• Tidak ada hasil yang ditemukan

1.1 ความสําคัญและที่มาของปญหา

กลุมงานประดิษฐจากดินไทย ผูผลิตงานประดิษฐ ผลิตภัณฑจิ๋ว เปนกลุมธุรกิจที่ผานเขารอบ สาขา งานฝมือและหัตถกรรม รางวัลพระราชทานไทยสรางสรรค 2553 มีการจัดตั้งกลุมเมื่อ พ.ศ. 2546 ไดนําดิน ไทยมาประดิษฐ ปนแตงและยอสวนแตงเติมสีสันใหออกมาเหมือนของจริงมากที่สุด โดยมีชิ้นงานที่เปน เอกลักษณเฉพาะตัว เพื่อถายทอดเรื่องราวและขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมความเปนอยูของไทยใหคง สืบตอไป โดยทํางานมือทั้งหมด ใชวัตถุดิบและแรงงานในชุมชน คุณลักษณะพิเศษของผลิตภัณฑเชิงสรางสรรค

นี้ เปนงานฝมือประณีตนําเสนอเรื่องราวของแตละชิ้นงานอิงตามวัฒนธรรมที่เปนอยูของคนไทยซึ่งใชวัตถุดิบใน ทองถิ่นและแรงงานชุมชน ไดแก ประเภทกลวยไมจิ๋วทําจําหนายเปนชุด ประเภทดอกบัวนํามาจัดแจกัน ประเภทผลไมและขนมไทยๆ จัดใสเปนโตก ประเภทอาหารจิ๋วใสจาน เปนตน อยางไรก็ตามถึงแมวาผลิตภัณฑ

ของกลุมงานประดิษฐจากดินไทย จะเปนกลุมธุรกิจที่ผานเขารอบ สาขางานฝมือและหัตถกรรม รางวัล พระราชทานไทยสรางสรรค 2553 แตยังขาดตราสินคาที่ใชเปนเครื่องหมายการคาของกลุม ซึ่งจําเปนอยางยิ่ง ที่ตองมีบรรจุภัณฑที่มีคุณภาพมาตรฐานสากล การพัฒนาบรรจุภัณฑและตราสินคาจึงมีสวนสําคัญในการสราง เอกลักษณและสรางมูลคาสินคาเพิ่มใหกับงานประดิษฐจากดินไทย รวมทั้งเปนการสงเสริมอาชีพกลุมงาน ประดิษฐใหมีรายไดเพิ่มขึ้นเชนกัน

ดวยกลยุทธการใชบรรจุภัณฑเปนเครื่องมือสําคัญทางดานการตลาดที่เปรียบเสมือนกับการมีพนักงาน ขายเงียบ (The silent salesman) มาชวยสงเสริมใหสินคาเปนที่ยอมรับและเกิดการจดจํา จนพัฒนา กลายเปนความจงรักภักดีในตราสินคา (Brand loyalty) ที่ผูซื้อที่มีตอสินคาในที่สุด (สินีนาถ เลิศไรวัน. 2537 : 4) โดยการออกแบบศิลปะทองถิ่น เทคนิคการออกแบบ วิธีนี้มีจุดมุงหมายอันดับแรก คือ การสงเสริมสินคาที่

ผลิตภายในทองถิ่น เพื่อเสนอแกนักทองเที่ยวใหซื้อกลับไปเปนของฝาก รายละเอียดบนบรรจุภัณฑ ที่ใชสื่อ ความหมายเพื่อเปนของฝากนี้ นอกเหนือจากรายละเอียดของกราฟก การออกแบบบรรจุภัณฑ เพื่อซื้อไปเปน ของฝากจําเปนตองพิจารณาถึงความสะดวกในการนํากลับของผูซื้อและความแข็งแรงของบรรจุภัณฑในการนํา มอบเปนของขวัญ มีผูเชี่ยวชาญดานบรรจุภัณฑใหความสําคัญของบรรจุภัณฑ เชน Pathak (1996, p. 10) กลาววา การพัฒนารูปแบบบรรจุภัณฑใหมีรูปแบบสวยงามนาสนใจจะทําใหสินคาเขาสูยุทธศาสตรการตลาดได

ตามสภาวะแวดลอมและสถานการณในปจจุบันได โดยใหมีลักษณะที่สามารถปองกันและคุมครองสินคาจาก การขนสงขนยายและสามารถบงชี้สินคาใหสามารถจดจําไดงาย อีกทั้งชวยอํานวยความสะดวกใหกับผูซื้อ จาก การศึกษาของ กณภัทร ชัยธนพร (2543, หนา 2) พบวา ปจจุบันการทําธุรกิจดานบรรจุภัณฑไดนําเอา ศิลปวัฒนธรรมทองถิ่นมาประยุกตออกแบบบรรจุภัณฑใหมีเอกลักษณโดดเดน เพื่อรักษาความสัมพันธระหวาง สังคมมนุษยกับการพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมไว ถือไดวาเปนสิ่งที่สามารถดึงดูดใจผูซื้อไดเปน อยางดี นอกจากนั้น ชัยณรงค พฤกษากร (2540, หนา 2) ไดใหแนวความคิดของสังคมชุมชนดานพฤติกรรมที่

กอใหเกิดความสัมพันธทางสังคมไววา การไปมาหาสูเยี่ยมเยือน การปรึกษาหารือและชวยเหลือซึ่งกันและกัน โดนเฉพาะกลุมแมบานที่ผลิตสินคางานหัตถกรรมตางๆ เพื่อจําหนาย ทําใหเกิดระบบตลาดสรางรายไดใหกับ

นั้นๆ ดูมีคุณคายิ่งขึ้น ดังนั้นควรหันมาใหการสนับสนุนสงเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑชุมชนใหมีรูปแบบบรรจุ

ภัณฑที่เปนเอกลักษณสรางความประทับใจใหกับผูซื้อ โดยใหชุมชนสามารถสรางใหเกิดตราสินคาและบรรจุ

ภัณฑ สําหรับผลิตผลของชุมชนตนเองได

จากสภาพปญหาตามที่ไดกลาวมาขางตนนั้น ผูวิจัยมุงที่จะทําการวิจัย เรื่อง “การออกแบบตรา สัญลักษณบรรจุภัณฑงานประดิษฐจากดินไทย ของกลุมงานประดิษฐจากดินไทย จังหวัดนนทบุรี” ที่มีตรา สัญลักษณบรรจุภัณฑในการจําหนายงานประดิษฐจากดินไทย โดยสามารถสรางเอกลักษณที่โดดเดน สราง ความจดจําไดงาย อีกทั้งยังสรางมูลคาเพิ่มใหกับสินคาไดอยางมีประสิทธิภาพ ถือวาเปนการยกระดับมาตรฐาน งานออกแบบตราสัญลักษณบรรจุภัณฑของประจําทองถิ่น โดยมุงหวังใหวิสาหกิจชุมชนสงเสริมชวยกันสรางให

เกิดมาตรฐานสําหรับผลิตภัณฑในชุมชนของตนเอง ใหเปนที่ยอมรับของผูซื้อ นักทองเที่ยว เพื่อกอใหเกิดการ สรางกระแสนิยมการใชสินคาไทย ถือเปนการอนุรักษภูมิปญญาทองถิ่น นํามาซึ่งรายไดใหกับชาวบานในชุมชน สรางใหเกิดความเขมแข็งและสงเสริมการพัฒนาชนบทในระดับรากหญาอยางยั่งยืนตอไป

1.2 วัตถุประสงคการวิจัย

1. เพื่อออกแบบตราสัญลักษณบรรจุภัณฑงานประดิษฐจากดินไทย ของกลุมงานประดิษฐจากดินไทย จังหวัดนนทบุรี

2. เพื่อประเมินความพึงพอใจตราสัญลักษณบรรจุภัณฑงานประดิษฐจากดินไทย ของกลุมงาน ประดิษฐจากดินไทย จังหวัดนนทบุรี

1.3 กรอบแนวคิดที่ใชในการวิจัย

ศึกษาขอมูลจากชุมชน ขอมูลจากผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบ

ออกแบบรูปแบบตราสัญลักษณบรรจุภัณฑ

รูปแบบตราสัญลักษณบรรจุภัณฑงานประดิษฐจากดินไทย

ความพึงพอใจตอตราสัญลักษณบรรจุภัณฑของผูบริโภค

3

1.4 ขอบเขตของการวิจัย

ในการศึกษาครั้งนี้ผูวิจัยไดแบงขอบเขตของการศึกษาไว 3 ดานดังนี้

1.4.1 ขอบเขตดานพื้นที่

ศึกษากลุมผูผลิตและกลุมผูบริโภค งานประดิษฐจากดินไทย ของกลุมงานประดิษฐจากดินไทย จังหวัด นนทบุรี

1.4.2 ขอบเขตดานเนื้อหา

1.4.2.1 เพื่อออกแบบตราสัญลักษณบรรจุภัณฑงานประดิษฐจากดินไทย ของกลุมงานประดิษฐจาก ดินไทย จังหวัดนนทบุรี

1.4.2.2 เพื่อประเมินความพึงพอใจตราสัญลักษณบรรจุภัณฑงานประดิษฐจากดินไทย ของกลุมงาน ประดิษฐจากดินไทย จังหวัดนนทบุรี

7.3 ขอบเขตดานเวลา ระยะเวลา 12 เดือน

1.5 นิยามศัพทที่ใชในการวิจัย

1.5.1 การออกแบบตราสัญลักษณ หมายถึง คําเรียก สัญลักษณ หรือการออกแบบบรรจุภัณฑ คํา ขวัญ สีสัน อยางใดอยางหนึ่ง หรือ หลาย ๆ อยางพรอมกัน ที่ไดรับการออกแบบขึ้นมาเพื่อทําใหสินคาหรือ บริการขององคกรแตกตางไปจากสินคาหรือบริการของคูแขง

1.5.2 เอกลักษณเฉพาะถิ่น หมายถึง รูปแบบและลักษณะที่บงบอกถึงทองถิ่นของกลุมงานประดิษฐ

จากดินไทย จังหวัดนนทบุรี มีความแตกตางไปกับทองถิ่นอื่นๆ ทั้งในดานศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ตลอดจนวิถี

ชีวิตแบบดั้งเดิม เปนตน

1.5.3 งานประดิษฐจากดินไทย หมายถึง ผลิตภัณฑจากกลุมงานประดิษฐจากดินไทย จังหวัดนนทบุรี

เปนผูผลิตชิ้นงานขึ้น เชน งานประดิษฐ ผลิตภัณฑจิ๋ว

1.5.4 ความพึงพอใจ หมายถึง ความรูสึกนึกคิดของผูบริโภคที่มีตอคุณลักษณะของตราสัญลักษณ

บรรจุภัณฑ

1.6 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

1.6.1 ไดตราสัญลักษณกลุมงานประดิษฐจากดินไทย จังหวัดนนทบุรี นํามาใชเปนเครื่องหมายการคาจด ลิขสิทธิ์ตราสินคา ใหกับกลุมผูผลิตงานประดิษฐจากดินไทยได

1.6.2 สรางมูลคาเพิ่มใหกับผลิตภัณฑงานประดิษฐจากดินไทยใหมีเครื่องหมายการคาจดลิขสิทธิ์ตรา สินคา ใหกับชุมชนสามารถยกระดับผลิตภัณฑชุมชนได

Dokumen terkait