• Tidak ada hasil yang ditemukan

บทที่ 2

2.4 ทฤษฎีกระบวนการพิมพ

ขั้นตอนทายที่สุดของการบรรจุภัณฑคือการผลิต ซึ่งอาจจะผกผันขั้นตอนของการผลิต รูปรางของ ภาชนะ หรือลักษณะของกราฟกกันไดวา ขั้นตอนใดตองผลิตขึ้นมากอน เชน การบรรจุภัณฑประเภท รูปทรงแข็งตัว (rigid forms) อาทิ ขวดแกว ขวดพลาสติก เซรามิกส ตองผลิตเปนรูปทรงภาชนะบรรจุ

สําเร็จรูปมากอนแลว คอยสรางลักษณะของกราฟกบนบรรจุภัณฑขึ้นทีหลัง หรือบรรจุภัณฑที่สรางขึ้นมา จากกระดาษ ฟลมพลาสติก รูปอลูมิเนียมฟอยส แผนเหล็กอาบดีบุก( tin plate ) จะตองสรางลักษณะ กราฟกบนแผนระนาบ 2 มิติ ของวัสดุใหเสร็จกอนนํามาขึ้นรูปเปนบรรจุภัณฑที่สมบูรณ เปนตน แตไมวา จะผกผันขั้นตอนอยางใดก็ตาม การสรางงานลักษณะกราฟกบรรจุภัณฑเพื่อการบงชี้ของเอกลักษณเฉพาะ ผลิตภัณฑจะตอง คงอยูโดยอาศัย เทคนิคและกรรมาวิธีของการพิมพเขามาชวย

ดังนั้นเมื่อกระบวนการกําหนดโครงสราง และการออกแบบกราฟกบรรจุภัณฑผานการลงมติเปน ที่ยอมรับ ระหวางผูออกแบบและผูผลิตแลว จึงตองมีกระบวนการเลือกพิมพบรรจุภัณฑที่เหมาะสมกัน โครงสราง และความตองการทางคุณภาพของผลงานดวย เชน บรรจุภัณฑทรงกลม อาทิ ขวดน้ําอัดลม ขวดแชมพูสระผม ตองปองกันการหลุดลอกของสีจากความเปยกชื้น ระบบการพิมพที่เหมาะสมจึงตองใช

วิธีการพิมพ ซิลคสกรีน (silk screen) โดยพิมพสีสันลวดลายงานกราฟกลงบนผิวของบรรจุภัณฑโดยตรง เพราะภาชนะบรรจุ มีผิวโคง เปนตน

2.4.1 ขนาดของกระดาษและสิ่งพิมพ

ขนาดของสิ่งพิมพยอมขึ้นอยูกับขนาดของกระดาษเปนสําคัญ ดังจะเห็นไดวาหนังสือขนาด 8 หนายกที่พิมพในปจจุบันมีขนาดรูปเลมที่แทจริงไมเทากัน ทั้งนี้เนื่องมาจากขนาดของกระดาษพิมพที่ใชไม

เทากัน ไดแก กระดาษขนาด 31 X 43 นิ้ว และกระดาษขนาด 24 X 35 นิ้ว สําหรับประเทศไทยนิยมใช

กระดาษขนาด 31 X 43 นิ้ว เปนสวนใหญ เมื่อนํามาพับและตัดครึ่งหนึ่งจะเปนกระดาษตัด 2 สําหรับใช

ในการพิมพโฆษณา ในการพิมพหนังสือเลมนิยมใชกระดาษขนาดตัด 4 หรือขนาด 25 X 21 นิ้ว โดย เรียกวาเปนกระดาษ 1 ยก (ศิริพงศ พยอมแยม. 2530 : 65)

ตารางที่ 2.4.1 การตัดกระดาษขนาดตาง ๆ

ขนาดโดยประมาณ ชื่อขนาด

31 X 43 นิ้ว

21 X 31 นิ้ว ตัด 1

ตัด 2

11

A1

A

A 4

A3

ในปจจุบัน องคการมาตรฐานระหวางประเทศ (International Standard Organization) หรือ ISO ไดกําหนดขนาดมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมโดยการกําหนดใหกระดาษขนาด 1 รีม มี

สัดสวนความกวางเทากับ 1 และ ความยาวเทากับ √2 (1.414) และเมื่อตัดแบงครึ่งก็ยังคงรักษาสัดสวนนี้

ตลอดไปทุกครั้ง เรียกวา กระดาษชุด A จะเริ่มตนดวย A0 มีขนาดความกวาง X ความยาวเทากับ 1 ตารางเมตร เพื่อสะดวกตอการคิดน้ําหนักของกระดาษเปนกรัมตอตารางเมตร

ภาพที่ 2.4.1 การตัดแบงกระดาษมาตรฐานชุด A 2.4.1.1 ศักยภาพของระบบพิมพ

การพิมพในแตละระบบยอมมีขอดีและขอจํากัดเฉพาะตัว ผูที่ทําหนาที่ในการออกแบบสิ่งพิมพ

จําเปนจะตองศึกษาทําความเขาใจในกระบวนการทํางานศักยภาพของระบบการพิมพ ตลอดจนคาใชจาย ในการพิมพในแตละระบบเพื่อประโยชนตอการตัดสินใจเลือกระบบการพิมพอันมีผลตอการออกแบบ สิ่งพิมพใหสอดคลองกับลักษณะการพิมพนั้น ๆ ซึ่งจะกลาวถึงรายละเอียดตาง ๆ ของแตละระบบในหัวขอ ตอไป

2.4.2 กระบวนทางการพิมพ

ระบบการพิมพในเชิงอุตสาหกรรมแบงออกเปน 4 ระบบ ไดแก

1. ระบบเลตเตอรเพรส 2. ระบบกราวัวร

3. ระบบออฟเซต 4. ระบบซิลคสกรีน

2.4.2.1 ระบบเลตเตอรเพรส

เปนการพิมพในลักษณะแมพิมพนูนจากพื้น มีองคประกอบในการพิมพ ดังนี้

(1) แมพิมพ

แมพิมพแบงออกเปน 2 ลักษณะ ไดแก

1. การเรียงพิมพ (type setting) เปนการนําตัวอักษรที่เปนแมพิมพนูนมาเรียงตอเปนคํา เปน ประโยค เปนบรรทัด และเปนหนา

A 0

2. บล็อก (block) เปนแมพิมพนูนสําหรับใชพิมพภาพประกอบทําขึ้นดวยวัสดุตาง ๆ ไดแก ไม

ยาง โลหะ ฯลฯ ในสมัยกอนนิยมใชแมพิมพแกะไม แตปจจุบันมักใชโลหะ ประเภทสังกะสี

(2) เครื่องพิมพในระบบเลตเตอรเพรส แบงตามลักษณะการทํางานเปน 3 ประเภท ไดแก

1. เครื่องพิมพเพลเตนเพรส (platen press) เปนเครื่องพิมพที่เกาแกที่สุด โดยดัดแปลงจาก แทนพิมพมือ (hand press) ในสมัยโบราณ สวนเครื่องมือเพลเตนเพลสในปจจุบันจะนําตัวเรียงพิมพ

หรือบล็อกติดกับแทนพิมพในแนวดิ่ง แผนแรงกดกระดาษจะอยูในแนวดิ่งเชนเดียวกัน ขณะพิมพลูกหมึก จะนําหมึกจากรางหมึกมาเกลี่ยบนจานหมึกและเคลื่อนลงมาทาหมึกใหติดกับผิวแมพิมพเมื่อปอนกระดาษ ที่แทนแรงกด แทนแรงกดจะกดกระดาษใหสัมผัสกับผิวแมพิมพ การปอนกระดาษมีทั้งการปอนดวยมือ และใชระบบลมดูด

ภาพที่ 2.4.2 ลักษณะตัวเรียงพิมพ

ภาพที่ 2.4.3 แทนพิมพมือในสมัยโบราณ

13

ภาพที่ 2.4.4 ลักษณะการทํางานของเครื่องพิมพเพลเตนเพรส 2. เครื่องพิมพไซลินเดอรเพรส (cylinder press)

เครื่องพิมพลักษณะนี้แทนรองรับแมพิมพจะอยูในแนวนอน โดยมีลูกโมกดกระดาษและลูกหมึก อยูดานบน แทนพิมพจะเคลื่อนที่โดยในจังหวะที่หนึ่งจะเคลื่อนไปรับหมึกจากลูกกลิ้งหมึก และในจังหวะ ที่สองจะเคลื่อนมาอยูใตลูกโมกดกระดาษและกดกระดาษใหสัมผัสกับแมพิมพ การพิมพดวยเครื่องพิมพ

ชนิดนี้สามารถพิมพกับกระดาษขนาดใหญ เชน ภาพโฆษณา หรือหนังสือยกได

ภาพที่ 2.4.5 ลักษณะการทํางานของเครื่องพิมพไซลินเดอรเพรส 3. เครื่องพิมพโรตารีเลตเตอรเพรส (rotary letter press)

เครื่องพิมพลักษณะนี้จะตองหลอแมพิมพเปนรูปโคงทรงกลม โดยมีลูกโมกดกระดาษเปน รูปทรงกลมเชนเดียว กระดาษพิมพจะผานเขาไประหวาง แมพิมพและลูกโมกดกระดาษซึ่งจะหมุนไป เรื่อย ๆ การพิมพในลักษณะนี้จึงเหมาะกับกระดาษที่มีลักษณะเปนมวน และจะพิมพตอเนื่องไดอยาง รวดเร็ว

ภาพที่ 2.4.6 ลักษณะการทํางานของเครื่องพิมพโรตารีเลตเตอรเพรส (3) ลักษณะพิเศษของการพิมพระบบเลตเตอรเพรส

ผลของการพิมพซึ่งจะมีความแตกตางจากการพิมพในระบบอื่น ไดแกลักษณะตอไปนี้

1. การพิมพพื้นทึบ หรือที่เรียกวา พื้นตาย ของระบบเลตเตอรเพรสบนกระดาษไมเคลือบผิว มักแสดงใหเห็นลักษณะงานพิมพที่พิมพไมทั่วอยูเสมอ เนื่องจากหมึกพิมพไมสามารถไปสัมผัสไดสุดรอย ขรุขระ

2. หมึกจะหนาบริเวณขอบตัวอักษรและเม็ดสกรีน โดยมีรอยแตกขรุขระตามขอบตัวอักษร เนื่องจากเปนระบบการพิมพที่ผิวนูนจากพื้นเมื่อมากระทบกระดาษจะทําใหเกิดการอัดรีดหมึก (ink- squeeze) ไปตามขอบภาพ และจะพบมากในกระดาษที่ผิวเคลือบมัน

3. รอยนูนดานหลังงานพิมพ จะมีรอยนูนที่ดานหลังของงานพิมพ เนื่องจากแรงกดของ แมพิมพนูนที่มีผลตอกระดาษ

2.4.2.2 ระบบกราวัวร (gravure)

เปนการพิมพในระบบแมพิมพรองลึก มีลักษณะการพิมพที่แตกตางจากการพิมพในระบบอื่น ๆ ดังนี้

(1) แมพิมพ

มีลักษณะบริเวณภาพเปนรองลึกลงไปกวาระดับพื้นเพื่อใหหมึกสามารถขังตัวเองอยูในรอง การ นําใหภาพเกิดน้ําหนักออนแก เกิดจากความตื้นและความลึกของรองที่ไมเทากัน บริเวณรองลึกเมื่อพิมพ

แลวจะมีสีเขม สวนบริเวณที่รองตื้นเมื่อพิมพแลวจะมีสีออน

15

(2) เครื่องพิมพระบบกราวัวร

จะตองนําแมพิมพซึ่งมีลักษณะเปนแผนโลหะมามวนกับลูกกลิ้งทรงกลมและหมุนผานบอเก็บ หมึก หมึกพิมพในระบบกราวัวรจะเหลวกวาหมึกพิมพในระบบอื่น แมพิมพจะรับหมึกมาขังไวในรองและ เคลื่อนที่ผานใบปาดหมึก (docter blade) ซึ่งมีลักษณะเปนยางทําหนาที่กวาดหมึกที่ติดบนผิวแมพิมพ

ออกใหหมด หมึกที่เหลืออยูเฉพาะในรองแมพิมพเมานั้น เมื่อปอนกระดาษใหสัมผัสแมพิมพโดยลูกโมกด กระดาษ หมึกพิมพจะปรากฏบนกระดาษในลักษณะที่คมชัด มีความประณีตสวยงาม บริเวณใดที่เปน รองลึกมากกระดาษจะซับหมึกติดไดหนาและเกิดเปนสีเขม สวนบริเวณรองตื้นกระดาษจะซับหมึกมาได

นอยทําใหสีจาง ซึ่งทําใหเกิดน้ําหนักของภาพที่งดงามกวาการพิมพดวยระบบอื่น

ภาพที่ 2.4.8 ลักษณะการพิมพระบบกราวัวร

(3) ลักษณะพิเศษของการพิมพระบบกราวัวร

ผลของการพิมพระบบนี้จะมีลักษณะพิเศษตางจากการพิมพระบบอื่น ไดแก

1. รอยหยักของตัวอักษร ถาขยายตัวอักษรใหมีขนาดใหญขึ้น จะเห็นขอบของตัวอักษรมีรอย หยักคลายฟนเลื่อย

Dokumen terkait