีมาก

3.50 - 4.49 ผู้บริโภคมีความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการด าเนินชีวิต ในระดับดี

2.50 - 3.49 ผู้บริโภคมีความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการด าเนินชีวิต ในระดับ ปานกลาง

1.50 - 2.49 ผู้บริโภคมีความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการด าเนินชีวิต ในระดับ ไม่ดี

1.00 - 1.49 ผู้บริโภคมีความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการด าเนินชีวิต ในระดับ ไม่ดีอย่างมาก

ส่วนที่ 5 พฤติกรรมการซื ้อกราโนล่าของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร

ข้อที่ 1 ด้านบุคคลที่มีผลต่อการตัดสินใจ เป็นค าถามแบบ Semantic differential scale โดยใช้ระดับการวัดข้อมูลประเภทอันตรภาคชั้น (Interval Scale) ตามระดับคะแนนตาม ความคิดเห็น ดังนี้

5 หมายถึง เห็นด้วยอย่างยิ่ง 4 หมายถึง เห็นด้วย

3 หมายถึง ไม่แน่ใจ 2 หมายถึง ไม่เห็นด้วย

1 หมายถึง ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง

เมื่อข้อมูลแจกแจงความถี่แล้วจะใช้คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างมาพิจารณา ความถี่ส าหรับอภิปรายผล (กัลยา วานิชย์บัญชา, 2561) ซึ่งส าหรับเกณฑ์การแปลความหมาย และจัดกลุ่มคะแนนค่าเฉลี่ย ดังนี้

4.50 - 5.00 ผู้บริโภคมีพฤติกรรมกับการรีวิวจากบุคคลที่มีชื่อเสียงในระดับ มากที่สุด

3.50 - 4.49 ผู้บริโภคมีพฤติกรรมกับการรีวิวจากบุคคลที่มีชื่อเสียงใน ระดับมาก

2.50 - 3.49 ผู้บริโภคมีพฤติกรรมกับการรีวิวจากบุคคลที่มีชื่อเสียงใน ระดับปานกลาง

1.50 - 2.49 ผู้บริโภคมีพฤติกรรมกับการรีวิวจากบุคคลที่มีชื่อเสียงใน ระดับน้อย

1.00 - 1.49 ผู้บริโภคมีพฤติกรรมกับการรีวิวจากบุคคลที่มีชื่อเสียงใน ระดับน้อยที่สุด

ข้อที่ 2 ด้านความถี่ในการเลือกซื ้อ เป็นค าถามแบบปลายเปิด (Open – ended Question) มีระดับการวัดข้อมูลประเภทอัตราส่วน

ข้อที่ 3 ด้านช่วงเวลาในการซื ้อ เป็นค าถามแบบ Semantic differential scale โดยใช้ระดับการวัดข้อมูลประเภทอันตรภาคชั้น (Interval Scale) ตามระดับคะแนนตามความ คิดเห็น ดังนี้

5 หมายถึง เห็นด้วยอย่างยิ่ง 4 หมายถึง เห็นด้วย

3 หมายถึง ไม่แน่ใจ 2 หมายถึง ไม่เห็นด้วย

1 หมายถึง ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง

เมื่อข้อมูลแจกแจงความถี่แล้วจะใช้คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างมาพิจารณา ความถี่ส าหรับอภิปรายผล (กัลยา วานิชย์บัญชา, 2561) ซึ่งส าหรับเกณฑ์การแปลความหมาย และจัดกลุ่มคะแนนค่าเฉลี่ย ดังนี้

4.50 - 5.00 ผู้บริโภคมีพฤติกรรมกับช่วงเวลาในการซื ้อ ในระดับมาก ที่สุด

3.50 - 4.49 ผู้บริโภคมีพฤติกรรมกับช่วงเวลาในการซื ้อ ในระดับมาก 2.50 -3.49 ผู้บริโภคมีพฤติกรรมกับช่วงเวลาในการซื ้อ ในระดับ ปานกลาง

1.50 - 2.49 ผู้บริโภคมีพฤติกรรมกับช่วงเวลาในการซื ้อ ในระดับน้อย 1.00 - 1.49 ผู้บริโภคมีพฤติกรรมกับช่วงเวลาในการซื ้อ ในระดับน้อย ที่สุด

ข้อที่ 4 ด้านวัตถุประสงค์ที่เลือกซื ้อ เป็นค าถามแบบ Semantic differential scale โดยใช้ระดับการวัดข้อมูลประเภทอันตรภาคชั้น (Interval Scale) ตามระดับคะแนนตาม ความคิดเห็น ดังนี้

5 หมายถึง เห็นด้วยอย่างยิ่ง 4 หมายถึง เห็นด้วย

3 หมายถึง ไม่แน่ใจ 2 หมายถึง ไม่เห็นด้วย